You are on page 1of 39

ชื่อโครงงาน แบบจำลองกังหันลมผลิต

กระแสไฟฟ้ า (Wind Turbine Model)


ผู้จัดทำ 1. นายกฤษณะ ระวัง
2. นางสาววัชชิราภรณ์ หารมาก
ครูที่ปรึกษา 1. นางสาวณัฐณิชา ซุยจอหอ
2. นายเฉลิมชัย ธิสานสังข์
3. นายเอกราช ไชยหง
ปี การศึกษา: 2565
สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพพล

บทคัดย่อ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำลองกังหันลม


ผลิตกระแสไฟฟ้ า จัดทำขึน
้ เพื่อศึกษาการการผลิตกระแส
ไฟฟ้ าด้วยพลังลม สรางแบบจําลองกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก
และศึกษาขอมูลทางเทคนิคและหลักการทางานของสวนประกอบ
ต่างๆ ของกังหันลมผลิตไฟฟา โดยใช
มอเตอร130 เครื่องปั่ นไฟ ใบพัดขนาดเล็ก 2 ตัว มี2 ฝั ง ฝั งที่หนึ่ง
มอเตอร์ DC ใช้พลังงานจากถ่านรีโมท แทนลมธรรมชาติ ฝั งที่สอง
มอเตอร์ปั่นไฟ เป็ นตัวผลิตกระไฟฟ้ า โดยใช้หลอดไฟ LED โค
2

งงานชิน
้ นีจ
้ ัดขึเ้ พื่อนำเสนอภายในอาคารที่ลมธรรมชาติไม่สามารภ
ผ่านเข้ามาได้

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า


สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์และสนับสนุน
เป็ นอย่างดี จากการสนับสนุนในการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
ท่านผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพพล ท่าน
รองผู้อำนวยการวุฒิไกร โฮชิน รองผู้อำนวยการฝ่ ายวิชาการ
คุณครูแผนกช่างไฟฟ้ ากำลัง คุณครูเฉลิมชัย ธิสานสังข์ คุณ
ครูปรียาภรณ์ อบมาและคุณครูณัฐณิชา ซุยจอหอ ครูผู้สอน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ แผนกสามัญสัมพันธ์ ที่ให้การ
3

แนะนำในการออกแบบชิน
้ งาน เป็ นที่ปรึกษา ตรวจสอบ และ
แก้ไขข้อบกพร่องในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์จนเสร็จสมบูรณ์
คณะผู้จัดทำโครงงานมีความรู้สึกภาคภูมิใจและซาบซึง้ เป็ น
อย่างยิ่งที่ได้รับความกรุณา จากท่านที่ได้กล่าวมาข้างต้นจึงขอ
ขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านเป็ นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี ้

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
4

เรื่อง
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ

สารบัญเรื่อง

สารบัญตาราง

สารบัญรูปภาพ

บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญ
1
1.2 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1
1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1
1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
2
1.5 ตัวแปร
2
1.6 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ
2
5

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ลักษณะเหล็กฉาก
3
2.2 ลักษณะของน็อต
4
2.3 ลักษณะปั๊ มดูด
5
2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง
6
2.5 ลักษณะของสวิตซ์
7
2.6 ลักษณะของแบตเตอรี่
7
2.7 ลักษะของท่อ PVC
8
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษาค้นคว้า

3.1 วัสดุและอุปกรณ์
9
3.2 วิธีการทดลอง
9
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า
4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์13
6

4.2 ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลว
แบบทั่วไป 14
และอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
4.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ 15
สารบัญ(ต่อ)

เรื่อง
หน้า
บทที่ 5 สรุป และอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า

5.1 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
16
5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
16 5.3 ประโยชน์
16
5.4 ข้อเสนอแนะ
16 เอกสารอ้างอิง
17
ภาคผนวก
18
7

สารบัญตาราง

หน้า
8

4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์ 13
4.2 ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
14
และอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
4.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ 15
9

สารบัญภาพ

หน้า

รูปภาพที่ 2.1 ลักษณะเหล็กฉาก


3
รูปภาพที่ 2.2 ลักษณะของน็อต
4
รูปภาพที่ 2.3 ลักษณะปั๊ มดูด
5
รูปภาพที่ 2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง
6
รูปภาพที่ 2.5 ลักษณะของสวิตซ์
7
รูปภาพที่ 2.6 ลักษณะของแบตเตอรี่
7
10

รูปภาพที่ 2.7 ลักษะของท่อ PVC


8
รูปภาพที่ ผนวก ข
20
รูปภาพที่ ผนวก ค
22
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
จัดทำขึน
้ เพื่อประกอบการเรียนวิชาโครงงานคณะผู้จัดทำจึงได้
คิดค้นแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสฟ้ า ที่มีประโยชน์ต่อการใช้
งานในการทำเกษตรกร และไฟฟ้ าในที่พักอาศัก
เนื่องจากพลังงานเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ
พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล(fossil fuel) ที่เราใชกันเป็นหลักใน
ปัจจุบันปนพลงงานที่ใชแล้วหมดสิน
้ ไปมีจำนวนลดลงอย่างมาก ใน
อนาคตจะขาดแคลนมีราคาสูงขึน
้ และในที่สุดก็จะถูกใชจนหมดสิน
้ ไป
จากโลก การคนหาและการนําพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลขึน

มาใชทำได้ยากขึน
้ อีกทัง้ การเผาไหมพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
กอใหเกิดแกสมลภาวะที่ทำใหเกิดภาวะโลกรอน ทั่วโลกจึงเสาะ
แสวงหาพลังงานทดแทน (alternative energy) อื่นๆ มาใชงาน
ทดแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลใหมากขึน
้ เชน พลังงานแสง
อาทิตย พลังงานน้ำ พลังงานลม เป็ นนตน โดยพลังงานทดแทนดัง
กล่าวจะต้องเป็ นพลังงานสีเขียว (green energy) ที่ไม่กอใหเกิด
แกสมลภาวะซึ่งจะทำใหเกิดภาวะโลกรอน
ดังนัน
้ คณะผู้จัดทำจึงได้คิดค้น แบบจำลองกังหันลมผลิต
กระแสไฟฟ้ า ทำจากอุปกรณ์ขนาดเล็กที่ทำจากมอเตอร์รถบังคับ
ใบพัด เครื่องปั่ นไฟในการผลิกระแสไฟฟ้ า เพื่อศึกษาและสามารถนำ
ไปใช้ในอนาคต
1.2 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1.2.1 ศึกษาการสร้างแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
1.2.2 ศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของแบบจำลองกังหันลม
ผลิตกระแสไฟฟ้ า
1.2.3 ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานของแบบจำลองกังหัน
ลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1. แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ ามีความเหมาะใน
การนำเสนอ
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
มีความเหมาะสม
1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1.4.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา
แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ าที่จัดทำขึน

สามารถศึกษาและดูวงจรฟ้ า ที่สามารถนำไปใช้จากชิน
้ เล็กเป็ น
ชิน
้ ใหญ่ได้
1.4.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาช่างไฟฟ้ า วิทยาลัยการ
อาชีพพล
1.4.3 ขอบเขตด้านเวลา
การจัดทำแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ ามี
กำหนดระยะเวลา ตัง้ แต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 15
สิงหาคม 2565
1.5 ตัวแปร
การทดลองที่ 1 การสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
ตัวแปรตาม คือ การทำงาน
ตัวแปรควบคุม คือ ผลิตกระแสไฟ
การทดลองที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการ
ทำงานของแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสฟ้ า
ตัวแปรต้น คือ ตูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่อง
ดูดของเหลวอเนกประสงค์
ตัวแปรตาม คือ กังหันหมุน
ตัวแปรควบคุม คือ ผลิตกระแสไฟ
การทดลองที่ 3 ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานของอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ แบบจำลังกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจของการทำงาน
ตัวแปรควบคุม คือ ผลิตกระแสไฟ

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
1. แบบจำลอง ทางวิทยาศาสตร์ (scientific modeling) คือ
การสร้างของสิ่งหนึ่งเพื่อแทน วัตถุ กระบวนการ ความสัมพันธ์ หรือ
สถานการณ์ เช่น การสร้างแบบจำลองของโครงสร้างหลังคา เพื่อให้
วิศวกร สามารถคำนวณต่างๆได้ ก่อนที่จะสร้างจริง
2. กังหันลม เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่สามารถรับพลังงานจลน์
จากการเคลื่อนที่ของลมให้ เป็ นพลังงานกลได้ จากนัน
้ นำพลังงานกล
มาใช้ประโยชน์โดยตรง เช่น การบดสีเมล็ดพืช การสูบน้ำ หรือใน
ปั จจุบันใช้ผลิตเป็ นพลังงานไฟฟ้ า การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้
ประโยชน์มีมาตัง้ แต่ชนชาวอียิปต์โบราณและมีความต่อ เนื่องถึง
ปั จจุบัน
3. กระแสไฟฟ้ า คือการไหลของประจุไฟฟ้ าในวงจร
ไฟฟ้ า อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในประจุยังสามารถถูกนำพาโดยไอออน
ได้เช่นกันในสารอิเล็กโทรไลต์ หรือโดยทัง้ ไอออนและอิเล็กตรอนเช่น
ใน พลาสมา
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการทำโครงงานครัง้ นีไ้ ด้ดำเนินการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและ


งานการทำโครงงานเกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้เป็ นข้อมูลประกอบ
ดำเนินงาน มีดังนี ้
กังหันลมเป็ นเครื่องกลหมุนชนิดหนึง่ ที่ใช้เพื่อการเก็บเกี่ยว
พลังงานจากการเคลื่อนที่ของกระแส ลมมาใช้ประโยชน์กังหันมี
หลากหลายรูปแบบที่แตกต่างกันทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับเงื่อนไขการนําไปงาน
หรือ เป้ าหมายของการใช้งานและสภาพของกระแสลมในแต่ละท้อง
ถิ่น กังหันลมเป็ นเครื่องมือกลที่ประดิษฐ์ คิดค้นมาใช้เพื่อทําให้มนุษย์
มีความสะดวกสบายมากขึน
้ โดยกังหันลมมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน
ซึ่งมีการ ใช้มาตัง้ แต่ยุคโบราญ
ประวัติในการพัฒนากังหันลมแกนตัง้ ตามที่นักประวัติศาสตร์
ได้กล่าวไว้ว่ามนุษย์มีความพยายามที่จะนําพลังงานจากลมมาใช้เพื่อ
ผ่อน การใช้แรงงานจากคนหรือสัตว์เป็ นเวลานานมาแล้ว เริ่มตัง้ แต่
การใช่พลังงานจากลมในการขับใบเรือ จากนัน
้ ก็ได้พัฒนาพลังงาน
จากลมมาใช้เพื่อการบดเมล็ดธัญพืชและการชลประทานเพื่อ
การเกษตร จาก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ยังสามารถตรวจสอบ
ได้ย้อนกลับไป 1700 ปี ก่อนคริสตศักราช Mr.Emperor
Hummurabi ได้พัฒนากังหันลมเพื่อการปั ้ มน้ำใช้ในการเกษตรใน
บริเวณที่ราบลุ่มของยุค เมโสโปเตเมีย ซากกังหันลมที่เก่าแก่ที่สุดใน
โลกยังสามารถพบได้ที่อิหร่าน หรืออัฟกานิสถาน

ภาพที่ ซากกังหันลมแกนตัง้ ที่เก่าแก่ที่สุดพบใน


อัฟกานิสถาน

บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการศึกษาค้นคว้า
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
3.1.1 วัสดุ
1. มอเตอร์ DC จำนวน 1
เครื่อง
2. มอเตอร์ปั่นไฟ จำนวน
1 เครื่อง
3. ไม่อัดขนาด จำนวน 1
เส้น
4. สายไฟ AWG จำนวน 1
เส้น
5. รังทาน จำนวน 1
เส้น
6. หลอดไฟ LED จำนวน
1 เส้น
7. ตะปูเกียว จำนวน
6 ตัว
8. ใบพัด จำนวน 2
ใบ
3.1.2 อุปกรณ์
1. บัดกรี จำนวน 1
เครื่อง
2. ตะกั่วบัดกรี ขนาด 0.3 มม. จำนวน
20 เซนติเมตร

3.2 วิธีการทดลอง
3.2.1 วิธีสร้างอุปกรณ์
1. ตัดไม้อัด ขนาด... เพื่อเป็ นฐานรอง
2. ตัดไม่อัดตัวยึดเพื่อติดตัง้ มอเตอร์ และเครื่องปั่ นไฟ
3. ต่อวงจรและติดตัง้ มอเตอร์และเครื่องปั่ นไฟเข้ากับตัว
ยึด
4. ประกอบใบพัดเข้ากับมอเตอร์

3.2.2 วิธีการทดลองอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
3.2.2.1 ตอนที่ 1 ทำการทดลองการทำงานของมอเตอร์
3.2.2.2 ตอนที่ 2 สังเกตการทำงานของกังหันลมผลิต
กระแสไฟ
1. ใช้มอเตอร์วัดแรงดันและกระแสไฟ
2. ใช้สูตร...คำนวนว่าใบพัดหมุนได้กี่รอบต่อวินาที

3.2.2.3 ตอนที่ 3 ทดสอบความพึงพอใจต่อการทำงาน


ของแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
1. สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลการ
ใช้งานจริงจาก
2. นำแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ าทำการ
ทดลอง ซึ่งกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดังชัน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน
้ สูง สาขาช่างไฟฟ้ ากำลัง วิทยาลัยการ
อาชีพพล อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
3. เมื่อทำการทดลองแล้วให้กลุ่มตัวอย่างทำการ
ตอบแบบสอบการทำงานของแบบจำลอง
4. นำแบบสอบถามมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลและ
สรุปผล

3.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.2.3.1 การจัดกระทำข้อมูลการศึกษาความเหมาะสมใน
การสร้างแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
3.2.3.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถามความคิดเห็นต่อความ
เหมาะสมในการสร้างแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า จำนวน
20 ฉบับ และได้ตรวจสอบพบว่าเป็ นแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์
และ นำไปวิเคราะห์
3.2.3.3 นำแบบสอบถามมาจัดจำแนกตาม เพศ และอายุ
แล้วนำมาตรวจให้คะแนน โดยมีเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี ้

มีความคิดเห็นมากที่สุด = 5 คะแนน
มีความคิดเห็นมาก = 4 คะแนน
มีความคิดเห็นปานกลาง = 3
คะแนน
มีความคิดเห็นน้อย = 2 คะแนน
มีความคิดเห็นน้อยที่สุด = 1
คะแนน

นำคะแนนที่ได้มาหาค่าพารามิเตอร์ด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft office Excel
3.2.4 การหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์

ค่าเฉลี่ยโดยรวมเวลาเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป – ค่าเฉลี่ย
โดยรวมเวลาอุปกรณ์
ดูดของเหลวอเนกประสงค์ x 100

ค่าเฉลี่ยโดยรวมเครื่องดูดของเหลว

3.2.5 การจัดกระทำข้อมูลการศึกษาความพึงพอใจในการ
ทำงานแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
3.2.5.1 เก็บรวบรวมแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการทำงาน
แบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า จำนวน 20 ฉบับ และได้ตรวจ
สอบพบว่าเป็ นแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์และนำไปวิเคราะห์
3.2.5.2 นำแบบสอบถามมาจัดจำแนกตาม เพศ และอายุ
แล้วนำมาตรวจให้คะแนน โดยมีเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี ้

มีความพึงพอใจมากที่สุด = 5
คะแนน
มีความพึงพอใจมาก = 4 คะแนน
มีความพึงพอใจปานกลาง = 3
คะแนน
มีความพึงพอใจน้อย = 2 คะแนน
มีความพึงพอใจน้อยที่สุด = 1
คะแนน

นำคะแนนที่ได้มาหาค่าพารามิเตอร์ด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft office Excel
3.2.5.3 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลหลังจากจัดกระทำข้อมูล
แล้ว ผู้ศก
ึ ษาค้นคว้าดำเนิน การวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับ
ขัน
้ ตอนดังนี ้
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่หาค่า
ร้อยละ
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการทำงานแบบ
จำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ าของนักศึกษาระดังชัน

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน
้ สูง สาขาช่างไฟฟ้ ากำลัง วิทยาลัยการ
อาชีพพล อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย( X ) โดยรวมและเป็ น
รายด้าน

3.2.6 การแปลความหมายค่าเฉลี่ย
การแปลความหมายค่าเฉลี่ยระดับความต้องการ กำหนด
เกณฑ์คะแนนเฉลี่ย โดยใช้เกณฑ์ บุญส่ง นิลแก้ว (2545 :
256) ไว้ดังนี ้

ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจต่อการใช้
อุปกรณ์ช่วยขุดดิน
4.50 – 5.00 ระดับมากที่สุด
3.50 – 4.49 ระดับมาก
2.50 – 3.49 ระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 ระดับน้อย
1.00 – 1.49 ระดับน้อยที่สุด
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า

จากการทดลองในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง แบบจำลอง


กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า มีผลการทดลองดังนี ้

4.1 ผลการศึกษาความเหมาะสมการสร้างแบบจำลองกังหันลม
ผลิตกระแสไฟฟ้ า

ตารางที่ 4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างแบบ


จำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
ระดับคะแนนความคิดเห็นความเหมาะ
สมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
รายการ ของเหลว
แบบที่ 1 แบบที่ 2
ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
1. สามารถเคลื่อนย้ายได้ 4.46 4.55
สะดวก
2. การออกแบบทันสมัย 4.44 4.45
สวยงาม
3. มีความคงทน แข็งแรง 4.45 4.57
4. การจัดวางอุปกรณ์ได้อย่าง 4.57 4.68
เหมาะสม
5. น้ำหนักของชิน
้ งานที่เหมาะ 4.47 4.50
ต่อการใช้งาน
6. ความสมบูรณ์ของชิน
้ งาน 4.48 4.55
7. ราคาต้นทุนในการสร้าง 4.47 4.64
8. มีความเหมาะสม 4.50 4.72
โดยรวม 4.48 4.58

จากตารางที่ 4.1 ผู้ทดลองได้ประเมินความเหมาะสมต่อการ


สร้างแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ า แบบที่ 1 มีค่าเฉลี่ย อยู่
ในระดับ มาก ( =4.48) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า ทุกด้าน
ที่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบ
ที่ 2 มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.58) เมื่อพิจารณาเป็ น
รายด้าน ด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ลดระยะเวลาในการใช้
งาน ( =4.72) รองลงมาคือ ด้านการจัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะ
สม ( =4.68) ด้านที่มีความเหมาะสมน้อยที่สุด คือ ด้านการ
ออกแบบทันสมัย ( =4.45)
4.2 ผลการหาประสิทธิภาพของแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแส
ไฟฟ้ า

จากการทดลองแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้ าแบบ
ทั่วไป ผลการทดลอง ดังตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 ผลการหาประสิทธิภาพของแบบจำลองกังหัน


ลมผลิตกระแสไฟฟ้ า
เวลาในการใช้ เวลาในการใช้
เครื่องดูดของเหลวแบบ อุปกรณ์
ทั่วไป เฉลี่ย เครื่องดูดของเหลว เฉลี่ย
(วินาที) นาที อเนกประสงค์ (วินาที) นาที
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ ครัง้ ที่
2 3 2 3
90 98 101 96.33 28 26 27 27.00
107 105 104 105.3 29 30 31
30.00
3
114 116 110 113.3 33 35 26
31.33
3
โดยรวม 105. โดยรวม 29.4
00 4
ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับ
เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
เพิ่มขึน
้ คิดเป็ นร้อยละ 28.04

จากตารางที่ 4.2 การหาประสิทธิภาพของเครื่องดูด


ของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
พบว่า เวลาในการใช้เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป ใช้เวลาเฉลี่ย
96.33, 105.33, และ 113.33 นาที ส่วนอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ ใช้เวลาเฉลี่ย 27.00, 30.00 และ 31.33 นาที ตาม
ลำดับ เมื่อนำเวลาทัง้ หมดเฉลี่ยโดยรวมและหาประสิทธิภาพ พบว่า
ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับ
เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
เพิ่มขึน
้ คิดเป็ นร้อยละ 28.04
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า

5.1 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ผลการทดลองหาความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์ดูด
ของเหลวโดยรวมอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 1 มีค่าเฉลี่ย อยู่ใน
ระดับ มาก ( =4.48) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า ทุกด้านที่มี
ความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 2
มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.58) เมื่อพิจารณาเป็ นราย
ด้าน ด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ลดระยะเวลาในการใช้งาน
( =4.72) รองลงมาคือ ด้านการจัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม (
=4.68) ด้านที่มีความเหมาะสมน้อยที่สุด คือ ด้านการออกแบบทัน
สมัย ( =4.45)

5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
5.2.1 จากการดำเนินการแบบจำลองกังหันลมผลิตกระแส
ไฟฟ้ า เพื่อให้ได้ลักษณะรูปทรงที่เหมาะสมทางกลุ่มผู้สร้างได้ดำเนิน
การสร้างเครื่องต้นแบบขึน
้ มาก่อนและดำเนินการทดสอบเพื่อหา
ประสิทธิภาพจากนัน
้ ทำการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนทำให้ได้เครื่องดูด
ของเหลวเอนกประสงค์ ที่มีประสิทธิภาพและเป็ นทีพ
่ ึงพอใจของกลุ่ม
ตัวอย่างที่เข้าชมการทดสอบ
5.2.2 จากการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องดูด
ของเหลวเอนกประสงค์ และให้กลุ่ม
ตัวอย่างคือนักเรียนนักศึกษาแผนกวิชาช่างกลโรงงาน ประเมินความ
พึงพอใจในการใช้งาน ซึ่งโดยภาพความพึงใจอยู่ในระดับมาก

5.3 ประโยชน์
5.3.1 ได้อุปกรณ์ดูดของเหลวที่มีประสิทธิภาพ
5.3.2 อุปกรณ์ดูดของเหลวช่วยลดระยะเวลาในการใช้งานได้
มากขึน

5.4 ข้อเสนอแนะ
5.4.1 วัสดุบางส่วนสามารถทำให้มีความแข็งแรงเพื่อให้ใช้งาน
ได้นานยิ่งขึน

5.4.2 เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน
้ ควรคำนึงถึงความสะดวก
และความปลอดภัยในการทำงาน

เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพ
การใช้งาน
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพ
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
วิทยาลัยการอาชีพพล
คำชีแ
้ จง โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างที่ตรงกับความ
คิดเห็นของท่านมาที่สุด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ  ชาย  หญิง
2. ระดับชัน
้  ปวช.  ปวส.
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของ
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ระดับความคิดเห็น
ข้อ รายการ มา มา ปาน น้อ น้อ
ที่ ก ก กลา ย ย
ที่สุ ง ที่สุ
ด ด
1 รูปทรงมีขนาดเหมาะสม
สามารถจัดได้ง่าย
2 ทำจากวัสดุที่หาง่าย ราคาไม่
แพง
3 การออกแบบสร้างคำนึงถึง
ความปลอดภัย
4 ความคุ้มค่าในการใช้งาน
5 สามารถใช้งานได้นาน
6 สามารถเก็บน้ำมันเครื่อง
ปริมาณที่เยอะ
7 สามารถทำความสะอาดได้
ง่าย
8 ภาพรวมความพึงพอใจใน
การใช้งาน

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
...................................................................................................
...........................................……………………………………………….
……………....................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
......................................

ภาคผนวก ข
ภาพแสดงการทดสอบประสิทธิภาพการใช้งาน
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาพที่ 9 แสดงการทดสอบการใช้งานเครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ภาพที่ 10 แสดงการทดสอบการใช้งานเครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ภาคผนวก ค
ภาพแสดงการสร้างเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาพที่ 11 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน ภาพที่
12 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน
ภาพที่ 13 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน ภาพที่
14 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน

You might also like