You are on page 1of 24

บทที่ 1

ทีม่ าและความสาคัญ

1.หลักการและเหตุผล
ในปั จจุบนั ในการหุ งข้าวสะดวกและรวดเร็ วขึ้นเพราะมีอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่อานวยความสะดวก
ในการหุ งข้าวนัน่ ก็คือหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ านัน่ เอง หม้อหุงข้าวไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ความร้อนความที่ทาให้
ข้าวสุ กได้อย่างรวดเร็ วโดยอาศัยพลังงานไฟฟ้ าทาให้เกิดความร้อน ซึ่ งปั จจุบนั มีใช้กนั อย่างแพร่ หลายตาม
ครัวเรื อนดังนั้นเราจึงจาเป็ นที่จะต้องรู ้หลักการทางานเบื้องต้ นและโครงสร้างภายในรวมไปถึงการ
นาไปใช้ที่ถูกต้อง
ดังนั้นทางผูจ้ ดั ทาตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าว จึงได้แนวคิดในการจัดทาสื่ อการเรี ยนการสอน
หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า เพื่อให้ผสู ้ นใจได้เข้าใจหลักการอย่างแท้จริ ง และสามารถใช้หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าได้อย่าง
ปลอดภัยในชีวติ ประจาวัน
2.วัตถุประสงค์ ของโครงการ
2.1เพื่อใช้เป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอน
2.2เพื่อให้ผสู้ นใจศึกษาหลักการทางานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
2.3เพื่อให้ผสู ้ นใจรู ้จกั ส่ วนประกอบของหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า
2.4เพื่อให้ผสู ้ นใจเข้าใจหน้าที่ของส่ วนประกอบของหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า
2.5เพื่อให้ผสู ้ นใจทราบถึงการเลือกซื้ อและใช้งานเอย่างถูกต้อง
3.ขอบเขตของโครงการ
3.1 ขนาดของบอร์ด 50 X 60 cm
3.2 ใช้แรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ 220 V
3.2 สามารถสาธิตการทางานได้
3.3 สามารถวัดทดสอบจุด
Test Point ณ ตาแหน่งต่างๆ
ของวงจรได้
4.วิธีดาเนินงาน
4.1 เสนอโครงการชุดสาธิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
4.2 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า
4.3 วางแผนการดาเนินงาน โครงการชุดสาธิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
4.4 ออกแบบโครงสร้างโครงการชุดสาธิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
4.5 จัดทาชุดสาธิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
4.7 แก้ไขชุดสาธิ ตหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า
4.8 สรุ ปผลการดาเนินการโครงการชุดสาธิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
5.ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ
5.1 นักศึกษามีการเรี ยนรู ้ผา่ นการปฎิบตั ิอย่างมีความสุ ข
5.2 เข้าใจหลักการทางานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้ าที่ถูกต้อง
5.3 ทาให้นกั ศึกษาเกิดแรงจูงใจในการเรี ยนรู้
6.งบประมาณ
ราคาต่ อ
ปริมาณ ราคารวม
รายการ หน่ วย หมายเหตุ
จานวน หน่ วย บาท บาท
1. หม้อหุงข้าว Duomo 1 ลิตร 1 เครื่ อง 349 349
2. สายไฟ AWG 24 100FT 2 เมตร 15 30
3. สายไฟ AWG 18 สี แดง 2 เมตร 15 30
4. สายไฟ AWG 18 สี ขาว 2 เมตร 15 30
5. น๊อตเกรี ยวปล่อย 2 ถุง 15 30
6. ไม้ฟอร์เมก้า ขนาด 50 x 60 cm 1 แผ่น 60 60
7. ขอบอลูมิเนียมฉาก 10 mm. 2.5 เมตร 60 150
8. หลอด Pilot lamp สี เขียว 1 หลอด 15 15
9. หลอด Pilot lamp สี แดง 1 หลอด 15 15
10. Circuit Breaker 10 A 1 อัน 70 70
11. สติ๊กเกอร์ใส 1 แผ่น 50 50
12. สติ๊กเกอร์สีดา 1 แผ่น 50 50

รวมเป็ นงบประมาณทัง้ สิ้น แปดร้ อยเจ็ดสิบเก้ าบาทถ้ วน 879.00 บาท


7.เอกสารอ้างอิง
ประพันธ์ พิพฒ
ั น์ สุข . งานบริการและซ่ อมเครื่องใช้ ไฟฟ้า.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ ศู นย์ ส่งเสริมอาชีวะ, 2548
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/57/mod01.html
บทที่ 2
ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง

1. ความหมาย

ในปั จจุบนั ในการหุ งข้าวสะดวกและรวดเร็ วขึ้นเพราะมีอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่อานวยความสะดวก


ในการหุ งข้าวนัน่ ก็คือหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ านัน่ เอง
หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ความร้อนความที่ทาให้ขา้ วสุ กได้อย่างรวดเร็ วโดยอาศัย
พลังงานไฟฟ้ าทาให้เกิดความร้อน หม้อหุ งข้าวที่ใช้ในบ้านเราใช้กบั แรงเคลื่อนไฟฟ้ า220 โวลต์ 50
เฮิร์ต

หม้ อหุงข้ าวมีหลายขนาด ให้เลือกความต้องการ เช่นขนาด 0.27 ลิตร ขนาด 0.6 ลิตร ขนาด 1.8 ลิตร ขนาด
2 ลิตร เป็ นต้น

0.27ลิตร 0.6 ลิตร 1.8 ลิตร 2 ลิตร

2. ส่ วนประกอบของหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า


1. อุปกรณ์ให้ความร้อน
2. อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ

อุปกรณ์ ให้ ความร้ อน


อุปกรณ์ให้ความร้อนหรื อ ที่เรี ยกว่าแผ่นความร้อน ที่ใช้ ในหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า
เป็ นลวดนิโครม (Nichrome Wire) จะเรี ยกนิเกิล-อัลลอยด์ก็ได้ (Nickel-Chromium Alloy)
ส่ วนผสมของลวดความร้ อน ส่ วนผสม นิเกิล 60 % โครมเมียม 16 % เหล็ก 24 % สามารถทนความร้อนได้
1,700 องศาฟาเรน์ไฮน์ หรื อ 926 องค์ศาเซลเซียส

แผ่ นความร้ อนหม้ อหุงข้ าวมีอยู่ด้วยกันสองแบบ


1. แผ่นความร้อนแบบกึ่งปิ ด ( Semi Closing Heating Element )
2. แผ่นความร้อนแบบปิ ด (Closing Heating Element)
1. แผ่นความร้ อนแบบกึง่ ปิ ด ( Semi Closing Heating Element ) แผ่นความร้อนแบบกึ่งปิ ดใช้กบั
หม้อหุ งไฟฟ้ ารุ่ นเก่าในปั จจุบนั ไม่นิยมใช้ในการหุ งแล้วแต่จะถูกนามาใช้เป็ นแผ่นอุ่นข้าวในหม้อหุ งข้าว
ไฟฟ้ ารุ่ นใหมลักษณะแผ่นความร้อบแบบกึ่งปิ ดนี้ มีรูปร่ างลักษณะเป็ นวงแหวน ที่ทาจากลวดนิโครมชนิด
แบน พันรอบแผ่น ไมก้า (Mica)ประกบทับอีกทีหนึ่ง
2. แผ่นความร้ อนแบบปิ ด (Closing Heating Element)

ในปั จจุบนั หม้อหุ งข้าวรุ่ นใหม่จะ ใช้แผ่นความร้อนแบบปิ ดในการหุ งข้าวแผ่นความร้อนแบบปิ ด


จะทาด้วยลวดนิโครมที่มีลกั ษณะ คล้ายสปริ ง หุม้ ด้วย ผงฉนวน (Insulator Powder) หล่อด้วยอลูมิเนียม มี
ขั้วต่อสายออกมาสองขั้ว

ล่วนประกอบของหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าที่ใช้กนั ทัว่ ไปในปั จจุบนั

1.ที่จบั ฝาหม้อภายนอก
2. ฝาปิ ดหม้อ
3.หูจบั หม้อชั้นนอก
4. หม้อชั้นใน
5. หม้อชั้นนอก
6. ชุดควบคุมแสดงการทางาน
หน้ าทีข่ องส่ วนประกอบหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า

ฝาหม้ อ ฝาหม้อทาหน้าที่ ปิ ดหม้อชั้นในป้ องกันความร้อนออกขณะที่กาลังทาการหุ ง


ข้าว ตลอดจนรักษาความร้อนเอาไว้เมื่อหุ งข้าวสุ กแล้วและป้ องกันสิ่ งสกปรกลงไปใน
หม้อ ฝาหม้อจะมีที่จบั เพื่อความสะดวกในการเปิ ดและปิ ดฝาหม้อ

หม้ อชั้นใน หม้อชั้นในเป็ นภาชนะบรรจุขา้ วและเป็ นส่ วนทาหน้าที่รับความร้อนจาก


แผ่นความร้อน ในการแพร่ กระจายความร้อนเพื่อทาให้ขา้ วสุ ก

หม้ อชั้นนอก หม้อชั้นนอกทาหน้าที่เป็ นโครงเพื่อให้หม้อชั้นในใส่ เข้า และมีหูจบั


สาหรับยก เคลื่อนย้ายได้ และที่กน้ ของหม้อจะมีชุดให้ความร้อนประกอบยึดติดอยู่

ชุ ดควบคุมแสดงการทางาน ทาหน้าที่ในการควบคุมการทางาน ของหม้อหุงข้าว โดยมี


สวิตช์ในการกด เพื่อให้หม้อหุงข้าวทางาน หลอดไฟสี แดง COOK แสดงสถานะกาลังหุ ง
ข้าว หลอดไฟสี เหลือง WARM แสดงสถานะการอุ่น

อุปกรณ์ ให้ ความร้ อน

แผ่นความร้อนจะอยูท่ ี่กน้ ของหม้อทาหน้าที่ให้ความร้อนในการหุ งข้าว แผ่นความร้อน


ที่ใช้น้ ีเป็ นแบบปิ ด (Closing Heating Element)

ด้านบน ด้านล่าง
อุปกรณ์ ควบคุมอุณหภูมิ
เทอร์โมสตัท(Thermostat) หรื อชุดควบคุมอุณหภูมิเป็ นแบบแม่เหล็กจะยึดติดอยูท่ ี่กน้
ของตัวหม้อชั้นนอก ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิในการหุ่งข้าวให้พอดี ไม่ให้ร้อนมาก
จนเกินไป

โครงสร้ างของเทอร์ โมสตัท


โครงสร้างของเทอร์โมสตัท
1. คานบังคับ
2.หน้าสัมผัส
3.สวิตช์
4.ชุดแม่เหล็ก

ลักกษณะภายนอก ลักกษณะภายใน

1.เฟอร์ไรต์(สารแม่เหล็ก)
2.สปริ ง
3.แม่เหล็กถาวร
โครงสร้างภายในของเทอร์ โมสตัทแบบแม่เหล็กประกอบด้วยโลหะสองชนิดคือ แท่งแม่เหล็กถาวร แท่ง
แม่เหล็กเฟอร์ ไรต์(สารแม่เหล็ก) และมีสปริ งยึดติดอยู่

การทางานของเทอร์ โมสตัส

เมื่อกดสวิตช์คานบังคับจะดันสปริ งขึ้นไปแท่งแม่เหล็กที่อยูด่ า้ นล่างของสปริ งจะดูดแท่งเหล็ก


เฟอร์ ไรตที่ติดอยูด่ า้ นบนของสปริ งในขณะนี้จะทาให้หน้าสัมผัสติดกันจะทาให้กระแสไหลผ่าน
หน้าสัมผัสเข้าสู่ วงจรหุ งจนถึงแผ่นความร้อน
3.หลักการทางานของหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า

เมื่อกดสวิตช์ในการหุ งข้าวแล้วคานบังคับจะดันสปริ งขึ้นไปแท่งแม่เเหล็กที่อยูท่ างด้านล่างของ


สปริ งจะดูดแท่งเหล็กเฟอร์ ไรต์ที่อยูด่ า้ นบนของสปริ งทาให้หน้าสัมผัสติดกันมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน
หน้าสัมผัสเข้าสู่ วงจรหุ งและแผ่นความร้อน ทาให้แผ่นความร้อนจะร้อนขึ้นเรื่ อยๆและส่ งผ่านความร้อน
ไปยังหม้อชั้นในและข้าวที่อยูใ่ นหม้อ

เมื่อข้าวสุ กได้ปริ มาณน้ าที่เราเติมพอดีหุงข้าวสวยน้ าจะกลายเป็ นไอน้ าและกลายเป็ นไอดงอยูใ่ น


หม้อชั้นในซึ่ งจะทาให้ขา้ วสุ กและอุณหภูมิสูงมากยิง่ ขึ้นอุณหภูมิที่สูงขึ้นมากๆนี้จะทาให้แท่งเหล็กเฟอร์
ไรต์เสื่ อมสภาพเป็ นสาภาพทาให้แรงดึงดูดระหว่างแท่งแม่เหล็กกับแท่งเหล็กเฟอร์ ไรต์รแม่เหล็ก

ในการที่จะซื้ อหม้อหุ งข้าวแต่ละครั้งเราต้องคานึงถึงความเหมาะสมกับครอบครัวเพื่อให้เกิด


ประโยชน์ในการใช้งานและประหยัดค่าไฟฟ้ า
ตารางแสดงขนาดของหม้ อหุงข้ าวทีเ่ หมาสะสมกับครอบครัว
ปริมาณข้ าวสารในการหุงต้ ม จานวนสมาชิกใน
ขนาด (ลิตร) กาลังไฟฟ้า (วัตต์ )
(ถ้ วย) ครอบครัว(คน)
0.3-1 ลิตร 3-5 1-2 130-450
1-1.5 ลิตร 5-10 3-6 450-500
1.6-2 ลิตร 12ขึ้นไป 5-8 530-730

หมายเหตุ ขนาดถ้วยตวงมีความจุประมาณ 180 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความจุน้ ีพอๆกับแก้วน้ า


ขนาดเล็ก หม้อหุ งข้าวแต่ละขนาด
ใช้กาลังไฟฟ้ าต่างกัน ถ้าขนาดกาลังไฟฟ้ ามาก ก็จะเสี ยค่าไฟมาก

ตารางขนาดหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้ากาลังไฟฟ้าทีใ่ ช้ และค่ าไฟ


ขนาด กาลังไฟ้ า(วัตต์ ) ค่ าไฟต่ อเดือน
1ลิตร 450 27บาท
1.8ลิตร 600 36บาท
2.2 ลิตร 800 48บาท
2.8ลิตร 1,000 60บาท

ข้ อแนะนาในการใช้ หม้ อหุงข้ าว


1. การหุ งข้าวแต่ละครั้งต้องคานึงถึงปั จจัยดังต่อไปนีีี้
- ชนิดของข้าวที่หุง
- ปริ มาณน้ าที่ใช้
- วิธีการหุงข้าว
- ความร้อนที่ขา้ วได้รับระหว่างหุ ง
2.ไม่ควรนาทับพีไว้ ในหม้อข้าวความร้อนจากข้าวทาให้ทพั พีร้อนเป็ นอันตรายและอาจทาให้สาร
ที่เคลือบอยูใ่ นหม้อชั้นใน
3.ไม่ควรนาถุงอาหาร ไปอุ่นในหม้อข้าวไมี่ควรนาอาหารหรื อข้าวที่เหลือมาอุ่นในหม้อข้าว เพราะจะทา
ให้เสี ยพลังงาน ความร้อนและสิ้ นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า ทาให้หม้อหุงข้าวเสื่ อมเร็ ว

4.ขณะที่หม้อข้าวร้อน อย่าเอามือไปแตะขณะที่หม้อข้าวร้อนเอามือไปแตะจะทาให้เกิดอันตรายอาจทาให้
มือพองได้

5.ก่อนหุ งข้าวต้องทาความสะอาดเศษข้าวที่ติดอยู่ ออกให้หมดก่อนในการหุ งข้าวต้องทาความสะอาดเอา


เศษอาหารออกให้หมดเพราะเศษอาหารที่ติดอยูท่ าให้ขา้ วบูดได้และต้องใช้พลังงานในการหุ งมากขึ้นทา
ให้เปลืองไฟ

6.นาสิ่ งแปลกปลอมที่อยู่ บนแผ่นความร้อนและ อย่าหุ งข้าวขณะที่ไม่มีภาชนะบรรจุขา้ วด้านใน


ก่อนหุ งข้าวต้องตรวจสอบว่ามีสิ่งแปลกปลอมติดอยูท่ ี่แผ่นความร้อนหรื อไม่ ถ้ามีตอ้ งเอาออกเพราะจะทา
ให้เกิดการเสี ยหายกับแผ่นความร้อนและหม้อหุ งข้าวได้

7.ไม่ควรนาหม้อหุ งข้าว ไว้ใกล้แหล่งความร้อน


ไม่ควรนาหม้อหุ งข้าวใกล้แหล่งความร้อน เพราะจะทาให้หม้อหุงข้าว เกิดการเสี ยหายจากความร้อนได้
8.ไม่ควรนาหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าชั้นนอกไปล้างน้ าเพราะจะเป็ นสาเหตุทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ ารั่วไหล และ
เกิดการลัดวงจร และต้องถอดปลัก๊ ออกทุกครั้งที่ทาความสะอาด

9.ใช้ผา้ เช็ดเบาๆ เมื่อมีสิ่งสกปรกติด แผ่นความร้อนหรื อเทอร์ โสตัท

10.ไม่ควรใช้ฝอยเหล็กขัดเพราะจะทาให้แผ่นความร้อนหรื อเทอร์ โมสตัทเสื่ อมเละสึ กเร็ ว

11.ควรใช้ฟองน้ ากับน้ ายาล้างจาน ล้าง ทาความสะอาดหม้อหุ งข้าวไม่ควรใช้ ผงซักฟอก ทินเนอร์ ฝอย


เหล็ก ขัดล้างหม้อหุงข้าว เพราะจะทาให้ผวิ หม้อ เสี ยหายได้

6. ปัญหาทีเ่ กิดกับหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า


1. หม้อหุ งข้าวไม่ทางาน
- สายไฟขาด
-สวิตช์เสี ย
- ขั้วปลัก๊ หลุดหรื อหลวม
- ลวดความร้อนขาด
2. หม้อหุ งข้าวไม่ตดั ไฟ
- เทอร์ โมสตัทไม่ทางาน
-เทอร์ โมสตัทไม่สัมผัส กับด้านล่างของภาชนะ
3.ขณะอุ่นข้าวข้าวไหม้
-วงจรอุ่นข้าวผิดปกติ
-เกิดการลัดวงจร ของลวดความร้อน

หม้อหุงข้าวไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกในการหุงข้าวให้รวดเร็ ว แต่ตอ้ งใช้พลังงาน


ไฟฟ้ า ดังนั้นในการใช้ตอ้ งเลือกให้เหมาะสมและบารุ งรักษาอยูส่ ม่าเสมอ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างคุม้ ค่า
และประหยัดและยังมีอุปกรณ์ไฟฟ้ าอื่นๆอีกที่ใช้พลังงานความร้อนในการหุงต้มอาหารที่จะต้องศึกษา
เพื่อเป็ นประโยชน์ในการใช้งานในการอานวยความสะดวกในชีวติ ประจาวัน
บทที่ 3
ขั้นตอนการดาเนินงาน

ในบทนี้จะกล่าวถึงขั้นตอนต่างๆ ในการสร้าง ชุดฝึ กหม้อหุงข้าว ไฟฟ้ า จากการศึกษาทฤษฎีที่


เกี่ยวข้อง สามารถนาความรู ้ที่ได้มาออกแบบสร้าง ชุดฝึ กหม้อหุงข้าว ไฟฟ้ าซึ่งจะประกอบด้วยโครงสร้าง
ส่ วนควบคุมและวงจรต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้งานได้จริ งและเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ จึงได้มีการวาง
แผนการดาเนินงานให้เป็ นไปได้อย่างต่อเนื่อง เป็ นขั้นตอนและเหมาะสม สามารถแบ่งเป็ นขั้นตอนได้ดงั นี้
3.1 กาหนดรู ปแบบและการทางาน
3.2 ออกแบบและสร้างวงจรแบบต่างๆ
3.3 ออกแบบและจัดทาโครงสร้างของโครงงาน
3.4 ประกอบส่ วนต่างๆ เข้าด้วยกัน และทดสอบการทางาน

3.1 กำหนดรู ปแบบและกำรทำงำน

ชุดฝึ กหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า จะประกอบด้วยส่ วนประกอบหลักๆ อยู่ 2 ส่ วน ดังภาพที่ 3-1 ซึ่ งแต่ละ


ส่ วนจะมีหน้าที่การทางานแตกต่างกันออกไป แบ่งหน้าที่การทางานดังนี้
3.1.1 เป็ นโครงสร้างและส่ วนประกอบต่างๆ ของ หม้อหุงข้าวร้อนไฟฟ้ า โดยที่สามารถมองเห็น
อุปกรณ์ส่วนประกอบที่อยูด่ า้ นในได้
3.1.2 เป็ นบล็อกไดอะแกรมแสดงสัญลักษณ์ต่างๆ ของอุปกรณ์และการเชื่อมต่อของอุปกรณ์แต่
ละตัว ซึ่งจะมีจุด Test Point ตามตาแหน่งต่างๆ เพื่อให้สามารถทดสอบค่าและอุปกรณ์ส่วนประกอบของ
ชุดฝึ กกระติกน้ าร้อนไฟฟ้ า

ภาพที่ 3-1 บล็อกไดอะแกรมแสดงตาแหน่งการออกแบบ

ภาพที่ 3-1 แสดงบล็อกไดอะแกรมแสดงตาแหน่งการออกแบบของชุดฝึ กหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า โดย


ทั้งหมดสามารถแบ่งได้ 2 ส่ วน
3.2 ออกแบบและสร้ างวงจรแบบต่ างๆ
3.2.1 โครงสร้ างและส่ วนประกอบต่ างๆ ของหม้ อหุงข้ าวร้ อนไฟฟ้า

ภาพที่ 3-3 แสดงรู ปหม้อหุ งข้าวที่จะใช้ในส่ วนที่ 1

3.2.2 วงจรการทางาน

ภาพที่ 3-3 แสดงรู ปวงจรการทางานหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า


จากภาพที่ 3-3 เมื่อกดสวิตช์ในการหุ งข้าวแล้วคานบังคับจะดันสปริ งขึ้นไปแท่งแม่เเหล็ก
ที่อยูท่ างด้านล่างของสปริ งจะดูดแท่งเหล็กเฟอร์ ไรต์ที่อยูด่ า้ นบนของสปริ งทาให้หน้าสัมผัสติดกันมี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านหน้าสัมผัสเข้าสู่ วงจรหุ งและแผ่นความร้อน ทาให้แผ่นความร้อนจะร้อนขึ้นเรื่ อยๆ
และส่ งผ่านความร้อนไปยังหม้อชั้นในและข้าวที่อยูใ่ นหม้อ
3.3 จัดทาชุ ดสาธิตหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า
3.3.1 แยกส่ วนต่างๆของหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ าออกและผ่าด้านที่เป็ นสวิตช์

ภาพที่ 3-3 แสดงรู ปการแยกชิ้นส่ วนหม้อหุ งข้าว


3.3.2 ทาสติ๊กเกอร์ รูปลายวงจร ชื่อ และตราสัญลักษณ์ของโรงเรี ยน
3.3.3 ทาการเจาะไม้ที่รองเป็ นฐานของชุดฝึ ก
3.4 ทาการประกอบชิ้นส่ วนและทดสอบการทางาน
3.4.1 ประกอบชิ้นส่ วนและเดินสายไฟไปยังจุดทดสอบการทางานแต่ ละจุดของวงจรการทางาน

3.4.2 ตราสัญลักษณ์ของโรงเรี ยน
3.4.3 ชื่อโครงการ

3.4.4 สวิตช์ปิดเปิ ดการทางานทั้งหมดของหม้อหุ งข้าว

3.4.5 จุดทดสอบไฟฟ้ ากระแสสลับ 220 โวลต์


3.4.6 จุดตรวจสอบแผ่นความร้อนของหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า

3.4.7 หลอดไฟแสดงผลขณะทาการหุงข้าวและอุ่นข้าว

หลอดไฟแสดงขณะหุงข้าว

หลอดไฟแสดงขณะอุ่นข้าว
3.4.8 จุดตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิขณะอุ่นข้าว

3.4.9 จุดตรวจสอบการทางานของสวิตช์หุงข้าว

3.4.10 วงจรการทางานทั้งหมด
บทที่ 4
ผลการใช้ งาน

จากการผลการทดลองใช้งาน ของ หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า ได้จดั ทาข้อสอบขึ้นมาเพื่อทดสอบ


นักศึกษา 2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน โดย กลุ่มที่ 1 นักศึกษาที่เรี ยนจากภาพ หม้อหุงข้าวในหนังสื อเรี ยน กับ
กลุ่มที่ 2 นักศึกษาที่เรี ยนจากสื่ อการสอนหม้อหุงข้าวไฟฟ้ า โดยมีขอ้ สอบสาหรับทดสอบดังกล่าว

ข้ อแนะนา
1. แบบฝึ กหัดเป็ นแบบปรนัย 4 ตัวเลือกจานวนทั้งหมด 10ข้อ ทาทุกข้อ
2. เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวโดยใช้เมาส์คลิกส์ให้ตรงตัวเลือก ก,ข,ค,ง,ที่กาหนด
มาให้
3. ถ้าต้องการเปลี่ยนใหม่ให้คลิกส์ใหม่ตามที่ตอ้ งการ
4. กาหนดให้คะแนนข้อที่ถูกเป็ น 1 คะแนน ข้อตอบผิดหรื อมากว่าหนึ่งในข้อเดียวกัน ให้
เป็ น 0 คะแนน

ทาแบบฝึ กหัด
ข้ อ1. ส่ วนผสมของลวดความร้ อนของหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้ามีอะไรบ้ าง
ก.โครมเมียม 60 %นิเกิล 16 % เหล็ก 24 %
ข. นิเกิล 60 % โครมเมียม 16 % เหล็ก 24 %
ค.นิเกิล 60 % เหล็ก 16 %โครมเมียม 24 %
ง.เหล็ก60 % โครมเมียม 16 %นิเกิล24 %

ข้ อ2. แผ่ นความร้ อนหม้ อหุงข้ าวมีอยู่ด้วยกันสองแบบได้ แก่ อะไรบ้ าง


ก. แผ่นความร้อนแบบปิ ด แผ่นความร้อนแบบขดลวดเปิ ด
ข.แผ่นความร้อนแบบกึ่งปิ ด แผ่นความร้อนแบบเปิ ด
ค. แผ่นความร้อนแบบปิ ด แผ่นความร้อนแบบเปิ ด
ง. แผ่นความร้อนแบบกึ่งปิ ด แผ่นความร้อนแบบปิ ด
ข้ อ3. จากรู ปภาพเป็ นส่ วนประกอบใดของหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า

ก. แผ่นความร้อนแบบปิ ด
ข. แผ่นความร้อนแบบกึ่งปิ ด
ค.เทอร์โมสตัท
ง. แผ่นควบคุมอุณหภูมิ

ข้ อ4.อุปกรณ์ ทคี่ วบคุมให้ ข้าวสุ กคืออะไร


ก. แผ่นความร้อน
ข .เทอร์โมสตัท
หม้อชั้นใน
แผงควบคุมสวิตช์
จากรู ปครงสร้ างภายในของเทอร์ โมสตัทแบบแม่ เหล็กจงตอบคาถามข้ อ 5ถึงข้ อ6

ข้ อ5. จากรู ปส่ วนประกอบของกระทะไฟฟ้าหมายเลข7คืออะไร


ก. สปริ ง
ข. แม่เหล็กถาวร
ค. เฟอร์ไรต์(สารแม่เหล็ก)
ง. แท่งแม่เหล็กชัว่ คราว
ข้ อ6.ทีต่ าแหน่ งหมายเลข3เป็ นส่ วนปประกอบใดของเทอร์ โมสตัทแบบแม่ เหล็ก
สปริ งปรับระยะห่าง
เฟอร์ไรต์(สารแม่เหล็ก)
แท่งแม่เหล็กชัว่ คราว
แม่เหล็กถาวร
ข้ อ7 มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่ านหน้ าสั มผัสเข้ าสู่ วงจรหุงและแผ่ นความร้ อนทาให้ แผ่ นความร้ อนจะร้ อนขึน้
เรื่อยๆและส่ งผ่านความร้ อนไปยัง ทีใ่ ดของหม้ อหุงข้ าว

หม้อชั้นใน
หม้อชั้นนอก
เทอร์โมสตัท
เฟอร์ไรต์(สารแม่เหล็ก)

ข้ อ8 หม้ อหุงข้ าวไม่ ตัดไฟเกิดจากสาเหตุอะไร


ขั้วปลัก๊ หลุดหรื อหลวม
สวิตช์เสี ย
เทอร์ โมสตัทไม่ทางาน
ลวดความร้อนขาด

ข้ อ9.สิ่ งทีไ่ ม่ ควรทาในการใช้ หม้ อหุงข้ าวไฟฟ้าคืออะไร


ก. ก่อนหุ งข้าวต้องทาความสะอาดเศษข้าวที่ติดอยู่ ออกให้หมดก่อน
ข. ควรนาถุงอาหาร ไปอุ่นในหม้อข้าว
ค.ใช้ฟองน้ ากับน้ ายาล้างจาน ล้าง ทาความสะอาดหม้อหุงข้าว
ง. ใช้ผา้ เช็ดเบาๆ เมื่อมีสิ่งสกปรกติด แผ่นความร้อนหรื อเทอร์ โสตัท

ข้ อ10.ขณะอุ่นข้ าวข้ าวไหม้ เกิดจากสาเหตุอะไร

ก.สวิตช์เสี ย
ข. เทอร์ โมสตัทไม่ทางาน
ค. ขั้วปลัก๊ หลุดหรื อหลวม
ง.เกิดการลัดวงจร ของลวดความร้อน

จากการ
ทดลองจะ นักศึกษากลุ่มที่1 15 คน นักศึกษากลุ่มที่ 2 15 คน เห็นว่า
นักศึกษากลุ่ม ผลการสอบ เรี ยนรู้จากสื่ อการสอน เรี ยนรู้จากภาพหม้อหุง ที่เรี ยนรู้จาก
สื่ อการสอน หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า ข้าวไฟฟ้ าในหนังสื อเรี ยน เตารี ดกับ
นักศึกษากลุ่ม ผ่าน 13 7 ที่เรี ยนจาก
ภาพเตารี ด จะ ไม่ผา่ น 2 8 เห็นว่า
นักศึกษาที่ เรี ยนรู้จากสื่ อ
การสอนเตารี ด ทาข้อสอบได้มากกว่านักศึกษาเรี ยนรู้จากภาพเตารี ด

ตารางที่ 1 ผลการสอบนักศึกษา
บทที่ 5

สรุ ป

ปัญหาการจัดทาสื่ อการสอนครั้งนี้
การทาสื่ อการสอนเรื่ องหม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า ผูจ้ ดั ทายังประสบปั ญหาในการจัดทาซึ่ งสามารถแบ่ง
ออกมาได้เป็ นข้อๆเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
1.ปั ญหาเรื่ องการหาซื้ ออุปกรณ์เนื่องจากเป็ นอุปกรณ์ที่เป็ นชิ้นส่ วนเล็กๆ จึงเสี ยเวลามาก
2. ปั ญหาเรื่ องเครื่ องมือที่ใช้ไม่ครบถ้วน
3. ปั ญหาเรื่ องระยะเวลาไม่ชดั เจนจึงทาให้งานออกมาล้าช้ากว่ากาหนดมามาก
4. ขาดการวางแผนงานที่ชดั เจน ทาให้การจัดสรรงบประมาณไม่ เป็ นไปตามที่วางไว้

ปัญหาและแนวทางแก้ใข
1. ต้องรวบรวมหาข้อมูล และจัดทาตารางการทาให้แน่นอน
2. ต้องเตรี ยมวางแผนงาน และกระจายงานให้ชดั เจน
3. ต้องมีอุปกรณ์ในการจัดทาให้ครบถ้วนตามความจาเป็ น

ข้ อเสนอแนะ
1. ควรมีสายไฟสาหรับใช้ในการทดลอง
2. ควรมีสายไฟต่อลงกราวด์เพื่อความปลอดภัยในการทดลอง

You might also like