You are on page 1of 9

การพัฒนาชุดผลิตกระแสไฟฟ้ าจากขยะอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมไบโออิเล็ก

โทรแท้งค์ (Bio-Electro Tank)


โรงเรียนตากพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดตาก สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามัธยมศึกษาตาก

บทนำ
ปั ญหาขยะมูลฝอยในประเทศไทย นับว่าเป็ นปั ญหาสำคัญมาก ๆ ซึ่ง
อยู่คู่กับคนไทยมาเป็ นเวลานานเนื่องจากคนส่วนใหญ่มักจะละเลยถึงคุณค่า
ของขยะมูลฝอย และต้องการที่จะทิง้ มันไปให้ไกลโดยเร็ว เพราะเมื่อขยะ
มูลฝอยถูกทิง้ ไว้จะเน่าเสียและส่งกลิ่นเหม็นออกมา ถ้าทิง้ บริเวณท่อระบาย
น้ำจะเกิดการอุดตัน จึงมีปริมาณมากขึน
้ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึน
้ ทุกปี
จนกระทัง้ มีการสะสมตกค้างเป็ นจำนวนมากในลักษณะกองขยะซึ่งจาก
สถานการณ์ของขยะมูลฝอยในปี 2564 มีปริมาณขยะมูลฝอยถึง 24.98 ล้าน
ตัน ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพียง 9.28 ล้านตัน ที่เหลือเป็ นการกำจัด
ขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์
ได้เพียง 7.89 ล้านตัน (ระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน,
2564)
การนำขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหารมาผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas)
เป็ นพลังงานทดแทนที่สะอาดที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ เป็ นอีกแนวทาง
หนึ่งซึง่ สามารถนำ ขยะสด หรือเศษอาหารเหลือทิง้ เหล่านีไ้ ปใช้ประโยชน์ได้
โดยนำไปหมักในถังหมัก และจะได้ก๊าซชีวภาพ เพื่อที่จะนำไปใช้ในรูปของ
พลังงานความร้อนในการหุงต้มภายในครัวเรือน ซึ่งนอกจากได้พลังงานแล้ว
ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อก๊าซหุงต้มอีกด้วย ทัง้ นีย
้ ังส่งผลทำให้ครัวเรือน
มีสุขลักษณะที่ดีขน
ึ ้ ด้วย โดยก๊าซชีวภาพนัน
้ เกิดจากการย่อยสลายสาร
อินทรีย์ โดยแบคทีเรียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในสภาวะปราศจากอากาศ ซึ่งก๊าซ
ชีวภาพมีองค์ประกอบได้แกมีเทน (CH4) 60 ถึง 70% คาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) 28 ถึง 38% และอื่น ๆ เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และ
ไนโตรเจน (N2) ประมาณ 2% และเนื่องจากก๊าซชีวภาพมีก๊าซมีเทนเป็ น
หลัก จึงทำให้มีคุณสมบัติ จุดติดไฟได้ดีและสามารถนำไปใช้เป็ นพลังงาน
ทดแทนในรูปต่าง ๆ ได้ (พิชญ รัชฎาวงศ์, 2554)
โรงเรียนตากพิทยาคมนัน
้ ก็เป็ นสถานที่อีกแห่งที่มีขยะมูลฝอยประเภท
เศษอาหารเป็ นจำนวนมากโดยส่วนใหญ่มาจากโรงอาหาร โดยขยะมูลฝอย
จะมีปริมาณที่เพิ่มมากขึน
้ เมื่อมีนักเรียนและบุคลลากรทางการศึกษาเข้าไป
ใช้บริการ ซึง่ มีผลกระตบที่ตามมา เช่น มีกลิ่น มีภาพลักษณ์ที่ไม่สะอาด
เป็ นต้น ซี่งปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึน
้ นัน
้ สามาถานำไปใช้ประโยชน์ได้
โดยการนำไปหมักเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ และจากการหมักนัน
้ สามารถนำแผ่
นอิเล็กโทรดไปใช้เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้ าเพื่อนำไปใช้ในการชาร์จแบตเตอรี่
โทรศัพท์
ดังนัน
้ คณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะออกแบบและพัฒนาชุดผลิตก๊าซ
ชีวภาพจากการหมักขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหาร และ การผลิตพลังงาน
ไฟฟ้ าการแสตรง (DC) เพื่อนำไปชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์ ในขนาดครัวเรือน
ปั ญหา
1. ขยะอินทรีย์สามารถนำมาผลิตเป็ นกระแสฟ้ าได้อย่างไร
2. ชนิดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะมีผลต่อกระแสไฟฟ้ า และความต่างศักย์หรือไม่
3. ขนาดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะมีผลต่อกระแสไฟฟ้ า และความต่างศักย์หรือ
ไม่

สมมติฐาน
1. ขยะอินทรีย์สามารถนำมาผลิตเป็ นกระแสฟ้ าได้ ด้วยนวัตกรรมไบโออิ
เล็กโทรแท้งค์ (Bio-Electro Tank)
2. ชนิดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะมีผลต่อกระแสไฟฟ้ า และความต่างศักย์ที่แตก
ต่างกัน
3. ขนาดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะมีผลต่อกระแสไฟฟ้ า และความต่างศักย์ที่แตก
ต่างกัน

กระบวนการ หรือขัน
้ ตอนในการทำโครงงาน
โครงงาน เรื่อง การพัฒนาชุดผลิตกระแสไฟฟ้ าจากขยะอินทรีย์ ด้วย
นวัตกรรม ไบโออิเล็กโทรแท้งค์ (Bio-Electro Tank) นีม
้ ีขน
ั ้ ตอนในการ
ดำเนินการ โดยแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ดังนี ้
ตอนที่ 1 การสร้างชุดถังหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์
ในตอนที่ 1 จะมีการออกแบบ และสร้างถังหมักชีวภาพจากขยะ
อินทรีย์ขน
ึ ้ โดยอ้างอิงจากงานวิจัยถังหมักชีวภาพภายในโรงเรียนตาก
พิทยาคม
รูปที่ 1 ตัวอย่างถังหมักชีวภาพ

ตอนที่ 2 การทดลองเพื่อหาตัวนำที่เหมาะสมในการใช้เป็ นขัว


้ ไฟฟ้ า ใน
ขัน
้ ตอนนีจ
้ ะมีการหาตัวนำที่เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้ า โดยแบ่ง
การทดลองออกเป็ น 2 ขัน
้ ตอนย่อย
ขัน
้ ที่ 2.1 การศึกษาชนิดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะ
ทำการศึกษาเปรียบเทียบขัว้ ไฟฟ้ าโลหะ 4 ชนิด ได้แก่ ทองแดง เหล็ก
อลูมิเนียม และสังกะสี โดยนำมา
จับคู่กัน แล้วทดลองวัดค่าความต่างศักย์ และค่ากระแสไฟฟ้ า โดยแบ่งเป็ น
ชุดการทดลอง ดังตารางด้านล่างนี ้
ชุดการ ขัว
้ ไฟฟ้ า ขัว
้ ไฟฟ้ า ค่าความต่าง ค่ากระแส
ทดลอง โลหะขัว
้ โลหะขัว
้ ศักย์ ไฟฟ้ า
แอโนด (+) แคโทด (-) (Volt) (Ampere)
1 2 3 เฉลี่ 1 2 3 เฉลี่
ย ย
1 ทองแดง เหล็ก
2 ทองแดง อลูมิเนียม
3 ทองแดง สังกะสี
4 เหล็ก อลูมิเนียม
5 เหล็ก สังกะสี
6 อลูมิเนียม สังกะสี

ขัน
้ ที่ 2.2 การศึกษาขนาดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะ
ทำการศึกษาเปรียบเทียบขนาดของขัว้ ไฟฟ้ าโลหะ 5 ขนาด ได้แก่ 3×6
ซม. 6×9 ซม. 9×12 ซม. 12×15 ซม. และ 15×18 ซม. แล้วทดลองวัดค่า
ความต่างศักย์ และค่ากระแสไฟฟ้ า โดยแบ่งเป็ นชุดการทดลอง ดังตาราง
ด้านล่างนี ้
ชุดการ ขนาดของ ค่าความต่าง ค่ากระแส
ทดลอง แผ่นตัวนำ ศักย์ ไฟฟ้ า
(ซม.) (Volt) (Ampere)
1 2 3 เฉลี่ 1 2 3 เฉลี่
ย ย
1 3×6
2 6×9
3 9×12
4 12×15
5 15×18

ตอนที่ 3 การสร้างชุดผลิตและเก็บกระแสไฟฟ้ าเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์


เมื่อได้ข้อมูลจากตอนที่ 1 และ 2 ครบถ้วนแล้ว นำมาทำการออกแบบ
ชุดผลิต และเก็บกระแสไฟฟ้ า เพื่อให้สามารถนำกระแสไฟฟ้ าที่ได้ไปใช้
ประโยชน์ต่อไป

รูปที่ 2 ตัวอย่างชุดผลิตและเก็บกระแสไฟฟ้ า

การวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ผลการทำงานของเชื้อจุลินทรีย์ ด้วยการตรวจสอบ
ค่า pH
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลค่าความต่างศักย์ และค่ากระแสไฟฟ้ า ด้วยค่า
สถิติ ค่าเฉลี่ย ( x )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ตอนที่ 3 วิเคราะห์ผลค่าประสิทธิภาพของกระแสไฟฟ้ าที่ได้จากไบโออิ
เล็กโทรแท้งค์ (Bio-Electro Tank)
ประโยชน์และผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้พัฒนานวัตกรรมไบโออิเล็กโทรแท้งค์ (Bio-Electro Tank)
2. ได้กระแสไฟฟ้ าที่ผลิตจากขยะอินทรีย์
3. ได้น้ำหมักชีวภาพ จากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้ าจากขยะอินทรีย์
ด้วยนวัตกรรมไบโออิเล็กโทรแท้งค์ (Bio-Electro Tank)

บรรณานุกรม
ระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน. (2564).ข้อมูล
สถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศ. สืบค้น 18 ต.ค. 2565. จาก
https://thaimsw.pcd.go.th/report1.php?year=2564
ผศ. ดร.พิชญ รัชฎาวงศ์. (2554). ก๊าซชีวภาพ สืบค้น 18 ต.ค. 2565.
จาก http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. (2560). คู่มือการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพสู่ชุมชนเพื่อ แก้ปัญหาการกำจัดผัก
ตบชวาอย่างยั่งยืน สืบค้น 18 ต.ค. 2565. จาก http://www.thai-
explore.net/file_upload/submitter/file_doc/445a04a5f4a7fde735
b771c7defffd59.pdf
สุภาวดี สาระวัน. (2563). เซลล์อิเลคโทรไลต์กับแบตเตอรี่ สืบค้น 18
ต.ค. 2565. จาก
https://www.scimath.org/article-chemistry/item/11218-2019-12-
19-04-44-20
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (2560). มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์การ
ศึกษาคุณภาพปุ ๋ยหมักเศษอาหารรวมกบเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร
เพื่อการรับรองคุณภาพ สืบค้น 19 ต.ค. 2565. จาก https://
https://dspace.bru.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/307
6
อนุสิษฐ์ เกื้อกูล. (2564). เซลล์ไฟฟ้ าเคมี สืบค้น 19 ต.ค. 2565. จาก
https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/11310-2020-02-
18-03-57-00
กระทรวงพลังงาน. (2553). การดำเนินการและการรักษาระบบแก๊ส
สืบค้น 19 ต.ค. 2565. จาก
https://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/Bib13859AF
.pdf

ประวัติผู้พัฒนา
1. นายณัฐพัชร์ วงษ์ไกรนาค ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 โรงเรียนตาก
พิทยาคม จังหวัดตาก
โทรศัพท์ 089-3239628 อีเมล์ nattapatw.64@tps.ac.th
ที่อยู่ โรงเรียนตากพิทยาคม 12 ถ.ท่าเรือ ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก 63000
2. นายวรวิช มานุ่ม ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 โรงเรียนตากพิทยาคม
จังหวัดตาก
โทรศัพท์ 098-7530197 อีเมล์ worawitm.64@tps.ac.th
ที่อยู่ โรงเรียนตากพิทยาคม 12 ถ.ท่าเรือ ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก 63000
3. นายอาชิวน แสนทอน ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 โรงเรียนตาก
พิทยาคม จังหวัดตาก
โทรศัพท์ 094-7450471 อีเมล์ artchawins.64@tps.ac.th
ที่อยู่ โรงเรียนตากพิทยาคม 12 ถ.ท่าเรือ ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก 63000

ประวัติครูที่ปรึกษา
1. นายชานนท์ คำปิ วทา ตำแหน่ง ครู สาขาวิชา ชีววิทยา โรงเรียนตาก
พิทยาคม จังหวัดตาก
โทรศัพท์ 084-3810327 อีเมล์ chanon_k@tps.ac.th
ที่อยู่ โรงเรียนตากพิทยาคม 12 ถ.ท่าเรือ ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก 63000
2. นางสาวสายทิพย์ จารุวสุพันธุ์ ตำแหน่ง ครู สาขาวิชา ฟิ สิกส์ โรงเรียน
ตากพิทยาคม จังหวัดตาก
โทรศัพท์ 085-5924733 อีเมล์ saithip.j@tps.ac.th
ที่อยู่ โรงเรียนตากพิทยาคม 12 ถ.ท่าเรือ ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก 63000

You might also like