You are on page 1of 157

รายงานโครงการหมายเลข IE07-40

การหาเวลามาตรฐานในการผลิตพรม
:กรณีศึกษา บริษัท อินเตอรไกร จํากัด

นายพลเพชร คํายา เลขประจําตัว 473040874-8


นางสาวพีรยา สังขมี เลขประจําตัว 473040892-6
นางสาวสรารัตน ชาลีกัน เลขประจําตัว 473041035-5

รายงานนี้เปนรายงาน งานโครงการของนักศึกษาชั้นปที่ 4 ซึ่งเสนอเปนสวนหนึ่งใน


หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
พ.ศ. 2550
Project Report No. IE07-40

Standard Time for Carpet Manufacturing


:Case Study Of Inter Krai Co.Ltd

Mr. Pholphet kumya ID 473040874-8


Miss Peeraya sungkamee ID 473040892-6
Miss Sararut chaleekan ID 473041035-5

This is the report of fourth year project assignment submitted in partial fulfillment of
the requirement for the Degree of Bachelor of Engineering.

Department of Industrial Engineering


Faculty of Engineering , Khon Kaen University
2007
ใบประเมินผลงานโครงการ

การหาเวลามาตรฐานในการผลิตพรม
:กรณีศึกษา บริษัท อินเตอรไกร จํากัด
Standart Time for Carpet Manufacturing
:Case Study of Inter Krai Co.Ltd

นายพลเพชร คํายา เลขประจําตัว 473040874-8


นางสาวพีรยา สังขมี เลขประจําตัว 473040892-6
นางสาวสรารัตน ชาลีกัน เลขประจําตัว 473041035-5

อาจารยที่ปรึกษา

(อาจารย ดร.รักนอย อัครรุงเรืองกุล)

อาจารยผูรวมประเมินผล

(รองศาสตราจารย ดร.พรเทพ ขอขจายเกียรติ)

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศรีสวัสดิ์ ทรัพยสมบูรณ)

ประเมินผล ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551


กิตติกรรมประกาศ

ทางคณะผูจัดทํางานโครงการ ใครขอขอบพระคุณบุคคลดังกลาวตอไปนี้ที่ใหคําปรึกษา คําแนะนํา


อํานวยความสะดวก รวมทั้งใหความชวยเหลือในการทําโครงการนี้ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี
-อาจารย ดร.รักนอย อัครรุงเรืองกุล อาจารยที่ปรึกษางานโครงการที่ไดกรุณาใหคําปรึกษา
คําแนะนํา และคอยชี้แนะตลอดการทําโครงการ
-ผูชวยศาสตราจารย ดร. ชาญณรงค สายแกว ที่กรุณาใหความรูและคําแนะนําเปนอยางดี
-รองศาสตราจารย ดร. พรเทพ ขอขจายเกียรติ อาจารยผูรวมประเมินผลงานโครงการ
-ผูชวยศาสตราจารย ดร. ศรีสวัสดิ์ ทรัพยสมบูรณ อาจารยผูรวมประเมินผลงานโครงการ
-คุณสุนทร ไกรตระกูล กรรมการผูจัดการ บริษัทอินเตอรไกร จํากัด ซึ่งอนุญาตใหเก็บขอมูลใน
โรงงาน และคําแนะนําตลอดจนขอมูลตางๆ
-คุณพิศาล คํายา ที่ไดกรุณาชวยอนุเคราะหทั้งดานขอมูลและคําปรึกษาที่ดี
-พนักงาน บริษัทอินเตอรไกร จํากัด ที่ไดกรุณาใหขอมูลและความรวมมือในดานตางๆ เกี่ยวกับ
โรงงานและขั้นตอนการทํางาน
นายพลเพชร คํายา
นางสาวพีรยา สังขมี
นางสาวสรารัตน ชาลีกัน

บทคัดยอ

ในการทําโครงการเรื่องการหาเวลามาตรฐานของการผลิตพรม กรณีศึกษาบริษัท อินเตอรไ กร จํากั ด


เนื่องจากบริษัท อินเตอรไกร จํากัด ไมมีเวลามาตรฐานในการทํางานของแตละกระบวนการผลิตพรม ทําใหไม
ทราบกําลังการผลิตที่เปนมาตรฐานของแตละวัน และไมทราบเปาหมายการผลิตที่แนนอน จึงเปนสาเหตุที่ทําให
สนใจในการทําโครงการนี้ เพื่อหาเวลามาตรฐานใหกับทางบริษัทบริษัท อินเตอรไกร จํากัด
โดยในเบื้องตนไดศึกษาการเคลื่อนไหว – เวลา และเขียนวิธี การทํางานของกระบวนการผลิตที่ส นใจ
ศึกษา คือ แผนกเลยกาวและแผนกรอไหม สังเกตลักษณะการทํางานของพนักงานแลวแบงงานออกเปนงาน
ยอย จากนั้นทําการจับเวลาใหไดจํานวนครั้งที่เหมาะสม นําเวลาที่ไดมาคํานวณหาเวลามาตรฐานของแผนก
เลยกาวและกรอไหม การปรับปรุง การทํางานในแผนกเลยกาวสามารถทําไดโดยการปรับปรุงพื้นที่ในการ
จัดเก็บอุปกรณเพื่อทําใหเวลาในการทํางานลดลงและปรับปรุงวิธีการในการทํางานจากที่เ คยใชถังในการตักกาว
เปลี่ยนเปนใชเหยือกที่มีปริมาตรในการจุเทากับความตองการกาวตอตารางเมตรเพื่อใหไดง านที่มีคุณภาพและ
ไมตองเสียเวลาเพิ่มในการแกไขงานที่ไม ไดคุณภาพ สําหรับแนวทางการปรับปรุงการทํางานของแผนกกรอ
ไหม ซึ่งเวลาในการปฏิบัติงานสวนใหญเกิดจากการทํางานของเครื่องจักร จึง จําเปนตองทําการทดสอบเพื่อ
เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของเวลาในการทํางานของเครื่องจักรทั้ง หมดโดยใชการทดสอบดวยวิธี ANOVA ตอมาทํา
การทดสอบเพื่อใหทราบวาคาเฉลี่ยของเวลาคูใดที่ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญโดยใชวิธีเ ปรียบเทียบ
พหุ คูณ จากนั้น จึง ทําการเปรียบเทีย บความแตกตา งของคาเฉลี่ย ของเวลาในการทํ างานในการทํ างานของ
เครื่องจักรในแตละคู จากการทดสอบดังที่กลาวขางตนทําใหทราบถึงความเหมาะสมในการเลือกใชเครื่องจักร
เพื่อใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ABSTRACT

This project contains with the explorer of standard time for the carpet manufacturing of Interkrai
Co. Ltd. Due to the company has not the standard time for each process, the standard capacity and the
production target have not known. Thus it is motivated to study the standard time for Interkrai Co. Ltd.
In the primary, the movement-time and working procedure are studied. In two departments; glue laying
and silk spinning. The observation was made in the working procedure of the operaters, and then
elements were divided. Therefore, the suitable times for collecting the data were calculated from the
record time.
In order to improve the working time at the lay glue, the storage area for the equipments was
developed. To reduce the production time and adjust the working procedure, a jug with the volume equal
to the requirement of glue per square meter was used instead of a tank. The objective was to develop the
quality of work. Due to the silk spinning department associated with the machines, the working time
depends on the machines operation time. Multiple Comparisons were applied to compare the different
average time of two machines. According to study, it is able to select suitable machines to achieve
efficiency. The objective of project was to investigate standard time for the carpet manufacturing of
Interkrai Co. Ltd. Due to the fact that the standard time in each process is not set, the standard capacity
and the production target were not known in each day. This was the reason why this project was
initiated

สารบัญ

เรื่อง หนา
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดยอภาษาไทย ข
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค
สารบัญ ง
ลําดับภาพ ช
ลําดับตาราง ฌ
บทที่ 1 บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล 1
1.2 วัตถุประสงค 1
1.3 ขอบขายของงาน 1
1.4 แนวทางการดําเนินงาน 1
1.5 แผนการดําเนินงาน 2
1.6 ผลที่คาดวาจะไดรับ 2
บทที่ 2 การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา
2.1 บทนํา 4
2.2 ทฤษฎีการเคลื่อนไหวและเวลา 4
2.3 การวิเคราะหกระบวนการผลิต 6
2.4 การศึกษาเวลา 7
2.5 การเลือกคนงานที่เหมาะสม 9
2.6 การแบงงานออกเปนงานยอย 9
2.7 การจับเวลาทํางานแตละงานยอย 10
2.8 การกําหนดจํานวนครั้งที่ตองจับเวลา 11
2.9 การประเมินประสิทธิภาพในการทํางาน 13
2.10 การคํานวณหาคาเวลาปกติ 15
2.11 การประมาณคาเวลาลดหยอน 16
2.12 การคํานวณหาคาเวลามาตรฐาน 16
2.13 การวิเคราะหความแปรปรวนเมื่อจําแนกทางเดียว 17
2.14 ตรรกของการวิเคราะหความแปรปรวน 20
2.15 การทดสอบสมมติฐานของการวิเคราะหความแปรปรวน 22

สารบัญ (ตอ)

2.16 สูตรคํานวณ 23
2.17 กรณีที่เปนขอมูลไมสมดุล 23
2.18 การใช P-Value ในการทดสอบสมมติฐาน 24
2.19 การเปรียบเทียบพหุคูณ 24
2.20 สรุป 26
บทที่ 3 ประวัติ และขอมูลทั่วไปของ บริษัทอินเตอรไกรจํากัด
3.1 ประวัติความเปนมา 27
3.2 โครงสรางการบริหารงานของโรงงาน 27
3.3 แหลง และวัตถุดิบที่ใชในการผลิต 29
3.4 ผังโรงงาน 29
3.5 กระบวนการผลิต 29
3.6 สรุป 35
บทที่ 4 การประยุกตใชการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาในโรงงาน
4.1 การศึกษาขอมูลทั่วไป 36
4.2 การศึกษาการเคลื่อนไหว 36
4.3 การศึกษาเวลา 40
4.4 สรุป 40
บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล
5.1 บทนํา 41
5.2 ขอมูลจากการศึกษาการเคลื่อนไหว 41
5.3 ขอมูลจากการศึกษาเวลา 42
5.4 การหาเวลามาตรฐานของการทํางานในแตละขั้นตอน 42
5.5 สรุป 78
บทที่ 6 แนวทางการปรับปรุง
6.1 แนวทางการปรับปรุงการทํางานของแผนกเลยกาว 81
6.2 แนวทางการปรับปรุงการทํางานของแผนกกรอไหม 81
6.3 สรุป 96

สารบัญ (ตอ)

บทที่ 7 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ
7.1 สรุปผลการศึกษา 97
7.2 อุปสรรคในการทํางานโครงการ 98
7.2 ขอเสนอแนะ 98
บรรณานุกรม 99
ภาคผนวก ก 101
ภาคผนวก ข 113
ภาคผนวก ค 125
ภาคผนวก ง 132

สารบัญภาพ

หนา
รูปที่ 2.1 กราฟแสดงการกระจายแบบปกติที่ระดับความเชื่อมั่น 95.5% 12
รูปที่ 2.2 ความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของคาสังเกตทั้งหมด คาเฉลี่ยของคาสังเกตในแตละระดับ 19
และผลกระทบเนื่องจากความแตกตางของระดับ
รูปที่ 2.3 แสดงคาวิกฤติที่เกิดขึ้น 22
รูปที่ 3.1 แสดงแผนที่โรงงาน 28
รูปที่ 3.2 แสดงแผนผังการบริหาร 30
รูปที่ 3.3 แสดงแผนผังโรงงาน 31
รูปที่ 3.4 แสดงขบวนการผลิตพรม 32
รูปที่ 3.5 ทดสอบสีกอนการยอม 33
รูปที่ 3.6 การออกแบบถอดลาย 33
รูปที่ 3.7 การทอพรม 33
รูปที่ 3.8 การเลยกาว 34
รูปที่ 3.9 การเชียและตัดแตงหนาพรม 34
รูปที่ 3.10 การแกะและตกแตงลาย 35
รูปที่ 3.11 การบรรจุหีบหอ 35
รูปที่ 4.1 แบบฟอรมการปฏิบัติงาน 37
รูปที่ 4.2 ขั้นตอนการตีบล็อก 39
รูปที่ 4.3 ขั้นตอนการขึงพรม 39
รูปที่ 4.4 ขั้นตอนการติดตาขาย 39
รูปที่ 4.5 ขั้นตอนการเลยกาว 39
รูปที่ 4.6 การเอาไจใสกรง 39
รูปที่ 4.7 การกรอไหม 39
รูปที่ 4.8 ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอด 40
รูปที่ 5.1 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการตีบล็อก 43
รูปที่ 5.2 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการขึงพรม(เสนเหลือง) 44
รูปที่ 5.3 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการขึงพรม(เสนเขียว) 45
รูปที่ 5.4 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการติดตาขาย 46
รูปที่ 5.5 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการเลยกาว 47
รูปที่ 5.6 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการเอาใจใสกรง 48

สารบัญภาพ (ตอ)

รูปที่ 5.7 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการกรอไหม 49


รูปที่ 5.8 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการเปลี่ยนหลอด 50
รูปที่ 6.1 แสดงการทดสอบโดยวิธี ANOVA ขั้นตอนการเอาใจใสกรงของไหมชนิดขนสัตว(wool) 84
รูปที่ 6.2 แสดงการทดสอบโดยวิธี ANOVA ขั้นตอนการกรอไหมของไหมชนิดขนสัตว(wool) 85
รูปที่ 6.3 แสดงการทดสอบโดยวิธี ANOVA ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดของไหมชนิดขนสัตว(wool) 86
รูปที่ 6.4 แสดงการทดสอบโดยวิธี ANOVA ขั้นตอนการเอาใจใสกรงของไหมชนิดขนสัตว TV 87
รูปที่ 6.5 แสดงการทดสอบโดยวิธี ANOVA ขั้นตอนการกรอไหมของไหมชนิดขนสัตวTV 88
รูปที่ 6.6 แสดงการทดสอบโดยวิธี ANOVA ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดของไหมชนิดขนสัตว TV 89
รูปที่ 6.7 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 1 และ 2 92
ของไหมชนิด wool
รูปที่ 6.8 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 1 และ 3 92
ของไหมชนิด wool
รูปที่ 6.9 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 1 และ 4 93
ของไหมชนิด wool
รูปที่ 6.10 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 2 และ 3 93
ของไหมชนิด wool
รูปที่ 6.11 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 2 และ 4 94
ของไหมชนิด wool
รูปที่ 6.12 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 3 และ 4 94
ของไหมชนิด wool
รูปที่ 6.13 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 1 และ 2 95
ของไหมชนิด TV
รูปที่ 6.14 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 1 และ 4 95
ของไหมชนิด TV
รูปที่ 6.15 แสดงการทดสอบโดยวิธี Idependent Samples test เครื่องจักร 2 และ 4 96
ของไหมชนิด TV

สารบัญตาราง

หนา
ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงาน 2
ตารางที่ 2.1 แสดงตัวประกอบความเชื่อมั่นที่นิยม 13
ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงคาการใหคะแนนแบบ Westing House 14
ตารางที่ 2.3 ตารางแสดงคาคะแนนที่ปรับได 17
ตารางที่ 2.4 ลักษณะทั่วไปของขอมูลสําหรับทําการทดลองในหนึ่งปจจัย 18
ตารางที่ 2.5 ตารางการวิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA Table) 23
ตารางที่ 4.1 แบบฟอรมตารางการจับเวลาเบื้องตน 37
ตารางที่ 5.1 ตารางขอมูลเวลาของขบวนการตีบล็อก 51
ตารางที่ 5.2 ตารางขอมูลเวลาของขบวนการขึงพรม(เสนเหลือง) 52
ตารางที่ 5.3 ตารางขอมูลเวลาของขบวนการขึงพรม(เสนเขียว) 53
ตารางที่ 5.4 ตารางขอมูลเวลาของขบวนการติดตาขาย 54
ตารางที่ 5.5 ตารางขอมูลเวลาของขบวนการการเลยกาว 55
ตารางที่ 6.1 แสดงคาเฉลี่ยในแตละรอบของไหมชนิด wool 81
ตารางที่ 6.2 แสดงความเร็วรอบของเครื่องจักรแตละเครื่อง 82
ตารางที่ 6.3 แสดงผลตางของคาเฉลี่ยของแตละเครื่องของไหมชนิด wool 89
ตารางที่ 6.4 แสดงผลตางของคาเฉลี่ยของแตละเครื่องของไหมชนิด TV 90
ตารางที่ 6.5 แสดงผลจากการเปรียบเทียบเครื่องจักรแตละคูของไหมชนิดขนสัตว 91
ตารางที่ 6.6 แสดงผลจากการเปรียบเทียบเครื่องจักรแตละคูของไหมชนิดTV 94
ตารางที่ ก.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (wool) 102
ตารางที่ ก.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (wool) 103
ตารางที่ ก.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (wool) 104
ตารางที่ ก.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (wool) 105
ตารางที่ ก.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (wool) 106
ตารางที่ ก.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV) 107
ตารางที่ ก.7 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV) 108
ตารางที่ ก.8 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV) 109
ตารางที่ ก.9 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV) 110
ตารางที่ ก.10 เวลาในการทํางานของเครือ่ งจักรที่ 1 (TV) 111
ตารางที่ ก.11 เวลาในการทํางานของเครือ่ งจักรที่ 1 (TV) 112

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ ข.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (wool) 114


ตารางที่ ข.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (wool) 115
ตารางที่ ข.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (wool) 116
ตารางที่ ข.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (wool) 117
ตารางที่ ข.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (wool) 118
ตารางที่ ข.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV) 119
ตารางที่ ข.7 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV) 120
ตารางที่ ข.8 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV) 121
ตารางที่ ข.9 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV) 122
ตารางที่ ข.10 เวลาในการทํางานของเครือ่ งจักรที่ 2 (TV) 123
ตารางที ข.11 เวลาในการทํางานของเครือ่ งจักรที่ 2 (TV) 124
ตารางที่ ค.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (wool) 126
ตารางที่ ค.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (wool) 127
ตารางที ค.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (wool) 128
ตารางที่ ค.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (wool) 129
ตารางที่ ค.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (wool) 130
ตารางที่ ค.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (wool) 131
ตารางที่ ง.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 133
ตารางที่ ง.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 134
ตารางที่ ง.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 135
ตารางที่ ง.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 136
ตารางที่ ง.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 137
ตารางที่ ง.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 138
ตารางที่ ง.7 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 139
ตารางที่ ง.8 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 140
ตารางที่ ง.9 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 141
ตารางที่ ง.10 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 142
ตารางที่ ง.11 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV) 143
บทที่ 1
บทนํา

การผลิตในปจจุบันนี้ถาตองการที่จะไดผลกําไรตามที่ต องการ จะตองผลิตโดยใชเวลาและตนทุนต่ํา


ที่สุ ด ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดคือ การศึกษาการทํางาน การหาเวลามาตรฐานเพื่อหาตนทุ นตางๆ ในโรงงาน เชน
ตน ทุน แรงงาน เวลาที่ ใช ในการผลิต การวางแผนการผลิต เปนตน วิธีการศึ กษาการทํา งานและหาเวลา
มาตรฐานนั้นเปนสิ่งที่เราจะนํามาพิจารณาโดยการนําทฤษฏีที่ศึกษามาประยุกตใชใหไดประสิทธิภาพมากที่สุด

1.1 หลักการและเหตุผล
เนื่องจากบริษัทอินเตอรไกรจํากัดยังไมมีเวลามาตรฐานในการทํางานของแตละกระบวนการผลิตพรม
ทําใหไมสามารถแบงระดับการทํางานของพนักงานและกําลังการผลิตที่เปนมาตรฐานในแตละวัน ทําใหยังไมมี
เปาหมายในการผลิตที่แนนอนในแตละวัน
ดังนั้นจึงตองการใหแตละกระบวนการมีเวลามาตรฐานเพื่อจะไดทราบกําลังการผลิตที่แนนอนในแต
ละวัน ระดับความสามารถของพนักงาน เพื่อจัดพนักงานใหเขาทํางานในแตละกระบวนการอยางเหมาะสม
และการวางแผนการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด

1.2 วัตถุประสงค
1. เพื่อหาเวลามาตรฐานในกระบวนการผลิตพรมในแผนกเลยกาวและแผนกกรอไหม
2. เพื่อวัดระดับความสามารถในการทํางานของพนักงาน
3. เสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการเลยกาวและกรอไหม

1.3 ขอบขายของงาน
1. หาเวลามาตรฐานในกระบวนการผลิตพรมในแผนกเลยกาว
2. หาเวลามาตรฐานในกระบวนการผลิตพรมในแผนกกรอไหม

1.4 แนวทางการดําเนินงาน
1. ติดตอโรงงานเพื่อหาหัวขอโครงการ
2

2. ศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวของกับการหาเวลามาตรฐาน การเคลื่อนไหวและเวลา
3. ศึกษาขั้นตอนการผลิตจริงของโรงงาน
4. รวบรวมขอมูล เชน ลักษณะการทํางานของพนักงานและเครื่องจักรอุปกรณที่ใชในแตละ
กระบวนการ
5. วิเคราะหและวางแผนการหาเวลามาตรฐาน
6. จับเวลาที่ใชในการทํางานจริงเพื่อนํามาใชในการคํานวณหาเวลามาตรฐาน
7. ตรวจสอบเวลามาตรฐานที่ไดและเสนอแนวทางการปรับปรุง
8. ทําเปนมาตรฐานของกระบวนการทํางาน
10. จัดทํารูปเลมงานโครงการ

1.5 แผนการดําเนินงาน
แผนการดําเนินงานของงานโครงการแสดงดังตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงาน


ลําดับ เดือน
กิจกรรม
ที่ มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
ติดตอโรงงานเพื่อขอทํา
1
โครงการ
ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของ
2 กับเรื่องการเคลื่อนไหว
และเวลา
ศึกษากระบวนการผลิต
3
พรม
รวบรวมขอมูลตางๆ เชน
4
ลักษณะการทํางาน
วิเคราะหและวางแผนใน
5
การหาเวลามาตรฐาน
ลงมือปฏิบัติ(แผนกเลย
6
กาว)
7 ลงมือปฏิบัติ(กรอไหม)
เสนอแนวทางการแกไข
8
และสรุปผล
9 ทําเปนมาตรฐาน
10 จัดทําเปนรูปเลมโครงการ
3

1.6 ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. โรงงานมีเวลามาตรฐานของกระบวนการทํางาน
2. สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงาน
3. โรงงานสามารถวางแผนการทํางานของพนักงานไดอยางเหมาะสมและลดตนทุนในการทํางาน
ลวงเวลา
4. การทํางานรวมกับผูอื่น
5. ประสบการณจากการทํางานจริง
6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
7. สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการทํางานได
8. รูจักการวางแผนงาน
9. สามารถทํางานไดบรรลุตามแผนที่วางไวตามเวลาที่กําหนด
บทที่ 2
ทฤษฎีที่ใชในการศึกษา

2.1 บทนํา
ในการวางแผนกําลังการผลิตหรือการบริหารงานตางๆโดยเฉพาะอยางยิ่ง การบริหารโครงการ จําเปน
จะตองทราบถึง จํา นวนเครื่องจัก ร กํา ลัง คน และทรัพยากรที่มีอยู รวมทั้งศึก ษาถึง กํา ลังในการผลิต ที่มีอยูนั้น
เพีย งพอกับภาระงานที่เ กิดขึ้ นหรือไม ซึ่งในการคํานวณหาเวลามาตรฐานดว ยเทคนิค การศึ กษาเวลา (Time
Study) เปนเทคนิคพื้นฐานที่ใชกันอยางแพรหลายในอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ เทคนิคการศึกษาเวลา
(Time Study) ถูกพั ฒนาขึ้น เพื่อ ใชใ นการบริ หารสายการผลิ ต การคํานวณหาเวลามาตรฐานดว ยเทคนิค
การศึกษาใหไดมาซึ่งขอมูลที่ถูกตอง แมนยํา รวดเร็ว ประหยัดและนาเชื่อถือ เปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับการ
บริหารสายการผลิต เพราะขอมูลเหลานี้จะเปนขอมูลพื้นฐานที่จะถูกนําไปใชใ นการวางแผนและบริหารงานใน
ระดับสูงตอไป การศึกษาเวลาควรทําการศึกษาอยางโปรง ใส ถูกตอง และเปดเผยให โดยรับทราบกันโดยทั่ว ไป
เพื่อปองกันขอขัดแย งและปญหาตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกําหนดเวลามาตรฐานโดยใชเทคนิคการศึกษา
เวลา
การศึกษางาน (Work Study) คือการศึกษากิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้นในการดําเนินการอุตสาหกรรมการ
ผลิตและบริการ เพื่อพัฒนา ปรับปรุงใหดีขึ้น เกิดความประหยัดหรือลดตนทุน/คาใชจายใหนอยลง เพื่อใหเกิด
ผลิตภาพ(Productivity)ที่ดีขึ้น รวมถึง การหาเวลามาตรฐานตางๆในการดําเนิน การการศึก ษางาน หมายถึง
เทคนิคในการวิเคราะหขั้นตอนของการปฏิบัติงานเพื่อขจัดงานที่ไมจําเปนออก และสรรหาวิธีการทํางานที่ดีที่สุด
และเร็วที่สุดในการปฏิบัติงานนั้นๆ ทั้งนี้รวมถึง การปรับปรุงมาตรฐานของการทํางานและการบริหารแผนการ
โดยอาศัยระบบคาแรงจูงใจ

2.2 ทฤษฎีการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา
การศึ ก ษาการเคลื่ อ นไหวและเวลาโดยมี จุ ด มุ ง หมาย เพื่ อ ใช ใ นการหาเวลาในการทํ า งานที่ เ ป น
มาตรฐาน และปรับปรุง ออกแบบวิธีการทํางานใหมีประสิทธิภาพ
อยางไรก็ตาม ศาสตรสาขานี้ยังมีการวิวัฒนาการมาโดยตลอด โดยปจจุบันมีการพยายามที่จะคิ ด
ออกแบบระบบและวิธีการทํางานใหมโดยใหเปนวิธีในระดับอุดมคติ(Ideal Method) หรือใกลเคียงที่สุดและเปน
วิธีที่ปฏิบัติ ไดจริง โดยใชวิธีการจํ ากัดความปญหาอยางรอบคอบ มีการกําหนดจุดประสงคหรือเปา หมายและ
พยายามหาวิธี แกปญ หาที่ดีที่สุด ในขณะที่ในอดีตนิย มที่จ ะศึกษาการทํา งานที่เ ปนอยูในขณะนั้น และพยายาม
ปรับปรุงการทํางานนั้นๆโดยตรง
5

2.2.1 จุดประสงคของการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา
การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาเปนการศึกษาการทํางานอยางเปนระบบมีจุดประสงคคือ
1. พัฒนาหาระบบและวิธีที่เหมาะสม ที่เปนระบบที่ทําใหตนทุนต่ําที่สุด โดยทั่วไปมักเปน
งานเกี่ย วกั นการผลิต สิน คา และการให บ ริก ารในรูป แบบตา งๆ ซึ่ ง ตอ งใชค น เครื่ องจัก ร และวัส ดุใ นการ
ดําเนินงาน
2. ตั้ง มาตรฐานของระบบ เมื่อมีการพัฒนาระบบและวิธีการทํางานจนคิดวาเปนวิธีการ
ทํา งานที่ดีที่สุด แล ว จะตองกํา หนดใหเ ปนการทํา งานที่เ ปนมาตรฐาน พนัก งานทุกคนควรจะทํา งานตามวิ ธีที่
กําหนดนี้ โดยทั่วไปแลวการกําหนดงานที่เปนมาตรฐานจะตองแบงแยกขั้นตอนของการทํ า งานให ล ะเอี ย ดต อ ง
กําหนด ขนาด รูปราง คุณภาพของวัสดุ เครื่องจักร/เครื่องมือที่ใช รวมถึงทุกๆสวนที่เกี่ยวของกับงาน
3. ตั้งมาตรฐานของเวลาที่ควรใชใ นการทํางาน เปนการหาเวลาที่ควรจะใชเ มื่อคนงานที่
ผานการฝกหัดใหทํางานตามมาตรฐานวิธีทํางานที่กําหนดไว จนมีประสบการณเพียงพอ ทํางานในสภาวะปกติ
รวมกับเวลาเผื่อตางๆ แลวตั้งเวลาที่ไดนี้เปนเวลามาตรฐานในการทํางาน
4. ฝกฝนคนงานใหทํางานในวิธีที่กําหนด เมื่อมีวิธีการทํางานที่ดีที่สุด และรูวาการทํางาน
โดยวิธีนี้ควรใชเวลาเทาไหรจึงเหมาะสมแลว ขั้นตอนตอไปก็เปนการฝกคนงานใหสามารถทํางานในวิธีที่กําหนด
นี้ การฝกฝนคนงานอาจทําโดย หัวหนางาน นักวิเคราะหการเคลื่อนที่และเวลา หรือ อาจใชคนงานที่ชํานาญงาน
แลวก็ได

2.2.2 กระบวนการแกปญหาทั่วไป
การออกแบบวิธี การปฏิบัติง าน เมื่อมีการผลิตผลิตภัณ ฑใหม หรือ การปรับปรุงงานที่ทํา
อยู แล วใหดี ขึ้น เปนสว นที่ สํา คัญส วนหนึ่ งของการศึก ษาการเคลื่อ นที่ และเวลา เพราะวาการออกแบบวิ ธีก าร
ทํา งานก็เ หมือ นกับ การแกป ญหาที่ตอ งการความคิ ดสร างสรรคมากอย างหนึ่ง กระบวนการแกป ญหา 5 ขั้น
ตอไปนี้ เปนการแกปญหาที่ระบบซึ่ง สามารถใชใ นการแกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ไดกระบวนการแกปญหาที่เปน
วิธีทางวิทยาศาสตร (Scientific Method) แบงออกเปน 5 ขั้นตอนดังนี้คือ
1. การกําหนดปญหา (Problem Definition)
2. การวิเคราะหปญหา (Analysis of the Problem)
3. การหาวิธีการแกปญหาที่เปนไปได (Search for Possible Solutions)
4. การประเมินและเลือกวิธีการแกปญหา (Evaluation of Alternatives)
5. การเสนอวิธีการแกปญหาเพื่อปฏิบัติ (Recommendation for Action)

2.2.3 การออกแบบการทํางานใหดีขึ้น
การออกแบบการทํางาน เมื่อผลิตภัณฑถูกออกแบบ และผลิต เรามักจะใหความสําคัญแก
ระบบหรือกรรมวิธีที่ใชในการผลิต นักออกแบบวิธีการทํางานตางก็พยายามที่จะออกแบบระบบและวิธีการผลิต
ใหดีที่สุด หรือ เหมาะสมที่สุด จากที่ผานมามักจะพบวาในความเปนจริงแลว ไมมีวิธีการใดที่สมบูรณที่สุดเสมอ
ไป ไมวาวิ ธีใดที่ทํ าอยูก็มี แนวทางที่จะปรับปรุงทั้งนั้น เนื่องจากอาจจะมีเงื่อนไขที่แปรเปลี่ยนไปอยูเสมอ เชน
ชนิ ดและราคาของวัต ถุดิบ คุ ณภาพที่ตองการใหดี ขึ้น การเปลี่ยนเครื่องมือ -เครื่องจัก ร หรือ อาจรวมถึ งการ
ออกแบบรูป แบบของผลิ ตภั ณฑใหมใ นการหาวิธี การปรับปรุงการทํางานให ดีขึ้ น ไม ควรจะยึด ติด กับแนวทาง
ปฏิบัติงานดั้งเดิมที่เปนอยูมากไปนัก เนื่องจาก จะเป น ข อ จํ า กั ด ของความคิ ด สร า งสรรค ในการสร า งสรรค
ความคิดควรจะมองถึงความเปนไปไดทุกๆ ทางที่จะทําใหบรรลุจุดประสงคหรือเปาหมายที่วางไว
6

แนวทางในการหาวิธีการทํางานทีด่ ีกวาที่ควรนํามาพิจารณา มีดังนี้


1. ตัดทอนงานที่ไมจําเปนออกใหหมด
2. รวมการทํางานที่คลายคลึงกันเขาดวยกัน
3. เปลี่ยนลําดับขั้นตอนการทํางานใหม
4. ทําใหการทํางานที่จําเปนงายขึ้น

2.3 การวิเคราะหกระบวนการผลิต
กอนที่จะทําการศึกษาละเอียดถึงการกระทําตางๆ ในขั้นตอนการทํางานแตละขั้นตอนการทํางานแต
ละขั้นในกระบวนการผลิตนั้น ตองทําการศึกษาภาพรวมของระบบหรือภาพรวมของกระบวนการผลิตกอน ใน
การอธิบายวากระบวนการผลิตเปนอยางไรนั้น มีเครื่องมือที่ใชกนั อยางกวางขวางคือ
1. แผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)
2. แผนผังการไหล (Flow Diagram)

2.3.1 แผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart)


เป น เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการบั น ทึ ก ข อ มู ล ของกรรมวิ ธี ก ระบวนการทั้ ง กระบวนการผลิ ต
กระบวนการดําเนินการตางๆ โดยมีการลําดับขั้น ตอนกระบวนการ มีการแบงกระบวนการเปนลักษณะตางๆ 5
ประเภท ตาม มาตรฐาน (The American Society of Mechanical Engineers, ASME) ไดแก การ
1. สัญลักษณวงกลม หมายถึง การปฏิบัติงาน (Operation) เกิดขึ้นเมื่อมี
การเปลี่ยนแปลงลักษณะ หรือ คุณสมบัติของวัตถุ วัตถุนั้นนํามา
ประกอบเขากันหรือถอดจากกัน
2. สัญลักษณสี่เหลี่ยม หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพ (Inspection) ของ
ชิ้นงานหรือการตรวจดูลักษณะของชิน้ งาน
3. สัญลักษณลูกศร หมายถึง การเคลื่อนยายวัตถุ (Transportation) จากจุดหนึ่ง
ไปยังอีกจุดหนึ่ง
4. สัญลักษณสามเหลี่ยม หมายถึง การจัดเก็บดูแลชิน้ งานอยางถาวร (Storage)

5. สัญลักษณตัวดี หมายถึง การรอคอย (Delay) ความลาชาของชิ้นงาน


เนื่องจากมีอุปสรรคมาขวางไมใหขั้นตอนการปฏิบัติงานดําเนินตอไป

2.3.2 แผนผังการไหล (Flow Chart)


ในการวิเ คราะหการทํางาน ยังมีเครื่องมืออีกชิ้นหนึ่งที่ใชรว มกับแผนภูมิกระบวนการผลิต
เพื่อชวยใหการวิเคราะหชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น นั่นคือ แผนผังการไหล
แผนผังการไหล จะแสดงแผนผังของบริเวณที่ทํางาน และตําแหนงของเครื่องจักรที่เกี่ยวของ
ทั้งหมด ผังนี้จะกําหนดสเกลหรือไมกําหนดก็ได แลวแตความจําเปนหรือความเหมาะสม แลวเขียนเสนทางการ
เคลื่อนที่ของสิ่งสังเกต
7

ผังการไหลแบงตามชนิดของสิ่งสังเกตออกไดเปน 2 ชนิด คือ


1. ผังการไหลของคน (Man Type)แสดงการเคลื่อนที่ของคนในการทํางาน หรือ สิ่งสังเกต
คือ คนงาน
2. ผังการไหลของวัสดุ (Material Type)
แสดงการเคลื่อนที่ของวัสดุ หรือวัตถุดิบในกระบวนการผลิต กรณีสิ่งสังเกต คือ วัสดุ

2.3.3 การเขียนแผนภูมิและแผนผังการไหลของกระบวนการผลิต
การเขียนแผนภูมิและแผนผังการไหลของกระบวนการผลิตแบงเปนขัน้ ตอน 6 ขั้นตอน คือ
1. เลือกกิจกรรมการทํางานที่ตองการศึกษา โดยกําหนดเจาะจงลงไปวาตองการศึกษา
กระบวนการของ คน วัสดุ หรือ ชิ้นสวน
2. กําหนดจุ ดเริ่ม ตนและจุ ดสิ้น สุดของกระบวนการผลิต ที่จะศึกษาโดยตองครอบคลุ ม
กิจกรรมทั้งหมดที่ตองการศึกษา
3. เขีย นแผนภูมิกระบวนการผลิต โดยในแผนภูมิ กระบวนการผลิ ตจะตอ งประกอบด วย
Heading, Description และ Summary
4. แสดงผลของจํานวนกิจกรรมตางๆ คือ จํานวนขั้นตอนการปฏิบัติงาน จํานวนขั้นตอน
การขนสงจํานวนครั้งของความลาชาจํานวนครั้งการตรวจสอบ และจํานวนครั้งในการพักหรือเก็บรวมถึง
ระยะทางในการขนสงไวในตารางสรุป
5. เขียนผังการไหลของกระบวนการผลิต แสดงสถานีงาน ที่ตั้งของเครื่องจักรและเครื่องมือ
ตางๆ ที่ใช
6. แสดงทิศทางการไหลของกระบวนการผลิตโดยใชหัวลูกศรชี้แสดง

2.4 การศึกษาเวลา (Time Study)


การศึกษาเวลา (Time Study) หรือการวัดงาน (Work Measurement) หมายถึง การใชวิธีการตางๆ
เพื่อวัดและตั้งมาตรฐานเวลาการทํางาน รวมถึงการศึกษาหาเวลามาตรฐานในการทํางานของคนงานซึง่ ทํางานที่
ระดับประสิทธิภาพที่กําหนดให
การศึกษาเวลา (Time Study) คือ การหาเวลามาตรฐานในการทํางาน, การกําหนดเวลามาตรฐาน
ตางๆ อาจเรียกอีกอยางวา การวัดผลงาน (วัดเวลาการทํางาน)หาเวลามาตรฐาน เพื่อ คํานวณคาใชจาย และ
การวางแผนการผลิต

2.4.1 วัตถุประสงคและประโยชนของการศึกษาเวลา
การศึกษาเวลาเปนการศึกษาหาเวลามาตรฐานในการทํางานเพื่อวัตถุประสงคและประโยชน
ดังตอไปนี้
8

1. ใชขอมูลที่ไดในการจัดตารางการทํางาน (Schedules) และวางแผนการทํางาน


(Planning Work)
2. ใชในการคํานวณตนทุนมาตรฐาน และใชในการเตรียมงบประมาณ
3. ใชในการประมาณตนทุนของผลิตภัณฑลวงหนากอนการผลิตจริง ซึ่งเปนประโยชนใน
การตัดสินใจดานราคา
4. ใชคํานวณประสิทธิภาพการใชงานของเครื่องจักร จํานวนเครื่องจักรที่คนงานหนึ่ง
สามารถควบคุมได และใชในการจัดสมดุลสายการประกอบ
5. ใชเปนพื้นฐานในการกําหนดคาแรงจูงใจ (Wage Incentive) สําหรับแรงงานทางตรงและ
ทางออม
6. ขอมูลเวลาที่ไดใชเปนพื้นฐานในการควบคุมตนทุนแรงงาน

2.4.2 ประเภทของการศึกษาเวลา
ประเภทของการศึกษาเวลาที่ใชในกระบวนการผลิต คือ การศึกษาเวลาโดยตรง การศึกษา
เวลาโดยตรง เปนวิธีการศึกษาโดยการจับเวลาโดยตรง โดยอาศัยเครื่องมือในการจับเวลา และทําการบันทึกคา
เวลาที่ไ ดจากการจั บเวลาในแผนภูมิกระบวนการผลิต เครื่องมือจั บเวลาที่ใช คือ นาฬิกาจับเวลา(Stopwatch)
การศึกษาเวลาโดยตรงนี้จะทําการศึกษาเวลาในสายงานกระบวนการผลิตชิ้นสวนตางๆ ที่มีการผลิตขึ้น

2.4.3 ขั้นตอนการศึกษาเวลา
1. รวบรวมและบันทึกขอมูลทั้งหมดเทาที่จะทําไดของงานของผูปฏิบัติ แลสภาพแวดลอม
ในการทํางานนั้นซึ่งมีผลตอการทํางานชิ้นนั้น ทั้งหมด
2. บันทึกวิธีการทํางานทั้งหมด และแบงงานใหญทั้งหมดออกเปนงานยอยๆ และอธิบาย
รายละเอียดของงานยอย แตละอัน
3. พิจารณางานยอยๆ ที่แตกออกเพื่อใหเกิดความมัน่ ใจวาจะไดวิธีที่ดีสุด แลวคํานวณหา
ขนาดของตัวอยางที่ควรจับเวลา
4. วัดคาโดยนาฬิกาจับเวลา แลวบันทึกเวลาที่วัดไดในแตละงานยอย
5. พิจารณาอัตราการทํางานของผูปฏิบัติ โดยเปรียบเทียบกับ มาตรฐานของผูจับเวลา โดย
อาศัยหลักการของการประเมินคา Rating
6. เปลี่ยนเวลาที่จับได (Observed) เปนเวลาพื้นฐาน (Basic Time)
7. กําหนดเวลาเผื่อ
8. หาเวลามาตรฐาน (Standard Time) สําหรับงานนัน้
9

2.5 การเลือกคนงานที่เหมาะสม
การเลือกคนงานที่ทําการจับเวลาการทํางานนั้น เลือกคนงานที่มีสุขภาพแข็งแรง มีความสามารถ ความ
ชํานาญงาน และทักษะในเกณฑดีและมีความซื่อตรง ระดับความเร็วในการทํางานควรอยูใ นระดับเฉลี่ยหรือสูง
กวาระดับเฉลี่ยเล็กนอย
เมื่อเลือ กพนัก งานที่เหมาะสมแล ว จะตองอธิบ ายเหตุผลที่ตอ งจับเวลาการทํา งานใหท ราบจนเปนที่
เขาใจ เพราะความไมเขาใจอาจทําใหคนงานทํางานในสภาพไมปกติ เชน ทําเร็วเกินไป หรือตั้งใจทํางานใหชาลง
เพื่อใหมาตรฐานต่ําลง

2.6 การแบงงานออกเปนงานยอย
การแบงงานออกเปนงานยอย คือ การแบงสวนประกอบของการทํางานในรอบงานหนึ่งๆ
มีการแสดงรายละเอียดของการปฏิบัติงานเปนองคประกอบยอยของงาน

2.6.1 การแบงงานออกเปนงานยอยมีประโยชนดังนี้
1. สามารถนําคาเวลาที่จับไดในแตละงานยอยไปเปรียบเทียบกับเวลาที่ใชไ ปในการทํางาน
ยอยอื่นๆที่มีลักษณะการทํางานคลายกัน
2. สามารถกําหนดสมรรถนะการทํางานของคนงานในแตละงานยอยได ซึ่ง จะทําใหการหา
สมรรถนะการทํางานรวมถูกตองยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีผลใหเวลามาตรฐานที่ไดถูกตองยิ่งขึ้น
3. การวิเคราะหการทํางานที่แบงออกเปนงานยอย อาจชวยทําใหเห็นความบกพรองหรือ
ขอผิดพลาดในการทํางาน
4. สามารถหาเวลามาตรฐานของแตละงานยอยได ซึ่งเวลาของงานยอยนี้เมื่อรวมเขาดวยกัน
แลวก็คือเวลามาตรฐานของการทํางานทั้งหมดนั่นเอง

2.6.2 หลักเกณฑในการแบงงานออกเปนงานยอยมีดังนี้
1. แยกงานที่คนเปนผูควบคุมออกจากงานที่เครื่องจักรควบคุมใหชัดเจน การศึกษาเวลา
เปนการศึกษาบทบาทของคน จึงตองแยกศึกษางานดวยวิธีที่ตางกัน
2. แยกงานที่เกิดประจําออกจากงานที่ทําเปนครั้งคราวใหชัดเจน งานที่ทําเปนประจําเปน
งานที่เกิดขึ้นทุกๆรอบการทํางาน สวนงานที่เ กิดขึ้น เปนครั้งคราวนั้น ไมไดเกิดขึ้นทุกๆรอบการทํางานงานที่ทํา
เปนครั้งคราวนี้จะแยกจับเวลาตางหากแลวนํามาเฉลี่ยรวมเขาในภายหลัง
3. แยกงานที่ไมจําเปน ซึ่งงานที่ไมจําเปนคือ ความลาชาตางๆที่เกิดขึ้น จากความผิดพลาด
ในขณะทํางาน จึงจําเปนตองแยกความลาชาออกจากงานปกติ
10

4. เวลาของงานยอยแตละงานควรสั้น แตไมสั้นเกินไปจนจับเวลาไมทัน เวลาของงานยอย


ควรอยูระหวาง0.04 นาที จนถึง 0.03 นาที ถาเวลาของงานยอยสั้นเกินไปใหรวมงานยอยที่ตอกันหลายๆ งาน
เขาดวยกันจนกินเวลาพอที่จะจับเวลาไดทัน งานยอยแตละงานตองมีจุดเริ่มตนและ จุดสิ้นสุดที่เห็นชัดเจน
5. งานยอยแตละงานตองเปนงานยอยที่แนนอน ซึ่งจะทําใหเปรียบเทียบผลไดงาย และหาก
มีขอมูลมากๆครั้ง จะทําใหสามารถตั้งเวลามาตรฐานของแตละงานยอยได

2.7 การจับเวลาทํางานแตละงานยอย
เมื่อแบงงานออกเปนงานยอยไดแลว ก็เริ่มทําการจับเวลาของแตละงานยอย การจับเวลาที่นิยมใชกัน
มีอยู 2 วิธีคือ
1. การจับเวลาแบบตอเนื่อง (Continuous Timing) ผูวิเคราะหจะเริ่มจับเวลาเมื่องานยอยแรกเริ่ม
ขึ้น แลวปลอยใหนาฬิกาจับเวลาเดินไปเรื่อย ๆ เมื่อสิ้นสุดงานยอยที่ 1 ก็อานและบันทึกคาเวลาจากนาฬิกาอีก
เวลาที่บันทึกนี้จะตอเนื่องกันไปเรื่อย ๆ เปนเวลาสะสม ถาจะหาเวลาของแตละงานยอย ก็นํามาหักลบกันอีกที
หนึ่ง
2. การจับเวลาแบบเข็มดีดกลับ (Snapback Timing หรือ Repetitive Timing)เปนการจับเวลาของ
แตละงานยอยเลย โดยผูวิเคราะหจะเริ่มจับเวลาเมื่องานยอยแรกเริ่มขึ้นเมื่อสิ้นสุดงานยอยที่ 1 ก็อานคาเวลา
และจดบันทึกลงในแบบฟอรมบันทึกเวลา ในขณะที่อานคาเสร็จก็กดปุมบังคับการทํางานของนาฬิกาใหเข็มดีด
กลับไปที่ 0 จนกระทั่งเสร็จงานยอยที่ 2 จึงอานคาเวลา, บันทึก และตั้งเข็มไปที่ 0 ใหม การจับเวลาแบบนี้
ทําใหไดคาเวลาที่ใชจริงของแตละงานยอยเลยโดยไมตองทําการหักลบภายหลัง โดยวิธีนี้ขณะที่อานคาเวลาแลว
กดปุมใหเข็มดีดกลับนั้นคนงานก็ทํางานยอยตอไปอยางตอเนื่องอาจทําใหเวลาที่ไดคลาดเคลื่อนเล็กนอย
หลังจากไดเวลาของงานยอยแลว สามารถหาคาเฉลี่ย (Average Time หรือบางครั้งเรียกวา Selected
Time) ของแตละงานยอยและงานทั้งหมดได โดยการใชคาเฉลี่ยเลขคณิต
ถาให
S Te = เวลาเฉลี่ยของงานยอย
N = จํานวนงานยอยทั้งหมด
n = จํานวนรอบที่จับเวลาทั้งหมด
E Ti = เวลาของงานยอยรอบที่ 1
จะได
S Te = n

 i
i 1 n
……….(2. 1)

เวลาเฉลี่ยของงานทั้งหมด
S Tt = n

i 1
STe ……….(2.2)
11

2.8 การกําหนดจํานวนครั้งที่ตองจับเวลา
การบันทึกเวลาขั้นตนดัง ที่ไดกลาวมานั้น ถือไดวาเป นกระบวนการเก็บตัวอยางทางสถิติ (Sampling
Process) ยิ่งจํานวนครั้งที่จับเวลามากเทาไร ยิ่งมีความเชื่อถือไดของขอมูลมากยิ่งขึ้น ถาเวลาของงานยอยใดมี
ความผันแปร (Varience) มาก ยิ่งตองจับเวลาหลาย ๆ ครั้งเพื่อที่จะใหไดผลที่แมนยํา ปญหาจึงมีอยูวาถา
ตองการระดับความเชื่อถือไดหรือความแมนยําที่ตองการควรจะตองจับเวลาทั้งหมดกี่ครั้ง
ในการทํางานแตละงานยอยของคนงาน จะใชเวลาไมเทากันทุกครั้ง ในการทํางานมากครั้งถือไดวา
ขอมูลมีการกระจายแบบปกติ (Normal Distribution) ถาเวลาของการทํางานมีการกระจายที่มีคาเฉลี่ย (Mean)
เทากับ  และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน  คาทั้งสองนี้ไดจากการจับเวลา nครั้ง
ซึ่งแตละครั้งไดเวลา xi ดังนั้น
n
xi
 =  ni 1
…………….(2.3)
n

 x  
2
i
 = i 1
…………….(2.4)
n
เนื่องจากเปนการเก็บตัวอยาง คาเบี่ยงเบนมาตรฐานจึงเปนคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอยางแทน
ดวย  x

x = …………….(2.5)
n
การกําหนดขนาดของตัวอยาง ผูวเิ คราะหตองกําหนดวาตองการ ระดับความเชื่อมั่น (Confidence
Level) แคไหน และความคลาดเคลื่อน (Precision) เทาใด ตัวอยางเชนตองการระดับความเชื่อมั่น 95.5%
และความคลาดเคลื่อน 0.05  (คาต่ําสุด 0.95  และสูงสุด1.05 ) และที่ระดับความเชื่อมั่น 95.5%
คาของ x จะอยูระหวาง  - 2  x กับ  +2  x แสดงดังรูปที่ 2.1
เนื่องจากชวงทั้งสองเทียบเทากัน ดังนั้น
2 x = 0.05 

2 = 0.05 
n
2  2
n = ( ) …………….(2.6)
0.05 
k = ตัวประกอบของระดับความเชื่อมั่น

s = ความคลาดเคลื่อน
k 2
n = ( ) …………….(2.7)
s 
12

รูปที่ 2.1 กราฟแสดงการกระจายแบบปกติที่ระดับความเชื่อมั่น 95.5%

แทนคา

n = …………….(2.8)

เมื่อ
n = จํานวนครั้งในการจับเวลาตัวอยาง
n = จํานวนครั้งที่ตองจับเวลา (เพื่อใหไดชวงความเชื่อมั่น
และความคลาดเคลื่อนที่กําหนด
k = ตัวประกอบของระดับความเชื่อมั่น

ตารางที่ 2.1 แสดงตัวประกอบของความเชื่อมั่นที่นิยม

ระดับความเชื่อมั่น (%) คา k


68.3 1
95.5 2
99.7 3
13

2.9 การประเมินประสิทธิภาพในการทํางาน
หลังจากจับเวลา และคํานวณเวลาเฉลี่ยที่ใชในการทํางานแลว ขั้นตอนตอไปคือการหาประสิทธิภาพใน
การทํางานของพนักงาน ในทางทฤษฎีแลว การเลือกพนักงานที่เปนตัวอยางในการจับเวลานั้น วิธีที่ดีที่สุดควร
เลือกพนักงานที่มีทักษะในการทํางานอยูในเกณฑเฉลี่ย และใชความพยายามในการทํางานพอประมาณเมื่อเทียบ
กับพนักงานทั้งหมด และทํางานดวยวิธีมาตรฐานที่กําหนด ควรจะเปนพนักงานที่มปี ระสิทธิภาพในการทํางาน
100% แตในทางปฏิบัติแลว การเลือกพนักงานดังกลาวทําไดยาก เนื่องจากความสามารถในการทํางานของ
พนักงานแตละคนก็แตกตางกันไปขึ้นอยูกับความชํานาญและ สภาพการทํางาน ดังนั้นในการจับเวลาการทํางาน
ของพนักงานแตละครั้งจะตองมีการประเมินอัตราการทํางานของพนักงานในขณะนั้นเพื่อใชเปนคาปรับเวลาที่ได
ใหเปนเวลาในภาวะปกติ ระบบในการประเมินประสิทธิภาพไดถูกพัฒนาขึน้ มาหลายระบบที่เปนที่นิยมใช ดังนี้

2.9.1 ระบบ Skill and Effort Rating


การคํ า นวณหาเวลามาตรฐานได ร วมเอาค า อั ต ราของทั ก ษะและความพยายามเข า ไป
เกี่ยวของรวมทั้งใหเ วลาเผื่อของการพักใหหายเหนื่อยดวย โดยใชคาคะแนน 60 สํ าหรับการทํางานที่เป น
มาตรฐาน นั่นคือ ถาพนักงานทํางานที่ความเร็วปกติก็ใหคะแนน 60 Bs ใน 1 ชั่วโมง หากทํางานเร็วขึ้นก็อาจให
คะแนน 70 Bs ถึง 80 Bs

2.9.2 ระบบของ Westing House


เปนระบบที่นํามาใชโดยยึดปจจัยสําคัญที่มีผลตอการทํางาน 4 ประการ คือ
1. ทักษะ (Skill) คือ ความสามารถในการทํางานตามวีที่กําหนดให
2. ความพยายาม (Effort) คือ ความพยายาม ความตั้งใจที่จะทํางาน
3. ความสม่ําเสมอ (Consistency)คือความสม่ําเสมอในการใชเวลาในการทํางานแตละรอบ
4. สภาพแวดลอมในการทํางาน (Conditions) คือ สิ่งอยูรอบๆที่ทํางานที่มีผลตอการ
ทํางาน เชน ความรอน แสงสวาง ความชื้น เสียง เปนตน
คาคะแนนของปจจัยทั้ง 4 นี้ถูกกําหนดเอาไวแลว ในขณะบันทึกเวลาการทํางาน ก็จะประเมินคา
คะแนนของปจจัยเหลานี้ดวย คาคะแนนที่กําหนดแสดงในตาราง 2.2

2.9.3 ระบบ Effort Rating


เปนระบบที่ยึดความพยายามเปนหลัก ผูที่ทํางานไดเร็วถือเปนผูมีประสิทธิภาพสูง กอนอื่นผู
วิเคราะหตองกําหนดความเร็วปกติกอน ซึ่งความเร็วปกติกําหนดจากการเคลื่อนไหวของการแจกไพ 52 ใบ
ออกเปน 4 กอง ใหไดในเวลาครึง่ นาที หรือ เทากับความเร็วในการเดิน 4.4 ฟุตตอนาที
14

ตาราง 2.2 ตารางแสดงคาการใหคะแนนแบบ Westing House

Skill Effort
+0.15 A1 Superskill +0.13 A1 Superskill
+0.13 A2 +0.12 A2
+0.11 B1 Excellent +0.10 B1 Excellent
+0.08 B2 +0.08 B2
+0.06 C1 Good +0.05 C1 Good
+0.03 C2 +0.02 C2
0.00 D Average +0.00 D Average
-0.05 E1 Fair -0.04 E1 Fair
-0.10 E2 -0.08 E2
-0.16 F1 poor -0.12 F1 poor
-0.22 F2 -0.17 F2
Conditions Consistency
+0.06 A Ideal +0.04 A Ideal
+0.04 B Excellent +0.03 B Excellent
+0.02 C Good +0.01 C Good
0.00 D Average 0.00 D Average
-0.03 E Fair -0.02 E Fair
-0.07 F Poor -0.04 F Poor

2.9.4 ระบบ Objective Rating


แบงการประเมินเปน 2 ขั้นตอน คือ
1. การประเมินประสิทธิภาพเฉพาะความเร็วในการทํางานของพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ
ความเร็วปกติโดยไมมีการปรับคาคะแนน เรียกวา Observed Pace
2. ทําการปรับประสิทธิภาพ โดยการพิจารณาความยากของงานในดานตางๆ 6 ดาน คือ
- การใชสวนตางๆของรางกาย
- การใชแปนเหยียบ
- การใชมือทั้ง 2 ขาง
- การใชสายตาสอดคลองกับการใชมือ
- ความจําเปนในการขนยาย
- น้ําหนักที่ยก
สวนคาคะแนนที่ปรับแสดงในตาราง 2.3
15

ตารางที่ 2.3 ตารางแสดงคาคะแนนที่ปรับได

ลําดับที่ รายละเอียด เงื่อนไข คะแนนที่เพิ่ม


1. การใชสวนตางๆของ ใชนิ้ทํางานอยางสบาย 0
รางกาย ใชขอมือและนิ้วมือ 1
ใชขอศอกขอมือและนิ้วมือ 2
ใชแขน 5
ใชลําตัว 8
ใชเทายกของจากพื้น 10
2. การใชแปนเหยียบ ใชแปนเหยียบที่มีจุดหมุนนอกเทา 5
3. การใชมือทั้ง 2 ขาง มือทั้งสองขางทํางานพรอมกันเหมือนกันแต 18
แยกกัน
4. การใชสายตา ใชสายตาเล็กนอย 2
ดูตลอดเวลา 4
ดูอยางใกลชิด 7
ดูละเอียดมาก(มากกวา1/64) 10
5. การจับตอง ถือ 1
จับแบบกด 2
ถืออยางระมัดระวัง 3
ของแตกงายที่ตองระวัง 5
6. น้ําหนัก ยกของ 1 ปอนด 2
ยกของ 10 ปอนด 22
ยกของ 20 ปอนด 37
ยกของ 30 ปอนด 47
ยกของ 50 ปอนด 82

2.10 การคํานวณหาคาเวลาปกติ(Determining The Normal Time)


หลังจากการทราบเวลาเฉลี่ยในการทํางานทราบประสิทธิภาพในการทํางานแลวขั้นตอไปคือ
การคํานวณหาคาเวลาปกติของแตละงานยอย โดยสมการ
Normal Time = Select time x Rating Factor …………….(2.9)
โดยที่ Normal Time = เวลาปกติ
Select time = เวลาเฉลี่ยของงานยอย
Rating Factor = ประสิทธิภาพการทํางาน
16

2.11 การประมาณคาเวลาลดหยอน(Determining Allowances Time)


ในการทํางานใดๆก็ตามแมวาจะผานการออกแบบวิธีก ารทํางานใหดีที่สุดแตพนักงานกยังเกิดความ
เมื่อยลาและความเครียดขึ้นได นอกจากนี้ยังตองการเวลาในการทําธุระสวนตัวเชนดื่มน้ํา,ไปหองน้ํา เปนตน
การหาเวลาปกติขางตนไมไดรวมเวลาลดหยอนไวดวยกอนที่จะหาเวลามาตรฐานของการทํางานนั้น
ตองบวกเวลาลดหยอนใหกับเวลาปกติกอนซึ่งเวลาลดหยอนนี้แบงออกไดเปน
1. ความลดหยอนลาชา (Delay Allowances)
ความลดหยอนลาชา แบงออกไดเปน 2 แบบ คือ
1.1 แบบหลีกเลี่ยงไมได ( Unavoidable Delay) อาจเกิดไดทุกขณะและไมสามารถคาด
เดาได เชน เครื่องจักรเสีย วัสดุเสื่อมสภาพ พนักงานเกิดความไมพรอมฉับพลัน หรืออุปสรรคบางอยางเปนตน
1.2 แบบหลีกเลี่ยงได (Avoidable Delay)มักเกิดจากการทํางาน เชนการปรับเครื่องจักร
การทําความสะอาด หรือ การเปลี่ยนเครื่องมือ เปนตน ความลาชาประเภทนี้จะไมเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นไดนอยมาก
หากมีการลําดับการทํางานใหดี หรือนําอุปกรณพิเศษมาชวยในการทํางาน
2. ความลดหยอนสวนตัว (Personal allowances) เกิดจากความตองการของพนักงาน เชนตองการ
หยุดพัก การไปหองน้ํา การดื่มน้ํา เปนตน สภาพการทํางานของแตละอยางเปนสาเหตุของการใชเวลาสวนตัวไม
เหมือนกัน เชน การทํางานในหองปรับอากาศอาจจะไมดื่มน้ําบอยแตไปหองน้ําบอย งานที่ใชกําลังมากและงาน
ในสถานที่ทํางานที่รอนอาจตองดืม่ น้ําบอยการพิจารณาใหเวลาลดหยอนนี้ตองพิจารณาสภาพการทํางาน
ประกอบโดยทั่วไปแลวเวลาลดหยอนสวนตัวจะคิดใหประมาณ 2-5 % ตอการทํางาน 8 ชั่วโมง หรือประมาณ
10-24 นาที แตในงานที่คอนขางหนักหรืองานที่รอนอาจเพิ่มใหมากกวา 5 % ก็ได
3. ความลดหยอนเนื่องจากการเมื่อยลา (Fatigue Allowances) เมื่อพนักงานทํางานหนัก หรือ
ทํางานภายใตสภาวะที่มีความรอนสูง ความชื้น ฝุนละออง เสียงอึกทึกตางๆ จะทําใหพนักงานเกิดความเครียด
รางกายเกิดความเมื่อยลาและตองการพักผอนใหรางกายคืนสูสภาพปกติดังนั้นจึงจําเปนตองมีเวลาลดหยอน
เนื่องจากความเมื่อยลาเวลาลดหยอนประเภทนี้จะขึ้นอยูกับลักษณะของงานความแข็งแรงของพนักงาน
ระยะเวลาในการทํางาน และสภาพแวดลอมในการทํางาน

2.12 การคํานวณหาคาเวลามาตรฐาน
หลังจากทราบคาเวลาปกติ และ เวลาลดหยอนแลว สามารถคํานวณคาเวลามาตรฐานของการทํางาน
ไดโดย
Std = NT + A(NT) …………….(2.10)
= NT × (1+ A)
เมื่อ
Std = เวลามาตรฐาน
NT = เวลาปกติ
A = เวลาลดหยอน
17

2.12.1 ขั้นตอนหลักในการปรับปรุงพัฒนาของการศึกษางาน
แบงไดเปน 4 ขั้นหลัก คือ
1. การพัฒนาวิธีการที่เหมาะสม ที่นาจะเปน สําหรับการทํางานหนึ่งๆ ออกแบบวิธีการ
ทํางาน Method design
- การวิเคราะหและพัฒนาการเคลื่อนไหว การไหลที่มีประสิทธิภาพ
- ประเมินวิธีการนั้น evaluation
2. การสรางมาตรฐานการทํางาน
- เขียนมาตรฐาน/คูมือการปฏิบัติงาน Work Instruction- WI ,
Work Standard- WS
3. การศึกษาเวลาเพื่อหาเวลามาตรฐานของการทํางานนั้น
- จับเวลาโดยตรง การสุมงาน ฯลฯ
4. การฝกอบรมพนักงาน เพื่อใหสามารถทํางานไดตามวิธีการใหม ดวยเวลามาตรฐาน

2.13 การวิเคราะหความแปรปรวนเมื่อจําแนกทางเดียว (One Way ANOVA)


สมมติวาในการทดลองหนึ่งมีจํานวนระดับ (Level or Treatment) a ระดับในหนึ่ง ปจจัยที่ผูทําการ
ทดลองตองการที่จะเปรียบเทียบ คาตอบสนองที่วัดได (Observed Response) จากแตละ a ระดับเปนตัวแปร
สุม ลักษณะทั่วไปของขอมูล สําหรับทํา การทดลองในหนึ่งปจ จัยแสดงดังตารางที่ 2.4 คา ที่ใสลงไปในตาราง
2.4 (เชน yij ) แทนคาสังเกตตัวที่ j ที่วัดไดจากการทดลองในระดับที่ i ของปจจัยนั้น โดยทั่วไปแลว การ
ทดลองในระดับที่ i ของปจจัยนั้นจะมีคาซ้ํา n จํานวน การทดลองในแตละครั้งจะตองทําภายใตการสุมลําดับ
การทดลอง ดั ง นั้ น การทดลองนี้ จึ ง ถู ก เรี ย กว า แผนการทดลองแบบสุ ม อย า งสมบู ร ณ (Completely
Randomized Design, CRD)

ตารางที่ 2.4 ลักษณะทั่วไปของขอมูลสําหรับทําการทดลองในหนึ่งปจจัย

Level 1 2 3 … n Totals Average


1 y11 y12 y13 … y1n y1 y1*
2 y21 y22 y23 … y2 n y2 y 2*

a ya1 ya 2 ya 3 … yan ya ya
y.. y..

รูปแบบทางสถิติ (Statistical Model)


แผนการทดลองแบบสุมอยางสมบูรณสามารถแสดงในรูปแบบคณิตศาสตรไดดังนี้
yij     i   ij , i  1,2,..., a j  1,2,..., n
18

โดย yij เปนคาสังเกตตัวที่ j ที่วัดไดจากการทดลองในระดับที่ i ของปจจัยนั้น  เปนคาเฉลี่ยของค า


สังเกตทั้ง หมด (Overali Mean)  i เปนผลกระทบเนื่องจากความแตกตางของระดับ (Treatment Effect)
โดยสามารถแสดงความสัมพันธรวมกับคาเฉลี่ยของคาสังเกตในแตละระดับ i (the mean of the /th factor
treatment or level)
 i     i , i  1,2,..., a
และแสดงดังรูป ที่ 2.2  y เป นคา ความคลาดเคลื่อนสุมที่เปน ผลจากการทดลอง โดยมีการกระจายแบบ
ปกติดวยคาเฉลี่ยเปนศูนยและคาความแปรปรวนเปน  2 ซึ่งแสดงไดดังนี้
 ij ~ NID (0,  2 ),
โดย NID ยอจาก Normally and Independently Distributed
คาอื่น ๆ ที่ปรากฎในตารางที่ 2.4 สามารถแสดงในรูปคณิตศาสตรไดดังนี้
n
yi   yij , i  1,2,3,...a
j 1

y
j 1
ij

yi  i  1,2,3,...a
n
a n

 y
j 1 j 1
ij

y .. 
N
โดย N = an ซึ่งเปนคาสังเกตทั้งหมด
ความสัมพันธระหวาง  และ i
จากรูปแบบ One Way ANOVA
yij     i   ij , i  1,2,..., a j  1,2,..., n
และจาก
 i  i  
ถา i  1; 1  1   ……….(1)
ถา i  2; 2   2   ……….(2)
และถา i  a; a   a   …….(a)
(1) + (2) + ... + (a) จะได
a a

 i   i  a
i 1 i 1

นั่นคือ
a a

  i   i
 i 1 i 1

a
19

รูปที่ 2.2 ความสัมพันธระหวางคาเฉลี่ยของคาสังเกตทั้งหมด คาเฉลี่ยของคาสังเกตในแตละระดับ


และผลกระทบเนื่องจากความแตกตางของระดับ

จากรูปที่ 2.2 จะทําใหไดขอตกลงดังนี้


a


i 1
i 0

โดย
 i  i  
นั่นคือ สามารถตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) ในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของคา
สังเกตในแตละระดับ (Test of the difference of the a treatment means) ไดดังนี้
H 0 : 1   2  ...   a หรือ
H 0 :  1   2  ...   a  0
H 1 :  i   j , for at least one pair (i, j) หรือ
H 1 :  i  0, for at least one pair i
จากรูปที่ 2.1 ถา  i  0 นั่น คือ H 0 เปนจริง แสดงให เห็นวา ผลกระทบเนื่ องจากความ
แตกตางของระดับหรือ Treatment Effect (  i ) ไมมผี ลตอผลตอบสนอง (Response) ของระบบ
20

2.14 ตรรกของการวิเคราะหความแปรปรวน (Logic of Analysis of Variance)


เราสามารถทําการศึกษาการวิเคราะหความแปรปรวนโดยใชหลักการ
- เปรียบเทียบความแปรปรวน (Variance) ภายในแตละระดับ (Within each treatment)
- เปรียบเทียบความแปรปรวน (Variance) ระหวางแตละระดับ (Between each treatment)
ANOVA ใชหลักการในการแยกสวนของความแปรปรวน (The Total Corrected Sum of Squares) นั่นคือ
a n
SST   ( yij  y..) 2
i 1 j 1

 
a n 2

  ( y i  y..)  ( y ij  y i )
i 1 j 1

เนื่องจาก (a  b) 2  a 2  b 2  2ab ดังนั้น

 
a n 2

SST   ( y i  y..)  ( y ij  y i )
i 1 j 1

 
a n
  ( y i  y..) 2  ( y ij  y i ) 2  2( y i  y..)( y ij  y i )
i 1 j 1
a n a n a n
  ( y i  y..) 2   ( yij  y i ) 2  2 ( y i  y..)( yij  y i )
i 1 j 1 i 1 j 1 i 1 j 1

a a n a n
 n ( y i  y..) 2   ( yij  y i ) 2  2 ( y i  y..)( yij  y i )
i 1 i 1 j 1 i 1 j 1

ขอสังเกต พจนสุดทายใหผลลัพธเปนศูนย เนื่องจาก


n

(y
j 1
ij  y i )  y i  n y i  y i  n( y i / n)  0

ดังนั้น จะได
a a n
SST  n ( y i  y..) 2   ( yij  y i ) 2
i 1 i 1 j 1

ตรรก (logic) ของการแยกสวนของความแปรปรวน แสดงใหเห็นวา


a a n
SST  n ( y i  y..) 2   ( yij  y i ) 2
i 1 i 1 j 1

Between Within

each treatment each treatment


นั่นคือ
SST  SS 'Treatments  SS Error
โดยที่
SST มี N คาสังเกตของขอมูล (Observations) และมี d.f. = N - 1
21

SStreatments มี a ระดับ (Levels) และมี d.f. = a – 1


SStreatments เรียกวา Sum of Squares due to Treatment (Between Treatments)
SSerror มี n ซ้าํ (Replicates) และมี d.f. = (n -1) a
= an – a = N - a
ขอสังเกต ถาหาร SST ดวย d.f. = N – 1 จะไดความแปรปรวนของตัวอยาง (Sample Variance)
SS T
N 1
โดยที่ N = an
SSTreatments a
( y  y..) 2
 MSTreatments  n i เปน Mean Squares due to Treatments
a 1 i 1 a 1

 y 
a n
2
ij  yi
SS Error i 1 j 1
 MS E  เปน Mean Squares due to Error
N a N a

E ( MS E )   2 , MS E เปนตัวกะประมาณของ  2
a
n i2
E ( MS Treatments )   2  i 1

a 1
MSTreatments ยังเปนตัวกะประมาณของ  2

หมายเหตุ : การพิสูจน E ( MS E )   2 และ E ( MS Treatments )   2  ni 1 i2 /(a  1) สามารถ


a

ศึกษารายละเอียดไดจาก อเนก (2540) และ Montgomery (2001a)


ถาหากคาเฉลี่ ยของคา สัง เกตในแตละระดับ (Treatment Means) มีความแตกต าง จะเห็น วา
E ( MS Treatments ) มีค ามากกว า  2 ถาไมมีค วามแตกตา ง แสดงว า  i  0 เพราะฉะนั้น แนวคิดที่ ว า
MSTreatments
สามารถนําไปทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis) วามีความแตกตางของคาเฉลี่ยของคาสัง เกตใน
MS Error
แตละระดับ (Treatment Means) หรือไม โดยใช F-test

2.15 การทดสอบสมมติฐานของการวิเคราะหความแปรปรวน (Formal test of ANOVA)


1. ตั้งสมมติฐาน (Hypothesis)
H 0 : 1   2  ...   a หรือ
H 0 :  1   2  ...  a 0
H 1 :  i   j , for at least one pair (i, j) หรือ
H 1 :  i  0 for at least one pair i
22

2. คํานวนคาสถิติ (Test Statistic)


MSTreatments SSTreatments / a  1
F0  
MS Error SS Error / N  a
3. หาคาวิกฤติ (Critical Value)

รูปที่ 2.3 แสดงคาวิกฤติที่เกิดขึ้น

4. เปรียบเทียบคาสถิติและคาวิกฤติ (Reject Region)


ถา F0  F ,a1, N a จะทําใหปฏิเสธ H0

2.16 สูตรคํานวณ (Computation Formula)


การวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance, ANOVA) สามารถใชหลักการดังกลาวขางตน
เพื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยของคาสังเกตในแตละระดับ สูตรที่ใชคํานวณสามารถแสดงไดดังนี้
จาก Total Sum of Squares
a n
y..2
SST    yij2 
i 1 j 1 N
Sum of Squares due to Treatments
1 a 2 y..2
SS 'Treatments   yi  N
n i 1
และ Sum of Squares due to Error
SS Error  SS T  SS Treatments
จะไดตารางการวิเคราะหความแปรปรวน ดังตาราง 2.5
23

ตารางที่ 2.5 ตารางการวิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA Table)

Source of Sum of squares Degree of Mean squares F0


variation
(SOV) (SS) freedom (d.f.) (MS)
Between SSTreatments a-1 SS Treatments MSTreatments
 MSTreatments
treatments a 1 MS Error
Error within SSError N-a SS Error
 MS Error
treatment N a
Total SSTotal N-1

2.17 กรณีที่เปนขอมูลไมสมดุล (Unbalanced Data)


ในการทดลองแบบป จ จัย เดี ยว จํ า นวนคา สั งเกตในแตล ะระดั บอาจมี จํ า นวนไม เ ทา กั น ตาราง
วิเคราะหความแปรปรวนขางตนสามารถนํามาใชไดโดยทําการปรับปรุงเล็กนอย ให n1 เปนจํานวนของคา

a
สังเกตในแตละระดับ และ N = i 1 1
n สูตรที่ใชคํานวณสามารถแสดงไดดังนี้
a n
y..2
SST    yij2 
i 1 j 1 N

2.18 การใช P-Value ในการทดสอบสมมติฐาน


วิธีการของ P-Value ไดถูกนํามาใชอยางมากเพื่อหลีกเลี่ยงความยุงยากที่คํากลาวสรุปมักจะไม
เพียงพอ เพราะไมไดบอกใหผูตัดสินใจรูวาคาทดสอบทางสถิติที่คํานวณไดตกอยูที่ใดบนพื้นที่วิกฤต
P-Value คือความนาจะเปนที่คาทดสอบทางสถิติจะมีคาเปนอยางนอยที่จะทําใหคานี้มีคามากเทากับคาสังเกต
ในทางสถิติเมื่อสมมติฐานหลักเปนจริง ดังนั้น P-Value นี้จะแสดงถึงน้ําหนักของหลักฐานที่จะใชในการปฏิเสธ
H0 และผูตัดสินใจสามารถสรางขอสรุปที่ระดับนัยสําคัญอื่นๆได นอกจากนี้เรายังสามารถนิยาม P-Valueวาเปน
เหมือนกับคาที่นอยที่สุดของระดับนัยสําคัญซึ่งนําไปสูการปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0 ก็ได
ปกติแลวเรานิยมที่จะบอกวาคาทดสอบทางสถิติมีนัยสําคัญก็ตอเมื่อ สมมติฐานหลัก H0 ถูกปฏิเสธ
ดังนั้นเราอาจจะพิจารณาคา P-Value วาเปนคา α ที่นอยที่สุดซึ่งทําใหขอมูลมีนัยสําคัญ เมื่อรูคา P-Value
แลว ผูตัดสินใจก็สามารถทราบวาขอมูลมีนัยสําคัญอยางไร โดยไมตองอาศัยการวิเคราะหขอมูลซึ่งมีการกําหนด
ระดับนัยสําคัญไวกอน
24

การคํานวณหา P-Value ที่แมนยําไมใชสิ่งที่ทําไดงายนัก แตโปรแกรมทางสถิติใหมๆ ก็จะมีคานีแ้ สดง


ไว หรือแมแตในเครื่องคํานวณแบบที่สามารถพกพาได ในที่นี้เราจะแสดงวิธีการคํานวณหา P-Value

2.19 การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple Comparisons)


หลังจากทําการวิเคราะหทางสถิตโิ ดยใชวิเคราะหทางสถิติโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวน
(ANOVA) และสรุปผลวาคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ (Treatment means) แตกตางกันนั่นคือ ระดับ
ของปจจัยมีผลกระทบตอผลตอบสนอง (Response) ซึ่งจําเปนตองทดสอบตอไปวา คาเฉลี่ยของขอมูลของ
ระดับคูใดมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของขอมูลของระดับเปนคู (Comparing Pairs of Treatment Means)
โดยใชวิธี The Least Significant Difference Method (LSD) เราสามารถทําการทดสอบความแตกตางของ
คาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับเปนคู โดยใช T-test ซึ่งคาสถิติ (Statistic) คือ

yi  y j
t0  , i  j
1 1 
MS E   
n n 
 i j 

สมมติวา เปนการทดสอบแบบ Two-Sided Alternative คูของคาเฉลี่ย i และ  j จะแตกตางกัน


1 1 1 1
อยางมีนับสําคัญ ถาหากวา y i  y j  t a MS E (  ) คา t a MS E (  )
2
, N a ni n j 2
, N  a ni n j
หรือคา LSD (Least Significant Difference) คือความแตกตางอยางมีนัยสําคัญที่นอยที่สุดที่จะทําใหปฏิเสธ
H 0 ถาจํานวนขอมูลในแตละระดับมีจํานวนเทากัน (Balance Design) นั่นคือ
2MS E
n1  n2  ...  na  n คา LSD จะเปน t a ถา y i  y j  LSD จะปฏิเสธ (reject
2
, N a n
H0) และสรุปวาคูของ i และ  j แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
ขอเสียเปรียบของการทดสอบแบบนี้คือ ทําให Type I Error () มีคาสูงขึ้น บางครั้ง เมื่อทําการ
วิเคราะห F-test โดย ANOVA ใหผลทดสอบแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ แตเมื่อทดสอบโดย LSD
ปรากฎวาไมมีคูใดที่ใหผลแตกตางอยางมีนัยสําคัญ
วิธี LSD
2MS E
LSD = ta
2
, N a n
25

2(8.06)
= t 0.025, 255  3.75
5
หาความแตกตางของคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ ถา y i  y j  LSD จะปฏิเสธ
H 0 : i   j i j หาคาตาง ๆ สามารถแสดงไดดังตาราง

ตารางที่ 2.6 แสดงความแตกตางของคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ

i VS j i  j y i  y j  LSD
1 VS 2 9.8  15.4 = -5.6*
1 VS 3 9.8  17.6 = -7.8*
1 VS 4 9.8  21.6 = -11.8*
1 VS 5 9.8  10.8 = -1.00
2 VS 3 15.4  17.6 = -2.20
2 VS 4 15.4  21.6 = -6.2*
2 VS 5 15.4  10.8 = 4.6*
23 VS 4 17.6 – 21.6 = -4.0*
3 VS 5 17.6 – 10.8 = 6.80*
4 VS 5 21.6 – 10.8 = 10.8*

หมายเหตุ *หมายถึงคาเฉลี่ยคูนั้นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (Significant Difference)

การแสดงผลการทดสอบสามารถทําไดโดยการเรียงลําดับคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ
(Treatment Means) ตามลําดับจากนอยไปมาก ถาคูใดไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ จะขีดเสนใต
ดังนี้

y1 y5 y2 y3 y4
9.8 10.8 15.4 17.6 21.6
26

2.20 สรุป
ในการหาเวลามาตรฐานนั้นใชการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา การวิเคราะหกระบวนการผลิต การ
เลือกคนงานที่เหมาะสม การแบงงานออกเปนงานยอย การจับเวลาทํางานแตละงานยอย การกําหนดจํานวนครั้ง
ที่ตองจับเวลา การประเมินประสิทธิภาพในการทํางาน การคํานวณหาคาเวลาปกติ การประมาณคาเวลา
ลดหยอนชวยในการคํานวณเพื่อใหคาที่ออกมามีความแมนยํา นาเชื่อถือ และรวดเร็ว ซึ่งรายละเอียดของการ
จับเวลาและการหาเวลามาตรฐานแสดงในบทที่ 5 และภาคผนวก
สําหรับทฤษฎี ANOVA นั้นใชทดสอบสมมติฐานจากขอมูลเวลาที่จับมาได เพื่อใชในการวิเคราะห
กระบวนการทํางานของคนและเครื่องจักร และเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงกระบวนการทํางานในแผนกนั้นๆ
ดวย ซึ่งรายละเอียดของการทดสอบ ANOVA แสดงไวในบทที่ 6
บทที่ 3
ประวัติ และขอมูลทั่วไปของบริษัทอินเตอรไกรจํากัด

3.1 ประวัติความเปนมา
บริษัทอินเตอรไกรจํากัดกอตั้งโรงงานเมื่อปพ.ศ.2528 ที่ถนนกลางเมือง อ.เมือง จ. ขอนแกน มีคนงาน
ทั้งหมด 15 คน ซึ่งขณะนั้นเปนการทอผา เพียงอยางเดียว หลังจากป พ.ศ. 2530 จึงไดเริ่มทําการผลิตพรม ครั้ง
แรกผลิต เพื่อตลาดภายในประเทศจากนั้นไดมีการขยายกําลังการผลิตจนสามารถสงออกตางประเทศเรื่อยมาจนถึง
ปจจุบัน
โดยไดทําการกอสรางโรงงานแหงใหมเมื่อป พ.ศ. 2533 ตั้งอยูที่ เลขที่ 194 หมู 1 ตําบลเมืองเพีย
หางจาก อ. ชนบทเพียง 3 กม. บนที่ดิน 54 ไร ดังรูปที่ 3.1 และขยายโรงงานป พ.ศ. 2541 มีการนําเครื่องจักร
จากตางประเทศเขามา เพื่อรองรับการผลิตซึ่งมีการขยายตัวทางธุรกิจอยางตอเนื่อง และจดทะเบียนบริษัทใหม
เพิ่มขึ้นภายใตชื่อ บริษัท คารเปท เมกเกอร (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อรองรับตลาดตางประเทศ ในการทําธุรกิจ
การผลิตพรมสงออกตางประเทศ 100% ภายใตการสงเสริมการลงทุนของ BOI ซึ่งสามารถสรางยอดขายเปน
รายไดถึง 80% ของรายไดทั้งหมด มีการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการครั้งใหญ โดยบริษัท อินเตอรไกร จํากัด
ผลิตพรมทอเครื่อง และ บริษัท คารเปท เมกเกอร (ประเทศไทย) จํากัด ผลิตพรมทอมือเนนยอดขายทั้งในและ
ตางประเทศ ดวยความใสใจในคุณภาพและสงเสริมวิชาการความรูและเทคโนโลยีใหมๆ ใหแกบุคลากร พรอมทั้ง
พัฒนาทั้งรูปแบบผลิตภัณฑ ใหทันสมัยตลอดเวลา โดยมีอัตรากําลังการผลิตพรมทอมือ 42,000 ตารางเมตรตอป
และพรมทอเครื่อง 24,000 ตารางเมตรตอป
บริษัทอินเตอรไกรจํากัดไดใชวัตถุดิบในการผลิตพรม โดยการสั่งซื้อมาจากแหลงตางๆ ทั้งในประเทศและ
ตางประเทศ ไดแก ขนแกะจากประเทศนิวซีแลนด สวนไหมฟูลี่ ไหมรามี และเสนไหมซื้อในประเทศ
ผลิตภัณฑในบริษัทนี้ ไดแก
1. พรมทอมือ
2. พรมทอเครื่อง
ในปจจุบันบริษัทมีคนงานประมาณ 614 คน มีเครื่องจักรและอุปกรณการผลิตที่สําคัญ ไดแก เครื่อง
ยอมไหม เครื่องสลัดน้ํา เครื่องกรอ/รวบ/แบง/ตีไจ เครื่องเชียรริ่งแกะลาย จักรทอและจักรใหญ สวนการผลิตนั้น
มีการผลิตตามความตองการของลูกคา พนักงานสวนใหญเปนคนในทองถิ่น การศึกษาไมสูงมากนัก ในการผลิต
พรมตองใช ความประณีต ความชํานาญ และประสบการณในการทํางาน

3.2 โครงสรางการบริหารงานของโรงงาน
ทําการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการครั้งใหญ โดยบริษัท อินเตอรไกร จํากัด ผลิตพรมทอเครื่อง และ
บริษัท คารเปท เมกเกอร (ประเทศไทย) จํากัด ผลิตพรมทอมือเนนยอดขายทั้งในและตางประเทศ ดวยความใสใจ
28

รูปที่ 3.1 แผนที่โรงงาน


29

ในคุณภาพและสงเสริมวิชาการความรูและเทคโนโลยีใหมๆ ใหแกบุคลากร พรอมทั้งพัฒนาทั้งรูปแบบผลิตภัณฑ ให


ทันสมัยตลอดเวลา โดยเลือกสรรแตวัตถุดิบที่ดีมีคุณภาพเปนที่ยอมรับระดับสากล เชน ขนแกะจากประเทศ New
Zealand เปนตน
โรงงานประกอบดวยหนวยงานทีต่ องทํางานที่มีความสัมพันธดว ยกันหลายฝายจึงแบงการทําการออกเปน
แผนกตางๆ เพื่องายตอการบริหารจัดการ ดังแสดงในรูปที่ 3.2

3.3 แหลง และวัตถุดิบที่ใชในการผลิต


วัตถุดิบที่ใชในอุตสาหกรรมการผลิตพรม โดยสวนใหญมาจากสัตว ไหมธรรมชาติ และไหมสังเคราะห
ซึ่งไดแก ขนแกะ ไหมฟูลี่ ไหมรามี และเสนไหม โดยขนแกะสั่งซื้อมาจากประเทศนิวซีแลนดเนื่องจากเปนขน
แกะที่มีคุณภาพสูงที่สุด สวนไหมชนิดอื่นๆ สั่งซื้อมาจากในประเทศ

3.4 ผังโรงงาน
บริษัทอินเตอรไกรจํากัด ปจจุบันตั้งอยูที่ เลขที่ 194 หมู 1 ตําบลเมืองเพีย หางจาก อ. ชนบทเพียง 3
กม. บนที่ดิน 54 ไร ซึ่งพื้นที่ภายในโรงงานแบงเปนอาคารตามแผนกที่ใชในกระบวนการผลิต สวนแผนกที่ทาง
กลุมไดเขาไปศึกษา คือ แผนกเลยกาว และแผนกกรอไหม ดังรูปที่ 3.3

3.5 กระบวนการผลิต
ในกระบวนการผลิตพรมนั้นมี 11 ขั้นตอนในกระบวนการผลิตซึง่ มีรายละเอียด ดังรูปที่ 3.4
1. รับคําสั่ง เริ่มจากการรับใบคําสั่งมาจากลูกคา และทางบริษัทจะทําใบเสนอราคาและชนิดของวัตถุดิบที่
ใชในการผลิตใหแกลูกคาเพื่อตกลงราคาและคุณลักษณะตางๆ ของสินคาที่ลูกคาตองการ
2. การวางแผนและจัดเตรียมวัตถุดิบเมื่อตกลงเสร็จแลวก็ทําการวางแผนและจัดเตรียมวัตถุดิบตามที่ได
ตกลงไว โดยเลือกชนิดไหมและทําการยอมสีไหมซึ่งในการยอมสีไหมนี้จะมีสอง แบบ คือยอมโดยใชเครื่องจักรที่
แบงเปนหลายเครื่องตามน้ําหนักของไหม และยอมโดยคนซึ่งไหมที่ยอมโดยวิธีนี้คือไหมธรรมชาติ ดังรูปที่ 3.5
3. การออกแบบถอดลาย ขั้นตอนนี้จะทําการออกแบบถอดลายโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพือ่ ทําการ
เขียนแบบลงบนผา ดังรูปที่ 3.6
4. ขึ้นจอวาดลาย หลังจากทําการออกแบบถอดลายแลว นําไปสูกระบวนขึ้นจอเพื่อทําการวาดลายลงบน
ผาโดยกระบวนการนี้ตองใชพนักงานที่มีฝมือ ทักษะ ความชํานาญ ความประณีต และประสบการณในการทํางานสูง
5. ทอพรม หลังจากทําการวาดจอขึ้นลายเสร็จแลวก็เขาสูกระบวนการทอพรม การทอพรมมีทั้งการทอ
ดวยเครื่องจักรและทอดวยแรงงานคน แตสวนมากจะเปนการทอดวนแรงงานคน ลักษณะของการทอมีอยูสองแบบ
คือ การทอแบบที่เรียกวา การทอแบบ CUT และการทอแบบ LOOP ดังรูปที่ 3.7
6. เลยกาวการนํากาวมาทาดานหลังเพื่อกันไมใหไหมหลุดออกจากกัน จากนั้นทิ้งไวหนึ่งคืนเพื่อใหกาว
แหง หรือถาเปนงานที่ตองสงใหทันกับความตองการของลูกคาจะทําใหพรมแหงดวยเครื่องจักรที่เรียกวา เครื่องอิน
ฟาเรด เมื่อกาวแหงสนิทก็นําไปตกแตงใหเรียบรอย ดังรูปที่ 3.8
ผังโครงสรางบริษัท คารเปท เมกเกอร (ประเทศไทย) จํากัด

คณะกรรมการบริษัท

กรรมการผูจัดการ

สุนทร ไกรตระกูล

ที่ปรึกษา

Advisor

รองกรรมการผูจัดการ

สายัณห ไวรางกูร

ฝายขายและการตลาดต างประเทศ ฝายจัดเตรียมวัตถุดิบ ฝายบริหารการผลิต ฝายผลิต ฝายบัญชีและการเงิน ฝายเทคโนโลยีและสารสนเทศองคกร ฝายบริหารองคกร

จิรวัฒน ศรีละเอียด สมชาย วุฒิวราภรณ ดุลยรัชต สุขบุญญสถิ ตย สายั ณห ไวรางกูร

แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภั ณฑ แผนกการตลาดตางประเทศ แผนกประกันคุณภาพ แผนกบริหารไหม แผนกจัดซื้อ แผนกผลิต แผนกบัญชี สํานักขอมูลและการวิเคราะหธุรกิจ สํานักกรรมการผูจัดการ

สุนทร ไกรตระกูล (รก.) ทวีศักดิ์ ทวีรุงศรีทรัพย * ที่ปรีกษา นันทมนัส แทงทอง พรพิมล สาระตุย ชัชวาล ขันติวรางกูร พีระวรรณ อนุชน สมชาย วุฒิวราภรณ สายั ณห ไวรางกูร (รก.) ยลดา ไพรปรีชา

แผนกออกแบบ แผนกขายตางประเทศ สวนประกันคุณภาพ แผนกยอม แผนกวางแผนการผลิต สวนบริหารงานผลิต แผนกการเงิน แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนกบริหารทรัพยากรมนุษย

ประพันธ เพิ่มพูล จิรวัฒน ศรีละเอียด วิทยา สงเสริม พีระวรรณ อนุชน สมศิริ เทียนถวาย ดุลยรัชต สุขบุญญสถิ ตย พิมพกมล จุลบาท

สวนกลาง สวนตัวอยางทอมือ แผนกคลังวัตถุดิบ แผนกเทคนิดการผลิต สวนวาดลาย แผนกคลังสินคาสําเร็จรูป แผนกบริหารทั่วไป


จิรวัฒน ศรีละเอียด ชัชวาล ขันติวรางกูร วิทยา สงเสริม ครรชิต ทาจิตร สายั ณห ไวรางกูร (รก.)

สวน SAT A1 แผนกนําเขาและจัดสง สวนกรอไหมและจัดเตรียมวัตถุดิบ สวนบริหารทั่วไป

เพ็ญจันทร ใหมวงษ ธีระ จูตะวิริยะสกุล นอย มัวทองหลาง ภาสกร สุขเกษม

สวน SAT A2 สวนทอมือ สวนวิศวกรรมซอมบํารุง

กนกกาญจน เลิศวิชากุล นอย มัวทองหลาง ธงชัย ลอมทอง

รูปที่ 3.2 แผนผังการบริหาร


สวน SAT A3 สวน B-TUFT

เพชรสุดา เอี่ยมละออ รุงระวี ลุนพุฒิ

สวน SAT A4 สวนทอเครื่อง

เพชรรัตน จันทะลือ เล็ก ตี๋ภิญโญ

สวน T 1 สวนพิมพลาย (CP+ADP)

จิรวัฒน ศรีละเอียด เล็ก ตี๋ภิญโญ

สวน T 2 สวน Hook Rug

จิรวัฒน ศรีละเอียด เล็ก ตี๋ภิญโญ

สวนเลยกาว

กรานต หนันทุม

สวนเชียริ่ง

จรรยา แสงสุทธิ

สวนซอมบํารุง(ปน+อุปกรณ)

กรานต หนันทุม
30
31

เลยกาว

กรอไหม

รูปที่ 3.3 แผนผังโรงงาน


32

กระบวนการผลิตพรม

รูปที่ 3.4 แสดงกระบวนการผลิตพรม


33

รูปที่ 3.5 ทดสอบสีกอนการยอม

รูปที่ 3.6 การออกแบบถอดลาย

รูปที่ 3.7 การทอพรม


34

รูปที่ 3.8 การเลยกาว

7. พับขอบ พรมที่ผานกระบวนการเลยกาวแลวตองนํามาพับขอบเพื่อปองกันไหมเกิดการหลุดลุย
8. เชียและตัดแตงหนาพรม ทําการเชียและตัดแตงเพื่อใหไดลวดลายตามที่ลูกคาตองการ และทําการ
ตรวจสอบคุณภาพของพรมที่ทําการผลิตเพื่อใหสินคาที่มีคุณภาพ ดังรูปที่ 3.9

รูปที่ 3.9 การเชียและตัดแตงหนาพรม

9. แกะลายและตกแตงลายทําการแกะลายและตกแตงเพื่อใหพรมที่ออกมามีความสวยงามดังรูปที่ 3.10
10. บรรจุหีบหอ หลังจากทําการผลิตและตรวจสอบคุณภาพของพรมเรียบรอยแลวจะทําการบรรจุหีบหอ
เพื่อรอการสงมอบ ดังรูปที่ 3.11
11. สงมอบ ทําการสงมอบสินคาไปยังลูกคาตามที่ไดทําการตกลงไว
35

รูปที่ 3.10 การแกะและตกแตงลาย

ดังรูปที่ 3.11 การบรรจุหีบหอ

3.6 สรุป
ในบทนี้จะกลาวถึงรายละเอียดตางๆของโรงงานที่กําลังทําการศึกษา ทั้งประวัติความเปนมาของโรงงาน
โครงสรางการบริหารงานของโรงงานที่มีการปรับปรุงระบบใหม แหลงและวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิตพรม
สวนกระบวนการผลิตพรมจะมีภาพและขั้นตอนในการผลิตอยางละเอียด รวมทั้งบอกถึงวิธีการในการขนถายวัสดุใน
โรงงาน
บทที่ 4
การประยุกตใชการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาในโรงงาน

4.1 การศึกษาขอมูลทั่วไป
การศึกษาขอมูลทั่วไปเปนการศึกษาขั้นตอนแรกเพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับโรงงานและขอมูลเบื้องตน
ของขอบเขตในการทํางาน โดยวิธีการศึกษาคือ เขาไปในโรงงาน ทําการสอบถามขอขอมูลเอกสารตางๆ กับทาง
โรงงานโดยมีการจดบัน ทึกรายละเอียดต างๆเชน ประวัติ ความเปนมาแผนภูมิ องคกรกําลัง การผลิต ,วัต ถุดิ บ
เปนตน ดังกลาวมาแลวในบทที่ 3

4.2 การศึกษาการเคลื่อนไหว
ในสวนของการศึกษาการเคลื่อนไหว ทางกลุมไดเขาไปศึกษาในสวนของการผลิตพรมในแผนกเลย
กาวและแผนกกรอไหมโดยดําเนินการดังนี้
1. ขั้นแรกทางกลุมไดดําเนินการออกแบบเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลตางๆ ดังนี้ แบบฟอรมการ
ปฏิบัติงาน และ แบบฟอรมตารางการจับเวลาเบื้องตนซึ่งจะนําไปใชในการบันทึกขอมูลในสวนของการ
เคลื่อนไหวซึ่งตัวอยางของตารางมีลักษณะดังรูปที่ 4.1 แบบฟอรมการปฏิบัติงาน และ ตารางที่ 4.1 แบบฟอรม
ตารางการจับเวลาเบื้องตน ตามลําดับ
2. เมื่อทําการออกแบบตารางตางๆ เรียบรอยแลว ทางกลุมจึงทําการติดตอทางโรงงานเพื่อเขาไป
ศึกษาถึงกระบวนการผลิตพรมหรือวิธีการผลิตพรมในแผนกเลยกาวและแผนกกรอไหมโดยละเอียดโดยขั้นตอน
การผลิตพรมในแผนกเลยกาวประกอบดวยขั้นตอนการตีบลอก คือ การนําเหล็กที่มีตะปู(ไมหนาม)มายึดไวกับ
พื้นเปนกรอบสี่เหลี่ยม ดังรูปที่ 4.2 ขั้นตอนการขึงพรม คือ การนําพรมที่จะทําการเลยกาวมาขึงใหตึง ดังรูปที่
4.3 ขั้นตอนการติดตาขาย ดังรูปที่ 4.4 และขั้นตอนการเลยกาวเพื่อปองกันไมใหเสนไหมที่ทอแลวหลุดออก
จากกัน ดังรูปที่ 4.5 สําหรับขั้นตอนการผลิตพรมในแผนกกรอไหมประกอบดวย ขั้นตอนการเอาไจใสกรง ดัง
รูปที่ 4.6 ขั้นตอนการกรอไหม ดังรูปที่ 4.7 และขั้นตอนการเปลี่ยนหลอด ดังรูปที่ 4.8
3. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาพิจารณาและทําการปรับปรุงวิธีการทํางาน
37

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่
หลังปรับปุ รง โดย
ชื่อกระบวนการผลิต
แผนก
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)

total

รูป ที่ 4.1 แบบฟอรมการปฏิบัติงาน


38

ตารางที่ 4.1 แบบฟอรมตารางการจับเวลาเบื้ องตน

OBSERVATION SHEET
Operation Date

Part name Observe by


Time(sec/m²/man)
ELEMENTS 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ∑Ti Avg.
39

กระบวนการในแผนกเลยกาว

รูปที่ 4.2 ขั้นตอนการตีบล็อก รูปที่ 4.3 ขั้นตอนการขึงพรม

รูปที่ 4.4 ขั้นตอนการติดตาขาย รูปที่ 4.5 ขั้นตอนการเลยกาว

กระบวนการในแผนกกรอไหม

รูปที่ 4.6 การเอาไจใสกรง รูปที่ 4.7 การกรอไหม


40

รูปที่ 4.8 ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอด

4.3 การศึกษาเวลาทางกลุมใชการศึกษาเวลาโดยตรง ( Stop Watch Method)


ขอดีของการศึกษาเวลาโดยตรง คือไดเห็นลักษณะ และขั้นตอนการทํางานโดยละเอียด ไดเวลา
ทํางานจริงและสามารถที่จะระบุถึงสิ่งที่ควรปรับปรุงในการทํางานได
การศึกษาเวลาในสวนของการดําเนินการมีดังนี้
1. ขั้นแรกทางกลุมไดออกแบบการจับเวลาเบื้องตน ตารางขอมูลเวลาเพื่อใชเก็บรวบรวมบันทึก
ขอมูล
2. เมื่อออกแบบตารางเสร็จเรียบรอยแลว จึงเขาไปจับเวลาเบื้องตนในโรงงาน โดยมีอุปกรณที่
สําคัญคือ นาฬิกาจับเวลา
3. จากนั้นนําขอมูลเวลาเบื้องตนมาคํานวณหาจํานวนครั้งที่จะตองจับเวลาเพื่อใหไดระดับความ
เชื่อมั่นตามตองการ
4. ทําการจับเวลาเพิ่มเพื่อใหครบตามจํานวนที่คํานวณไว
5. นําขอมูลที่ไดมาหาเวลาเฉลีย่
6. หาประสิทธิภาพของการทํางาน โดยใชวิธีของ Westing House
7. หาเวลาปกติ
8. หาเวลามาตรฐาน

4.4 สรุป
ในบทนี้จะเปนการศึกษาขอมูลทัว่ ไปเพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับโรงงานและขอมูลเบื้องตนของขอบเขต
ในการทํางาน การศึกษาการเคลื่อนไหวของการทํางาน ทางกลุม ไดเขาไปศึกษาในสวนของการผลิตพรมใน
แผนกเลยกาวและ กรอไหม และศึกษาเกี่ยวกับเวลาเพื่อนํามาใชในการหาเวลามาตรฐาน
บทที่ 5
ผลการศึกษาและอภิปรายผล

5.1 บทนํา
ในบทนี้จะเปนการแสดงขอมูลทั้งหมดที่ไดจากการศึกษาการเคลือ่ นไหวและเวลา ซึ่งจะแบงเปน สวน
ของขอมูลจากการศึกษาการเคลือ่ นไหวและขอมูลจากการศึกษาเวลา การหาเวลาปกติ การหาประสิทธิภาพการ
ทํางาน การหาเวลามาตรฐานในการปฏิบัติงานในแตละขั้นตอน สรุปสิ่งที่ไดทั้งหมดจากการคํานวณ

5.2 ขอมูลจากการศึกษาการเคลื่อนไหว
ขอมูล จากการศึก ษาการเคลื่ อนไหวในการผลิ ตพรมในแผนกเลย กาวและแผนกกรอไหมแสดงเปน
ขั้ น ตอนต า งๆตั้ ง แต ขั้ น ตอนแรกจนถึ ง ขั้ น ตอนสุ ด ท า ยในที่ นี้ จ ะกล า วถึ ง กระบวนการผลิ ต อย า งคร า วๆซึ่ ง
รายละเอียดกอนปรับปรุงจะแสดงในรูปของแผนภูมิกระบวนการผลิต แผนภูมิการปฏิบัติงานและแผนผัง สถานี
งานกอนการปรับปรุงขั้นตอนการทํางานเรียงลําดับดังนี้

5.2.1 การศึกษาการเคลื่อนไหวในการผลิตพรมในแผนกเลยกาว
1. ขั้นตอนการตีบล็อก คนงานที่ทําหนาที่ในการตีบล็อกนี้ เปนผูชายเนื่องจากตองใชแรง
มากในการตีตะปูและเจาะสวาน รายละเอียดแสดงในรูปที่ 5.1
2. ขั้นตอนการขึงพรม จะเริ่มทํา ไดก็ตอเมื่อขั้นตอนการตีบล็อกเสร็จ เปนขั้น ตอนการ
ทํางานที่ ใช คนงานในการทํา ตั้งแต 2 คนขึ้นไปเนื่อ งจากตอ งชว ยกันวัดขนาดและทํา งานให เสร็ จ
โดยเร็ว ซึ่ งในการขึ งพรมตอ งใชความชํา นาญและประสบการณ คอนมากเนื่อ งจากถ าขึ งพรมไม ตึง
พอจะทําใหการเลยกาวในขั้น ตอนต อไปไม ได คุณ ภาพเพราะกาวที่ ทําการเลย กาวไปกองอยูจุด ใดจุด
หนึ่งและอาจทําใหกาวทะลุออกมาที่ดานหนาของพรมไดซึ่งแบงความยากงายตามผาที่ใชรองทอ เชน
เสนสีเหลืองจะทํายาก สวนเสนสีเขียวจะทํางายกวา ดังแสดงในรูปที่ 5.2 และรูปที่ 5.3 ตามลําดับ
3. ขั้นตอนการติดตาขาย ทําการดูขนาดและวัดขนาดของตาขายใหไดขนาดตามตองการ
แลวตัดตาขายนํามาวางบนพรมหลังจากนั้นขึงตาขายใหตึงตามไมหนามเพื่อรอการเลยกาว ดังแสดง
ในรูปที่ 5.4
4. ขั้นตอนการเลยกาว เปนขั้นตอนสุดทายในแผนกนี้ ซึ่งในการเลยกาวนั้นจะตองเตรียม
กาวตามชนิดของวัตถุดิบที่ใชในการผลิตพรม และหลังจากที่เลยกาวเสร็จจะตองพักใหกาวแหง 1
คืน แตถาเปนงานเรงดวนจะทําใหแหงโดยการใชเครื่องอินฟาเรดซึ่งอาจทําใหคุณภาพของพรมลดลง
ได รายละเอียดแสดงในรูปที่ 5.5
42

5.2.2 การศึกษาการเคลื่อนไหวในการผลิตพรมในแผนกกรอไหม
1. ขั้นตอนการเอาไจใสกรง ทําการหยิบไจไหมที่ตองการแลวจัดไหมใหเขาที่ หลังจากนั้นทํา
การหยิบกรงเพื่อนําไหมใสกรงแลววางกรงลงบนเครื่องกรอไหมเพื่อทําการกรอตอไป รายละเอียด
แสดงในรูปที่ 5.6
2. ขั้นตอนการกรอไหม จะเริ่มจากการจับเสนไหมใสหัวกรอแลวทําการดันหัวล็อคเพื่อใหเสน
ไหมเขาไปในหัวกรอหลังจากนั้นจึงทําการกรอไหม รายละเอียดแสดงในรูปที่ 5.7
3. ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอด ดึงตัวล็อกออกเพื่อนําหลอดไหมออกและนําหลอดใหมใสแลวจึง
ดันตัวล็อกเขา รายละเอียดแสดงในรูปที่ 5.8

5.3 ขอมูลจากการศึกษาเวลา
จากการจับเวลาเบื้องตนทําใหไดคาในขั้นตอนตางๆที่ส นใจศึกษาซึ่งรวบรวมไวในตารางการจับเวลา
เบื้องตนทางกลุมไดนําขอมูลมาคํานวณหาจํานวนครั้งในการจับเวลาที่เหมาะสม ซึ่งในแผนกกรอไหมไมตองทํา
การจับเวลาเพิ่มเนื่องจากเวลาที่เก็บมาเพียงพอแลว สวนของแผนกเลยกาวตองจับเวลาเพิ่มในบางขั้น ตอน จึง
ไดทํ าการจับเวลาเพิ่มจนครบตามที่ไดคํานวณไวแล วนํ ามาคํานวณหาเวลามาตรฐานและแสดงในตารางขอมูล
เวลา ซึ่งประกอบไปดวย เวลาเบื้องตนเวลาที่จับเพิ่ม ประสิทธิภาพการทํางาน เวลาปกติ เวลามาตรฐาน

5.4 การหาเวลามาตรฐานของการทํางานในแตละขั้นตอน
จากการเก็บขอมูลในการทํางานแตละงานยอยของแตละขั้นตอนสามารถนํามาใชในการคํานวณหา
จํานวนครั้งในการจับเวลาที่เหมาะสม เวลาปกติ เวลาลดหยอน เพื่อนําคาตางๆที่ไดมาใชในการคํานวณหาเวลา
มาตรฐาน ไดดังนี้

5.4.1 การเลยกาว
วิธีการคํานวณหาจํานวนครั้งที่ตอ งจับเวลา โดยไดกําหนดเวลาลดหยอนคือ 5%
เนื่องจาก การปฏิบัติงานในขั้นตอนนี้ไมหนักมากและสวนมากจะมีแคความลดหยอนสวนตัว
ก. การตีบลอกขั้นตอน
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05)
จากการจับเวลาเบื้องตน 10 ครั้ง ( n' =10 ) ดังตารางที่ 5.1
งานยอยที่ 3 มีระดับพิสัยสูงสุด ดังนั้นจะใชงานยอยที่ 3 ในการหาจํานวนครั้งที่จะตองจับเวลา จะได
43

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 15 Aug 2007
หลังปรับปุ รง โดย สรารัตน
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก เลยกาว
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
6 ดูขนาดพื้นที่และเลือกทําเล
14 วัดขนาดพื้นที่
56 นําไมหนามมาวางเป นกรอบ
6 นําเหล็กครอบมาครอบ
28 ใชสวานเจาะรู
40 ใสบุกเพื่อตอกตะปู

150 4 1 1 total

รูปที่ 5.1 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการตีบลอก


44

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 15 Aug 2007
หลังปรับปุ รง โดย สรารัตน
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก เลยกาว
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
3 นําพรมมาวาง
50 วัดขนาด กวาง*ยาว และวัดขนาดเสนแทยงมุม
4 ขึงเชือก
11 ขึงพรม

68 3 1 total

รูปที่ 5.2 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการขึงพรม(เสนเหลือง)


45

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 8 Aug 2007
หลังปรับปุ รง โดย สรารัตน
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก เลยกาว
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
7 นําพรมมาวาง
12 วัดขนาด กวาง*ยาว และวัดขนาดเสนแทยงมุม
6 ขึงเชือก
17 ขึงพรม

42 3 1 total

รูปที่ 5.3 แผนภูมิกระบวนการผลิตของขั้นตอนการขึงพรม(เสนเขียว)


46

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 15 Aug 2007
หลังปรับปุ รง โดย สรารัตน
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก เลยกาว
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
6 ดูขนาดและวัดขนาดของตาขาย
3 ตัดตาขาย
6 นํามาวางบนพรม
35 ขึงตาขา ยใหตึงตามเหล็กหนาม

50 2 1 1 total

รูปที่ 5.4 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการติดตาขา ย


47

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 8 Aug 2007
หลังปรับปุ รง โดย สรารัตน
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก เลยกาว
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
3 เตรียมกาว
17 นํากาวไปไวในตําแหนงที่ตองการเลยกาว
29 เลยกาว

49 2 1 total

รูปที่ 5.5 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการเลยกาว


48

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 13 Nov 2007
หลังปรับปุ รง โดย พีรยา
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก กรอไหม
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
หยิบไจไหม
จัดไหม
หยิบกรง
นําไจไหมใสกรง
วางกรงลงบนเครื่องกรอไหม

รูปที่ 5.6 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการเอาใจไสกรง


49

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 13 Nov 2007
หลังปรับปุ รง โดย พลเพชร
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก กรอไหม
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
จับเสนไหมใสหัวกรอ
ดันตัวลอคใหเสนไหมเขาไปในหัวกรอ
กรอไหม

รูปที่ 5.7 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการกรอไหม


50

แผนภูมิกระบวนการผลิต
กอนปรับ ปรุง วันที่ 13 Nov 2007
หลังปรับปุ รง โดย พีรยา
ชื่อกระบวนการผลิต พรม
แผนก กรอไหม
DISTANCE TIME
SYMBOL PROCESS DESCRIPTION
(m.) (sec)
ดึงตัวลอคออก
นําหลอดไหมออก
นําหลอดใหมใส
ดันตัวลอคเขา

รูปที่ 5.8 แผนภูมิกระบวนการผลิตขั้นตอนการเปลีย่ นหลอด


51

ตารางที่ 5.1 ตารางขอมูลเวลาของกระบวนการตีบลอก

OBSERVATION SHEET
Operation ตีบลอก Date 4 Aug 2007

Part name พรม Observe by Peeraya


Time(sec/m²/man)
ELEMENTS 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ∑Ti Avg.
1.นําพรมมาวาง 1.78 2.13 2.42 2.53 3.12 1.98 3.21 3.01 2.44 2.61
2.วัดขนาดกวาง× ยาว,เสนแทยงมุม 4.34 4.76 5.01 5.11 5.65 4.33 5.87 5.34 4.88 4.91
3.ขึงเชือก 3.47 2.96 4.53 3.62 3.5 5.56 4.84 4.97 4.21 5.86
4.ขึงพรมใหขอบตรงตามเชือก 9.39 8.96 10.3 11.9 10.04 10.4 12.5 9.7 10.3 11.5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Average
เวลาที่ตองจับเพิ่ม
1 2.2 2.77 3.01 3.12 1.94 2.56 3.13 3.34 3.65 3.02 53.9 2.7
2 4.55 5.43 6.01 4.45 4.86 5.8 5.98 4.56 4.87 3.99 100.7 5.04
3 4.34 4.23 3.96 3.34 3.15 4.41 3.95 4.56 5.31 4.67 85.4 4.27
4 9.23 11.5 10.6 10.3 12.1 10.7 9.78 10.3 11.4 13 213.9 10.7
52

ตารางที่ 5.2 ตารางขอมูลเวลาของกระบวนการขึงพรม ( เสนสีเหลือง )

OBSERVATION SHEET
Operation ขึงพรม ( เสนสีเหลือง ) Date 4 Aug 2007

Part name พรม Observe by Polphet


Time(sec/m²/man)
ELEMENTS 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ∑Ti Avg.
1.นําพรมมาวาง 6.78 4.13 5.19 7.64 6.07 9.97 7.42 6.47 8.17 6.89
2.วัดขนาดกวาง× ยาว,เสนแทยงมุม 10.6 11.68 11 10.4 14 12.5 9.26 12.7 13.3 12.4
3.ขึงเชือก 5.47 4.84 8.53 5.62 6.5 5.56 4.84 7.97 4.21 6.86
4.ขึงพรมใหขอบตรงตามเชือก 18.4 17.7 16.3 16.9 13.04 18.4 16.5 16.7 15.3 15.5

1 2 3 4 5 6 7 Average
เวลาที่ตองจับเพิ่ม
1 6.2 5.97 5.38 6.33 6.54 5.89 5.77 110.8 6.53
2 11.4 12.7 12 14.2 10.2 11.3 14.5 204.4 12
3 5.23 4.55 5.96 6.86 7.23 8.32 6.54 105.1 6.18
4 17.3 14.1 13.6 16.5 15.3 18 17.2 276.6 16.27
53

ตารางที่ 5.3 ตารางขอมูลเวลาของกระบวนการขึงพรม ( เสนเขียว )

OBSERVATION SHEET
Operation ขึงพรม (เสนเขียว ) Date 4 Aug 2007

Part name พรม Observe by Polphet


Time(sec/m²/man)
ELEMENTS 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ∑Ti Avg.
1.นําพรมมาวาง 1.78 2.13 2.42 2.53 3.12 1.98 3.21 3.01 2.44 2.61
2.วัดขนาดกวาง× ยาว,เสนแทยงมุม 4.34 4.76 5.01 5.11 5.65 4.33 5.87 5.34 4.88 4.91
3.ขึงเชือก 3.47 2.96 4.53 3.62 3.5 5.56 4.84 4.97 4.21 5.86
4.ขึงพรมใหขอบตรงตามเชือก 9.39 8.96 10.3 11.9 10.04 10.4 12.5 9.7 10.3 11.5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Average
เวลาที่ตองจับเพิ่ม
1 2.2 2.77 3.01 3.12 1.94 2.56 3.13 3.34 3.65 3.02 53.9 2.7
2 4.55 5.43 6.01 4.45 4.86 5.8 5.98 4.56 4.87 3.99 100.7 5.04
3 4.34 4.23 3.96 3.34 3.15 4.41 3.95 4.56 5.31 4.67 85.4 4.27
4 9.23 11.5 10.6 10.3 12.1 10.7 9.78 10.3 11.4 13 213.9 10.7
54

ตารางที่ 5.4 ตารางขอมูลเวลาของกระบวนการติดตาขาย

OBSERVATION SHEET
Operation ติดตาขาย Date 4 Aug 2007

Part name พรม Observe by peeraya


Time(sec/m²/man)
ELEMENTS 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ∑Ti Avg.
1. ดูขนาดและวัดขนาดของตาขาย 5.46 5.76 6.34 5.88 4.67 7.12 5.87 6.54 5.95 6.02 59.61 5.96
2. ตัดตาขาย 2.34 2.54 2.12 3.12 2.45 2.56 3.41 3.56 2.87 2.34 27.31 2.73
3. นํามาวางบนพรม 5.32 6.45 5.67 7.21 4.27 5.97 6.67 6.19 4.01 5.34 57.1 5.71
4. ขึงตาขายใหตึงตามเหล็กหนาม 31 31.6 40.2 35.4 36.00 37.2 34.5 32.7 32.5 34.4 345.5 34.55
55

ตารางที่ 5.5 ตารางขอมูลเวลาของกระบวนการเลยกาว

OBSERVATION SHEET
Operation เลยกาว Date 4 Aug 2007

Part name พรม Observe by peeraya


Time(sec/m²/man)
ELEMENTS 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ∑Ti Avg.
1.นําพรมมาวาง 6.78 4.13 5.19 7.64 6.07 9.97 7.42 6.47 8.17 6.89
2.วัดขนาดกวาง× ยาว,เสนแทยงมุม 10.6 11.68 11 10.4 14 12.5 9.26 12.7 13.3 12.4
3.ขึงเชือก 5.47 4.84 8.53 5.62 6.5 5.56 4.84 7.97 4.21 6.86
4.ขึงพรมใหขอบตรงตามเชือก 18.4 17.7 16.3 16.9 13.04 18.4 16.5 16.7 15.3 15.5

1 2 3 4 5 6 7 Average
เวลาที่ตองจับเพิ่ม
1 6.2 5.97 5.38 6.33 6.54 5.89 5.77 110.8 6.53
2 11.4 12.7 12 14.2 10.2 11.3 14.5 204.4 12
3 5.23 4.55 5.96 6.86 7.23 8.32 6.54 105.1 6.18
4 17.3 14.1 13.6 16.5 15.3 18 17.2 276.6 16.27
56

2
i = 554 i = 31069.66
( i )2 = 306916
จากสมการ 2.8

จากการจับเพิ่มอีก 10 ครั้ง เมื่อรวมกับคาเบื้องตนจะไดวางานยอยที่ 3 มีระดับพิสัยสูงสุด หาจํานวน


ครั้งที่ตองจับเวลาจะได
2
i = 1107 i = 61788.81

( i )2 = 1225449 ’ = 20
เมื่อแทนคาในสมการที่ 2.8 จะได = 13.48 (ประมาณ 14 ครั้ง) < ’ แสดงวาจํานวนครั้งที่จับ
เพียงพอแลว
หาประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Excellent Skill B1 = +0.11
Fair Effort E1 = -0.04
Avg. Condition D = 0.00
Avg. Consistency D = 0.00
รวม = +0.07
ประสิทธิภาพ = 1.07
หาเวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 295.36 × 1.07
= 316.04 วินาที
เวลาลดหยอน
A = 5%
หาเวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 316.04(1+0.05)
= 331.84 วินาที/คน/ตารางเมตร
57

ข. ขั้นตอนขึงพรม (เสนเหลือง)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 10 ครั้ง ( n' =10 ) ดังตารางที่ 5.2
งานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด ดังนั้นจะใชงานยอยที่ 4 ในการหาจํานวนครั้งที่จะตองจับเวลา
จะได
2
i = 164.6 i = 2737.23
( i )2 = 27093.16
จากสมการ 2.8

7 ครั้ง
จากการจับเพิ่มอีก 7 ครั้ง เมื่อรวมกับคาเบื้องตนจะไดวางานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด หาจํานวน
ครั้งที่ตองจับเวลาจะได
2
i = 276.60 i = 4546.83

( i )2 = 76507.56 ’ = 17
เมื่อแทนคาในสมการที่ 2.8 จะได = 16.49 (ประมาณ 17 ครั้ง) < ’ แสดงวาจํานวนครั้งที่
จับเพียงพอแลว
หาประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Excellent Skill B1 = +0.11
Good Effort E1 = +0.02
Avg Condition D = 0.00
Good Consistency D = +0.01
รวม = +0.14
ประสิทธิภาพ = 1.14
หาเวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 40.98 × 1.14
= 46.72 วินาที
เวลาลดหยอน
A = 5%
หาเวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
58

= 46.72(1+0.05)
= 49.06 วินาที/คน/ตารางเมตร

ค. ขั้นตอนขึงพรม (เสนเขียว)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 10 ครั้ง ( n' =10 ) ดังตารางที่ 5.3
งานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด ดังนั้นจะใชงานยอยที่ 4 ในการหาจํานวนครั้งที่จะตองจับเวลา
จะได
2
i = 104.9 i = 1113.80

( i )2 = 11004.01
จากสมการ 2.8

10 ครั้ง
จากการจับเพิ่มอีก 10 ครั้ง เมื่อรวมกับคาเบื้องตนจะไดวางานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด หาจํานวน
ครั้งที่ตองจับเวลาจะได
2
i = 214 i = 2311.29

( i )2 = 45796 ’ = 20
เมื่อแทนคาในสมการที่ 2.8 จะได = 15.02 (ประมาณ 16 ครั้ง) < ’ แสดงวาจํานวนครั้งที่
จับเพียงพอแลว
หาประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Excellent Skill B1 = +0.11
Good Effort C2 = +0.02
Avg Condition D = 0.00
Good Consistency D = 0.00
รวม = +0.13
ประสิทธิภาพ = 1.13
หาเวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 22.71 × 1.13
= 25.66 วินาที
59

เวลาลดหยอน
A = 5%
หาเวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 25.66(1+0.05)
= 26.94 วินาที/คน/ตารางเมตร

ง. ขั้นตอนการติดตาขาย
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 10 ครั้ง ( n' = 10) ดังตารางที่ 5.4
งานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด ดังนั้นจะใชงานยอยที่ 4 ในการหาจํานวนครั้งที่จะตองจับเวลา
จะได
2
i = 345.5 i = 12007.75
( i )2 = 119370.25
จากสมการ 2.8

หาประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Excellent Skill B2 = +0.08
Avg Effort D = 0.00
Avg Condition D = 0.00
Good Consistency C = +0.01
รวม = +0.09
ประสิทธิภาพ = 1.09
หาเวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 48.95× 1.09
NT = 53.36 วินาที
60

เวลาลดหยอน
A = 5%
หาเวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 53.36(1+0.05)
= 56.03 วินาที/คน/ตารางเมตร

จ. ขั้นตอนการเลยกาว
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 10 ครั้ง ( n' =10 ) ดังตารางที่ 5.5
งานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด ดังนั้นจะใชงานยอยที่ 3 ในการหาจํานวนครั้งที่จะตองจับเวลา
จะได
2
i = 301 i = 9158.12

( i )2 = 90601
จากสมการ 2.8

8 ครั้ง
จากการจับเพิ่มอีก 8 ครั้ง เมื่อรวมกับคาเบื้องตนจะไดวางานยอยที่ 4 มีระดับพิสัยสูงสุด หาจํานวน
ครั้งที่ตองจับเวลาจะได
2
i = 529.92 i = 15731.43

( i )2 = 280815.21 ’ = 18
เมื่อแทนคาในสมการที่ 2.8 จะได = 13.39 (ประมาณ 14 ครั้ง) < ’ แสดงวาจํานวนครั้งที่จับ
เพียงพอแลว
หาประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Excellent Skill B1 = +0.11
Avg Effort D = 0.00
Avg Condition D = 0.00
Good Consistency C = +0.01
รวม = +0.12
ประสิทธิภาพ = 1.12
61

หาเวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 49.48 × 1.12
= 55.42 วินาที
เวลาลดหยอน
A = 5%
หาเวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 55.42(1+0.05)
= 58.19 วินาที/คน/ตารางเมตร

5.4.2 การกรอไหม
วิธีการคํานวณหาจํานวนครั้งที่ตองจับเวลา โดยไดกําหนด เวลาลดหยอน 5% เนื่องจาก
การปฏิบัติงานในขั้นตอนนี้ไมหนักมากและสวนมากจะมีแคความลดหยอน สวนตัว
ก. ไหมชนิดขนสัตว(Wool)
ก.1 เอาไจใสกรง
จากการทดสอบ ANOVA TEST ของไหมชนิดขนสัตวในขั้นตอนการเอาไจใสกรง คา p-
value ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ทําใหคาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญ ( α=0.05 ) ดังตารางที่ จ.1 ดังนั้นเวลามาตรฐานของแตละเครื่องจักรจึงแตกตางกันทําใหตองมี
เวลามาตรฐานของแตละเครื่อง
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 (MC1)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ก.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 8.128 i = 2.22

( i )2 = 66.06
จากสมการ 2.8

= 13 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
62

ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.27 × 0.98
= 0.265 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.265 (1+0.11)
= 0.294 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ชนิดขนสัตว คือ 0.294
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 2 (MC2)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ข.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 7.57 i = 1.93

( i )2 = 57.30
จากสมการ 2.8

= 17 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
63

ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.25 × 0.98
= 0.245 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.245 (1+0.11)
= 0.272 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ชนิดขนสัตว คือ 0.272
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 3 (MC3)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ค.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 9.99 i = 3.34

( i )2 = 99.8
จากสมการ 2.8

= 6 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
64

ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.33 × 0.98
= 0.323 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.323 (1+0.11)
= 0.359 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 3 (MC3) ชนิดขนสัตว คือ 0.359
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 4 (MC4)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ง.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 6.45 i = 1.40

( i )2 = 41.60
จากสมการ 2.8

= 15 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
65

ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.22 × 0.98
= 0.216 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.216 (1+0.11)
= 0.240 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ชนิดขนสัตว คือ 0.240
นาที/เครื่อง/ไจ

ก.2 กรอไหม
จากการทดสอบ ANOVA TEST ของไหมชนิดขนสัตวในขั้นตอนการกรอไหม คา p-
value ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ทําใหคาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญ ( α=0.05 ) ดังตารางที่ จ.2 ดังนั้นเวลามาตรฐานของแตละเครื่องจักรจึง แตกตางกันทําใหตองมี
เวลามาตรฐานของแตละเครื่อง
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 (MC1)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครื่องจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ก.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i
i 1 n

= 220.26 / 30
66

S Te = 7.342 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ชนิดขนสัตว (wool) คือ 7.342
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 2 (MC2)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครื่องจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ข.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i

i 1 n

= 216.52 / 30
S Te = 7.217 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ชนิดขนสัตว คือ 7.217
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 3 (MC3)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครือ่ งจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ค.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i

i 1 n

= 183.66 / 30
S Te = 6.122 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 3 (MC3) ชนิดขนสัตว คือ 6.122นาที/
เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 4 (MC4)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครื่องจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ง.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i

i 1 n

= 155.84 / 30
S Te = 5.195 นาที/เครื่อง/ไจ
67

ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ชนิดขนสัตว คือ 5.195


นาที/เครื่อง/ไจ
ก.3 เปลี่ยนหลอดใหม
จากการทดสอบ ANOVA TEST ของไหมชนิดขนสัตวในขั้นตอนการกรอไหมคา p-value
ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ทําใหคาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
( α=0.05 ) ดังตารางที่ จ.3 ดังนั้นเวลามาตรฐานของแตละเครื่องจักรจึง แตกตางกันทําใหตองมีเวลา
มาตรฐานของแตละเครื่อง
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 (MC1)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ก.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 0.96 i = 0.0312

( i )2 = 0.92
จากสมการ 2.8

= 28 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.0312× 0.98
= 0.0306 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
68

เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.0306 (1+0.11)
= 0.034 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ชนิดขนสัตว (wool)
คือ 0.034 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 2 (MC2)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ข.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 0.97 i = 0.032

( i )2 = 0.941
จากสมการ 2.8

= 29 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.0319× 0.98
= 0.0313 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
69

= 0.0313 (1+0.11)
= 0.035 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ชนิดขนสัตว คือ
0.035 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 3 (MC3)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ค.1
การหาจํานวนครัง้ ที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 0.85 i = 0.0245

( i )2 = 0.7225
จากสมการ 2.8

= 28 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.028× 0.98
= 0.0274 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.0274 (1+0.11)
= 0.030 นาที/เครื่อง/ไจ
70

ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 3 (MC3) ชนิดขนสัตว คือ


0.030 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 4 (MC4)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ง.1
การหาจํานวนครัง้ ที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 0.95 i = 0.0305

( i )2 = 0.9025
จากสมการ 2.8

= 22 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.032× 0.98
= 0.0314 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.0314 (1+0.11)
= 0.035 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ชนิดขนสัตวคือ
0.035 นาที/เครื่อง/ไจ
71

ข. ไหมชนิด TV (Twisted Viscose)


ข.1 เอาไจใสกรง
จากการทดสอบ ANOVA TEST ของไหมชนิด TV ในขั้นตอนการกรอไหม คา p-value
ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ทําใหคาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องแตกตางกันอยาง
มีนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ดังตารางที่ จ.4 ดังนั้นเวลามาตรฐานของแตละเครื่องจักรจึงแตกตางกัน
ทําใหตองมีเวลามาตรฐานของแตละเครื่อง
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 (MC1)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ก.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 6.65 i = 1.48

( i )2 = 44.22
จากสมการ 2.8

= 7 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.222× 0.98
= 0.218 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
72

= 0.218 (1+0.11)
= 0.242 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ไหมชนิด TV คือ
0.242 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 2 (MC2)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ข.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 6.60 i = 1.46

( i )2 = 63.68
จากสมการ 2.8

= 9 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.22× 0.98
= 0.2156 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.2156 (1+0.11)
= 0.239 นาที/เครื่อง/ไจ
73

ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ไหมชนิด TV คือ


0.239 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 4 (MC4)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ง.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 8.93 i = 2.70

( i )2 = 79.74
จากสมการ 2.8

= 25 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.30× 0.98
= 0.294 นาที/เครื่อง/ไจ
เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.294 (1+0.11)
= 0.326 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ไหมชนิด TV คือ 0.326
นาที/เครื่อง/ไจ
74

ข.2 กรอไหม
จากการทดสอบ ANOVA TEST ของไหมชนิดขนสัตวในขั้นตอนการกรอไหม คา p-
value ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ทําใหคาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญ ( α=0.05 ) ดังตารางที่ จ.5 ดังนั้นเวลามาตรฐานของแตละเครื่องจักรจึง แตกตางกันทําใหตองมี
เวลามาตรฐานของแตละเครื่อง
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 (MC1)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครื่องจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ก.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i
i 1 n

= 191.17 / 30
S Te = 6.37 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ไหมชนิด TV คือ 6.37
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 2 (MC2)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครื่องจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ข.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i
i 1 n

= 189.18 / 30
S Te = 6.305 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ไหมชนิด TV คือ 6.305
นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 4 (MC4)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ใชเครื่องจักรในการทํางานจึงไมมีประสิทธิภาพการทํางานและเวลา
ลดหยอน สามารถหาเลามาตรฐานของการทํางานไดดังนี้ (ตารางที่ ง.1)
จากสมการ 2.1
S Te = n
i
i 1 n

= 135.84 / 30
75

S Te = 4.53 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ไหมชนิด TV (Twisted
Viscose)คือ 4.53 นาที/เครื่อง/ไจ

ข.3 เปลี่ยนหลอดใหม
จากการทดสอบ ANOVA TEST ของไหมชนิดขนสัตวในขั้นตอนการกรอไหม คา p-value
ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) ทําใหคาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
( α=0.05 ) ดังตารางที่ จ.6 ดังนั้นเวลามาตรฐานของแตละเครือ่ งจักรจึงแตกตางกันทําใหตองมีเวลา
มาตรฐานของแตละเครื่อง
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 (MC1)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ก.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 1.26 i = 0.0534

( i )2 = 1.5876
จากสมการ 2.8

= 15 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.042× 0.98
= 0.041 นาที/เครื่อง/ไจ
76

เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.041 (1+0.11)
= 0.046 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ไหมชนิด TV คือ
0.046 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 2 (MC2)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ข.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 1.45 i = 0.0705

( i )2 = 2.1025
จากสมการ 2.8

= 10 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.048× 0.98
= 0.047 นาที/เครื่อง/ไจ
77

เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.047 (1+0.11)
= 0.052 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ไหมชนิด TV คือ
0.052 นาที/เครื่อง/ไจ
เครื่องจักรเครื่องที่ 4 (MC4)
กําหนดระดับความเชื่อมั่น 95.5% ( k=2 )
ความคลาดเคลื่อน 5% ( s = 0.05 )
จากการจับเวลาเบื้องตน 30 ครั้ง ( n' = 30) ดังตารางที่ ง.1
การหาจํานวนครั้งที่เหมาะสมในการจับเวลา จะไดคาดังตอไปนี้
2
i = 0.0291 i = 0.93

( i )2 = 0.8649
จากสมการ 2.8

= 15 จึงไมตองจับเวลาเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางาน (RF)
Fair Skill E1 = -0.05
Average Effort D = +0.00
Good Condition C = +0.02
Good Consistency C = +0.01
รวม = -0.02
ประสิทธิภาพ = +0.98
เวลาปกติ
จากสมการ 2.1,2.2 และ สมการ 2.9 จะได
NT = STr × RF
NT = 0.031× 0.98
= 0.030 นาที/เครื่อง/ไจ
78

เวลาลดหยอน
A = 11%
เวลามาตรฐาน
Std = NT(1+A)
= 0.030 (1+0.11)
= 0.033 นาที/เครื่อง/ไจ
ดังนั้นเวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ไหมชนิด TV คือ
0.033 นาที/เครื่อง/ไจ

5.5 สรุป
สรุปเวลามาตรฐานของแผนกเลยกาว
เวลามาตรฐานของขบวนการผลิตพรมในแผนกเลยกาว เปนดังนี้
1. ขั้นตอนการตีบล็อก เวลามาตรฐาน 331.84 วินาที/คน/ตารางเมตร
2. ขั้นตอนการขึงพรม (สีเหลือง) เวลามาตรฐาน 49.06 วินาที/คน/ตารางเมตร
3. ขั้นตอนการขึงพรม (สีเขียว) เวลามาตรฐาน 26.94 วินาที/คน/ตารางเมตร
4. ขั้นตอนการติดตาขาย เวลามาตรฐาน 56.03 วินาที/คน/ตารางเมตร
5. ขั้นตอนการเลยกาว เวลามาตรฐาน 58.19 วินาที/คน/ตารางเมตร

ซึ่งเวลามาตรฐานของขบวนการผลิตพรมในแผนกเลยกาวรวมทัง้ สิ้น 552.06 วินาที/คน/ตาราง


เมตรหรือ 8.42 นาที/คน/ตารางเมตร

เวลามาตรฐานของขบวนการผลิตพรมในแผนกกรอไหม เปนดังนี้
1. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ชนิดขนสัตว คือ 0.294
นาที/เครื่อง/ไจ
2. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ชนิดขนสัตว คือ 0.272
นาที/เครื่อง/ไจ
3. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 3 (MC3) ชนิดขนสัตว คือ 0.359
นาที/เครื่อง/ไจ
3. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ชนิดขนสัตว คือ 0.24
นาที/เครื่อง/ไจ
4. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ชนิดขนสัตว คือ 7.34
นาที/เครื่อง/ไจ
79

6. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ชนิดขนสัตว คือ 7.22


นาที/เครื่อง/ไจ
7. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 3 (MC3) ชนิดขนสัตว คือ 6.12
นาที/เครื่อง/ไจ
8. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ชนิดขนสัตว คือ 5.19
นาที/เครื่อง/ไจ
9. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ชนิดขนสัตว คือ 0.034
นาที/เครื่อง/ไจ
10. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 2(MC2)ชนิดขนสัตว คือ 0.035
นาที/เครื่อง/ไจ
11. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 3(MC3) ชนิดขนสัตว คือ 0.030
นาที/เครื่อง/ไจ
12. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 3(MC3) ชนิดขนสัตว คือ 0.035
นาที/เครื่อง/ไจ
13. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ไหมชนิด TVคือ 0.242
นาที/เครื่อง/ไจ
14. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ไหมชนิด TVคือ 0.239
นาที/เครื่อง/ไจ
15. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเอาไจใสกรงในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ไหมชนิด TV คือ 0.326
นาที/เครื่อง/ไจ
16. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ไหมชนิด TV คือ 6.37
นาที/เครื่อง/ไจ
17. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ไหมชนิด TV คือ 6.305
นาที/เครื่อง/ไจ
18. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการกรอไหมเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ไหมชนิด TV คือ 4.53
นาที/เครื่อง/ไจ
19. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 1 (MC1) ไหมชนิด TV คือ 0.046
นาที/เครื่อง/ไจ
20. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 2 (MC2) ไหมชนิด TV คือ 0.052
นาที/เครื่อง/ไจ
21. เวลามาตรฐานของขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดใหมในเครื่องจักรที่ 4 (MC4) ไหมชนิด TV คือ 0.033
นาที/เครื่อง/ไจ
บทที่ 6
แนวทางการปรับปรุง

จากการศึก ษาและเก็บ ขอมูลในแผนกเลย กาวและกรอไหมของบริษัททํ าใหสัง เกตเห็น ขอ บกพรอ ง


บางอยางที่ควรทํา การปรับปรุงแก ไขในพนักงานสามารถปฏิบัติ งานได สะดวกและปลอดภัย ยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน ลดเวลาในการปฏิบัติงานของกระบวนการผลิตเพื่อใหผลิตภัณฑที่ออกมา
มีคุณภาพและเปนที่พึงพอใจของลูกคา

6.1 แนวทางการปรับปรุงการทํางานของแผนกเลยกาว
จากการสังเกตการณทํา งานและจับเวลาการทํางานของทั้งสองแผนกไดแก แผนกกรอไหมและแผนก
เลยกาว ทําใหไดเห็นการทํางานและทราบปญหาที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอนในบทนี้จึงไดทําการเปรียบเทียบการ
ทํา งานในปจจุบันและแนวทางการการปรับปรุงที่ไดทําการแสนอแนะเพื่อ ใหโรงงานใชเปนแนวทางในการ
ปรับปรุงการทํางานและลดเวลามาตรฐานตอไป ซึ่งแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการในการทํางานของแผนก
เลยกาวแสดงดังตารางที่ 6.1

6.2 แนวทางการปรับปรุงการทํางานของแผนกกรอไหม
6.2.1 การทดสอบดวยวิธี ANOVA
การทํางานในแผนกกรอไหมสวนใหญจะใชเ ครื่องทุนแรงชวยในการทํางานคือ เครื่องกรอ
ไหมที่มีความเร็วรอบแตกตางกัน จํานวน 4 เครื่อง ดังตารางที่ 6.2 ซึ่งทําใหเวลาที่ไดไ มเทากัน จึง ไดทําการ
จับเวลาและเก็บขอมูลจํานวนทั้งหมด 30 ชุดสําหรับเครื่องจักรหนึ่งเครื่องและไหมแตละชนิด เพื่อใหข อมูลมี
ความเพียงพอตอความตองการที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จากนั้นทําการปรับปรุงกระบวนการทํางานในแผนก
นี้โดยใชวิธี การวิ เคราะหความแปรปรวนเมื่อจํ าแนกทางเดียว(One Way ANOVA) เพื่ อใชในการทดสอบ
สมมติฐาน
1.ตั้งสมมติฐาน (Hypothesis)
H 0 : 1   2  ...   a
H 1 :  i   j , for at least one pair (i, j)
2. คํานวณคาสถิติ (Test Statistic)
MSTreatments SSTreatments / a  1
F0   =228.4
MS Error SS Error / N  a
81

ตารางที่ 6.1 แสดงแนวทางการปรับปรุงการทํางานแผนกเลยกาว

กอนการปรับปรุง แนวทางในการปรับปรุง

1 0-50 50-100

100-300

ทําปายบอกความยาวและสีของไมหนามแตละขนาดเพื่อให
งายตอการนําไมหนามไปใชงาน

การเก็บไมหนามจะวางคละกันทุกขนาดซึ่ง
ทําใหยากตอการใชงาน
100 c m

2 75 cm

40 cm

ทาสีที่ไมหนาม แบงตามชวงความยาวของไมหนามที่
แตกตางกัน เพื่อจะไดงายตอการมองเห็นและปองกันไม
หนามเกิดสนิมดวย
ไมหนามที่ใชไมมีการทาสีและเกิด
สนิมเกาะที่ตัวไมหนาม

3
ทําภาชนะบรรจุที่มีปริมาตรความจุเทากับความตองการใน
การเลยกาวตอตารางเมตร เพื่อใหการเลยกาวมี
ประสิทธิภาพสูงสุด

ใชถังในการตักกาวไปใชในการเลยกาว

เนื่องจากโรงงานมีมาตรฐานการใชกาวเปนปริมาตรกาวตอ
ตารางเมตรของแตละชนิดของไหมอยูแลว จึงไดเสนอวิธีนี้
เพื่อใชในการเพิ่มคุณภาพของพรมและลดเวลาที่เกิดจาก
การแกไขพรมที่ไมไดมาตรฐาน
82

ตารางที่ 6.2 แสดงความเร็วรอบของเครื่องจักรแตละเครื่อง

เครื่อง RPM Diameter (spindel) Speed


(mm) (M/Minute)
1 740 82.5 191.70
2 748 82.5 193.77
3 890 82.5 230.55
4 1060 82.5 274.59

3. หาคาวิกฤติ (Critical Value)

4. เปรียบเทียบคาสถิติและคาวิกฤติ (Reject Region)


ถา F0  F ,a1, N a = 2.98
จะทํา ให ปฏิเสธ H0 และสรุ ปได วาเครื่องจักรที่ความเร็ว รอบต างๆกั น มีผลกระทบตอเวลาใน
กระบวนการกรอไหม หมายเหตุ การวิเคราะห ความแปรปรวนสามารถคํานวณคาตา งๆได จาก Computer
Software เชน Microsofe Excel เปนตน ซึ่ง ผลการคํานวณคาตางๆจากโปรแกรมของไหมชนิดขนสัตวซึ่งแบง
ออกเปน 3 ขั้นตอนคือ การเอาไจใสกรง การกรอไหม และการเปลี่ยนหลอด แสดงดังรูป ที่ 6.1, 6.2 , 6.3
ตามลําดับ และผลการทดสอบของไหมชนิดTV มีขั้นตอนการทํางานเหมือนไหมชนิดขนสัตว คือ การเอาไจใส
กรง การกรอไหม และการเปลี่ยนหลอด แสดงดังรูป ที่ 6.4, 6.5 , 6.6 ตามลําดับ โดยสามารถสรุปผลจาก
การทดสอบไดวาทุกขั้นตอนการทํางานในเครื่องจักรทั้ง 4 เครื่องใหผลเหมือนกันคือ คาเฉลี่ยเวลาของแตละ
ขั้นตอนและแตละเครื่องมีความแตกตาง ดังนั้นจึงตองทําการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple Comparisons)

6.2.2 การเปรียบเทียบพหุคณ ู
หลั ง จากทํ า การวิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดยใช วิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดยใช ก ารวิ เ คราะห ค วาม
แปรปรวน(ANOVA) และสรุปผลวาคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ (Treatment means) แตกตางกัน
นั่นคือ ระดับของปจจัยมีผลกระทบตอผลตอบสนอง (Response) ซึ่งจําเปนตองทดสอบตอไปวา คาเฉลี่ย
ของขอมูลของระดับคูใดมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
83

ความเร็วรอบ
ขอมูล wool (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
mc1 0.29 0.32 0.32 0.29 0.27 0.24 0.28 0.26 0.25 0.26 0.26 0.26 0.25 0.29 0.32
mc2 0.29 0.32 0.32 0.29 0.27 0.24 0.28 0.26 0.25 0.26 0.23 0.22 0.24 0.24 0.25
mc3 0.33 0.37 0.36 0.30 0.33 0.37 0.36 0.28 0.32 0.32 0.32 0.33 0.30 0.34 0.33
mc4 0.20 0.20 0.25 0.22 0.25 0.26 0.23 0.23 0.22 0.25 0.21 0.19 0.23 0.21 0.21

ความเร็วรอบ
ขอมูล wool (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
mc1 0.32 0.29 0.27 0.24 0.28 0.26 0.25 0.26 0.26 0.26 0.26 0.26 0.26 0.26 0.26
mc2 0.23 0.25 0.24 0.25 0.24 0.24 0.26 0.23 0.23 0.24 0.26 0.25 0.24 0.22 0.23
mc3 0.33 0.34 0.33 0.33 0.33 0.33 0.34 0.34 0.34 0.34 0.34 0.34 0.34 0.33 0.33
mc4 0.2 0.19 0.23 0.22 0.21 0.23 0.22 0.22 0.2 0.19 0.2 0.19 0.18 0.2 0.21

Anova: Single Factor


SUMMARY
Groups Count Sum Average Variance
Row 1 30 8.128 0.270933333 0.00049531
Row 2 30 7.57 0.252333333 0.00065989
Row 3 30 9.99 0.333 0.00035276
Row 4 30 6.45 0.215 0.00041897

ANOVA
Source of Variation SS df MS F P-value F crit
Between Groups 0.21863743 3 0.072879144 151.286687 6.20129E-40 2.68281
Within Groups 0.05588053 116 0.000481729

Total 0.27451797 119

รูปที่ 6.1 แสดงการทดสอบโดยวิธีANOVA ขั้นตอนการเอาไจใสกรงของไหมชนิดขนสัตว


84

ความเร็วรอบ
ขอมูล wool (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
mc1 7.45 7.42 7.55 7.37 7.40 7.37 7.13 7.16 7.32 7.30 7.34 7.36 7.30 7.45 7.39
mc2 7.45 7.50 7.52 7.52 7.12 7.08 7.11 7.15 7.12 7.13 7.19 7.17 7.24 7.22 7.13
mc3 6.12 6.09 6.20 6.13 6.12 6.09 6.07 6.12 6.14 6.12 6.14 6.13 6.13 6.13 6.14
mc4 5.26 5.19 5.12 5.14 5.19 5.17 5.15 5.20 5.24 5.25 5.06 5.18 5.17 5.19 5.18

ความเร็วรอบ
ขอมูล wool (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
mc1 7.59 7.33 7.33 7.25 7.35 7.37 7.37 7.33 7.29 7.4 7.37 7.34 7.3 7.27 7.06
mc2 7.12 7.28 7.25 7.16 7.18 7.19 7.18 7.1 7.18 7.13 7.15 7.21 7.19 7.19 7.36
mc3 6.14 6.13 6.13 6.13 6.12 6.13 6.11 6.13 6.11 6.11 6.1 6.1 6.12 6.12 6.11
mc4 5.2 5.25 5.21 5.21 5.2 5.28 5.17 5.17 5.18 5.27 5.19 5.17 5.21 5.26 5.18

Anova: Single Factor


SUMMARY
Groups Count Sum Average Variance
Row 1 30 220.26 7.342 0.01129931
Row 2 30 216.516 7.2172 0.015883476
Row 3 30 183.66 6.122 0.000492414
Row 4 30 155.84 5.194666667 0.002177471

ANOVA
Source of Variation SS df MS F P-value F crit
Between Groups 91.9880004 3 30.6626668 4108.532403 1.482E-117 2.68280941
Within Groups 0.865727467 116 0.007463168

Total 92.85372787 119

รูปที่ 6.2 แสดงการทดสอบโดยวิธีANOVA ขั้นตอนการกรอไหมของไหมชนิดขนสัตว


85

ความเร็วรอบ
ขอมูล wool (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
mc1 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03
mc2 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.03 0.03
mc3 0.02 0.02 0.02 0.02 0.03 0.02 0.02 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.02 0.02
mc4 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.02 0.04 0.04 0.03 0.02 0.03 0.03 0.03 0.03

ความเร็วรอบ
ขอมูล wool (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
mc1 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03
mc2 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03
mc3 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.02 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03
mc4 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.02 0.02 0.02 0.02 0.02 0.03 0.03

Anova: Single Factor


SUMMARY
Groups Count Sum Average Variance
Row 1 30 0.94 0.03133333 1.1954E-05
Row 2 30 0.96 0.032 1.65517E-05
Row 3 30 0.82 0.02733333 2.71264E-05
Row 4 30 0.85 0.02833333 2.81609E-05

ANOVA
Source of Variation SS df MS F P-value F crit
Between Groups 0.0004625 3 0.00015417 7.359396433 0.00014736 2.682809415
Within Groups 0.00243 116 2.0948E-05

Total 0.0028925 119

รูปที่ 6.3 แสดงการทดสอบโดยวิธีANOVA ขั้นตอนการเปลีย่ นหลอดของไหมชนิดขนสัตว


86

ความเร็วรอบ
ขอมูล TV (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
mc1 0.19 0.19 0.22 0.21 0.19 0.23 0.25 0.22 0.21 0.21 0.24 0.23 0.22 0.21 0.23
mc2 0.24 0.23 0.18 0.21 0.25 0.22 0.21 0.22 0.21 0.21 0.23 0.23 0.23 0.27 0.23
mc4 0.36 0.31 0.31 0.31 0.31 0.35 0.32 0.31 0.32 0.39 0.29 0.26 0.31 0.27 0.28

ความเร็วรอบ
ขอมูล TV (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
mc1 0.2 0.23 0.23 0.22 0.25 0.23 0.24 0.22 0.21 0.23 0.21 0.22 0.23 0.2 0.22
mc2 0.2 0.21 0.21 0.23 0.23 0.21 0.22 0.2 0.21 0.22 0.22 0.22 0.2 0.2 0.21
mc4 0.4 0.32 0.21 0.29 0.24 0.26 0.28 0.29 0.28 0.28 0.3 0.27 0.26 0.3 0.29

Anova: Single Factor


SUMMARY
Groups Count Sum Average Variance
Row 1 30 6.65 0.221666667 0.000235057
Row 2 30 6.6 0.22 0.000275862
Row 3 30 8.93 0.297666667 0.001556437

ANOVA
Source of Variation SS df MS F P-value F crit
Between Groups 0.1181089 2 0.059054444 85.69559658 2.7227E-21 3.101296
Within Groups 0.0599533 87 0.000689119

Total 0.1780622 89

รูปที่ 6.4 แสดงการทดสอบโดยวิธีANOVA ของขั้นตอนการเอาไจใสกรงไหมชนิดTV


87

ความเร็วรอบ
ขอมูล TV (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
mc1 6.43 6.39 6.41 6.39 6.34 6.37 6.30 6.33 6.32 6.35 6.34 6.34 6.35 6.33 6.45
mc2 6.22 6.27 6.28 6.29 6.31 6.37 6.35 6.35 6.33 6.30 6.35 6.34 6.30 6.35 6.32
mc4 4.52 4.53 4.44 4.49 4.53 4.52 4.47 4.56 4.58 4.53 4.57 4.58 4.49 4.52 4.48

ความเร็วรอบ
ขอมูล TV (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
mc1 6.42 6.44 6.4 6.41 6.42 6.37 6.34 6.32 6.35 6.36 6.39 6.4 6.35 6.4 6.36
mc2 6.33 6.26 6.33 6.32 6.33 6.26 6.31 6.28 6.26 6.31 6.24 6.3 6.23 6.23 6.43
mc4 4.54 4.56 4.55 4.57 4.53 4.55 4.56 4.53 4.48 4.55 4.46 4.57 4.53 4.52 4.53

Anova: Single Factor


SUMMARY
Groups Count Sum Average Variance
Row 1 30 191.17 6.372333333 0.001563333
Row 2 30 189.15 6.305 0.002198276
Row 3 30 135.84 4.528 0.00134069

ANOVA
Source of Variation SS df MS F P-value F crit
Between Groups 65.6382822 2 32.81914111 19296.67905 6.5051E-116 3.101295757
Within Groups 0.14796667 87 0.001700766

Total 65.7862489 89

รูปที่ 6.5 แสดงการทดสอบโดยวิธีANOVA ขั้นตอนการกรอไหมของไหมชนิด TV


88

ความเร็วรอบ
ขอมูล TV (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
mc1 0.04 0.04 0.05 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.05 0.05
mc2 0.05 0.05 0.05 0.04 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.04 0.05 0.05 0.05
mc4 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.04 0.03

ความเร็วรอบ
ขอมูล TV (นาที/รอบ)
ของเครื่องจักร
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
mc1 0.04 0.05 0.04 0.04 0.04 0.04 0.05 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.05 0.04
mc2 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.04 0.05 0.05 0.05 0.04 0.05 0.05 0.04 0.05
mc4 0.03 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03 0.03

Anova: Single Factor


SUMMARY
Groups Count Sum Average Variance
Row 1 30 1.26 0.042 1.65517E-05
Row 2 30 1.45 0.048333333 1.43678E-05
Row 3 30 0.93 0.031 9.31034E-06

ANOVA
Source of Variation SS df MS F P-value F crit
Between Groups 0.004615556 2 0.002307778 172.0942857 5.76849E-31 3.101295757
Within Groups 0.001166667 87 1.341E-05

Total 0.005782222 89

รูปที่ 6.6 แสดงการทดสอบโดยวิธีANOVA ขั้นตอนการเปลีย่ นหลอดของไหมชนิด TV


89

การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของขอมูลของระดับเปนคู (Comparing Pairs of Treatment Means)


โดยใชวิธี The Least Significant Difference Method (LSD) เราสามารถทําการทดสอบความแตกตางของ
คาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับเปนคู โดยใช T-test ซึ่งคาสถิติ (Statistic) คือ

yi  y j
t0  , i  j
1 1 
MS E   
n n 
 i j 

2MS E
LSD = ta
2
, N a n

1. ไหมชนิดขนสัตว
จากตารางที่ 6.1 แสดงคาเฉลี่ยของแตละรอบของไหมชนิด wool และตารางที่ 6.2
แสดงผลจากการทดสอบ ANOVA
2MS E
LSD = ta
2
, N a n
2(0.0075)
= t 0.025,120 4  0.044
30
หาความแตกตางของคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ ถา y i  y j  LSD จะปฏิเสธ
H 0 :  i   j i  j หาคาตาง ๆ สามารถแสดงไดดังตารางที่ 6.3

ตารางที่ 6.3 แสดงผลตางของคาเฉลี่ยของแตละเครื่องของไหมชนิด WOOL

i VS j i  j y i  y j  LSD
1 VS 2 7.342-7.217=0.125 นาที*
1 VS 3 7.342-6.122=1.22 นาที*
1 VS 4 7.342-5.195=2.15 นาที*
2 VS 3 7.217-6.122=1.10 นาที*
2 VS 4 7.217-5.195=2.02 นาที*
3 VS 4 6.122-5.195=0.53 นาที*
หมายเหตุ* หมายถึงคาเฉลี่ยคูนั้นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (Significant Difference)

การแสดงผลการทดสอบสามารถทําไดโดยการเรียงลําดับคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ(Treatment
Means) ตามลําดับจากนอยไปหามาก ถาคูใดไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ จะขีดเสนใต ซึ่งผลจาก
การทดสอบสามารถสรุปไดวาเครื่องจักรทั้ง 4 เครื่องมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ
y4 y3 y2 y1
5.195 6.122 7.217 7.342
90

2. ไหมชนิด TV
จากตารางที่ 6.3 แสดงคาเฉลี่ยของแตละรอบของไหมชนิด TV และตารางที่ 6.4 แสดงผล
จากการทดสอบ ANOVA
2MS E
LSD = ta
2
, N a n

2(0.0017)
= t 0.025,1203  0.021
30
หาความแตกตางของคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ ถา y i  y j  LSD จะปฏิเสธ
H 0 :  i   j i  j หาคาตาง ๆ สามารถแสดงไดดังตารางที่ 6.4

ตารางที่ 6.4 แสดงผลตางของคาเฉลี่ยของแตละเครื่องของไหมชนิดTV

i VS j i  j y i  y j  LSD
1 VS 2 6.372-6.310=0.062 นาที*
1 VS 4 6.372-4.530=1.842 นาที*
2 VS 4 6.310-4.530=1.780 นาที*

หมายเหตุ* หมายถึงคาเฉลี่ยคูนั้นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

การแสดงผลการทดสอบสามารถทําไดโดยการเรียงลําดับคาเฉลี่ยของขอมูลในแตละระดับ(Treatment
Means) ตามลําดับจากนอยไปหามาก ถาคูใดไมมีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ จะขีดเสนใต ซึ่งผลจาก
การทดสอบสามารถสรุป ไดวาเครื่องจักรทั้ง 43 เครื่องมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ ดังนั้นจึงทําการทดสอบ
โดยวิธี SPSS เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยเวลาในขั้น ตอนการกรอไหมโดยทําการเปรียบเทียบ
เปนคู
y4 y2 y1
4.530 6.310 6.372

6.2.3 การทดสอบดวยวิธีการทดสอบความเปนอิสระ(Independent Samples Test)


โดยใชโปรแกรม SPSS ในการทดสอบเพื่อใหทราบคาความแตกตางเปนคูโดยไดทําการทก
สอบในขั้นตอนการกรอไหมซึง่ ทําการทดสอบโดยแบงเปนไหมขนิดขนสัตว ไดทําการจับคูเครื่องจักรดังนี้ 1-2,
1-3 , 1-4 , 2-3 , 2-4 และ 3-4 ดังแสดงดังรูปที่ 6.7 , 6.8 , 6.9 , 6.10 , 6.11 และ 6.12ตามลําดับ
จากผลการทดสอบใหสามารถสรุปผลไดดังตารางที่ 6. 5
91

ตารางที่ 6.5 แสดงผลจากการเปรียบเทียบเครื่องจักรแตละคูของไหมขนิดขนสัตว

คูที่เปรียบเทียบ ผลจากการเปรียบเทียบ
1-2 เลือกเครื่องที่ 2
1-3 เลือกเครื่องที่ 3
1-4 เลือกเครื่องที่ 4
2-3 เลือกเครื่องที่ 3
2-4 เลือกเครื่องที่ 4
3-4 เลือกเครื่องที่ 4

1. การเปรียบเทียบคู 1-2 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่


1 มีคามากกวาเครื่องที่ 2 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 2 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
2. การเปรียบเทียบคู 1-3 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
1 มีคามากกวาเครื่องที่ 3 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 3 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
3. การเปรียบเทียบคู 1-4 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
1 มีคามากกวาเครื่องที่ 4 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 4 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
4. การเปรียบเทียบคู 2-3 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
2 มีคามากกวาเครื่องที่ 3 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 3 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
5.การเปรียบเทียบคู 2-4 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
2 มีคามากกวาเครื่องที่ 4 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 4 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
6. การเปรียบเทียบคู 3-4 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
3 มีคามากกวาเครื่องที่ 4 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 4 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
ซึ่งในการเลือกใชเครื่องจักรในการปฏิบัติงานควรใชเครื่องจักรที่ใชเวลาในการปฏิบัติงานนอยสุดกอน
คือ เครื่องจักรที่ 4, เครื่องจักรที่ 3, เครื่องจักรที่ 2, เครื่องจักรที่ 1 ตามลําดับ
Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc1 30 7.3420 .10630 .01941
mc2 30 7.2172 .12603 .02301

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
.955 .332 4.146 58 .000 .12480 .03010 .06455 .18505
assumed
Equal variances
4.146 56.396 .000 .12480 .03010 .06451 .18509
not assumed

รูปที่ 6.7 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 1 และ 2 ของไหมชนิดขนสัตว


92

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc1 30 7.3420 .10630 .01941
mc3 30 6.1220 .02219 .00405

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
15.825 .000 61.536 58 .000 1.22000 .01983 1.18031 1.25969
assumed
Equal variances
61.536 31.523 .000 1.22000 .01983 1.17959 1.26041
not assumed

รูปที่ 6.8 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 1 และ 3 ของไหมชนิดขนสัตว

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc1 30 7.3420 .10630 .01941
mc4 30 5.1947 .04666 .00852

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
6.274 .015 101.313 58 .000 2.14733 .02119 2.10491 2.18976
assumed
Equal variances
101.313 39.777 .000 2.14733 .02119 2.10449 2.19018
not assumed

รูปที่ 6.9 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 1 และ 4 ของไหมชนิดขนสัตว


93

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc2 30 7.2172 .12603 .02301
mc3 30 6.1220 .02219 .00405

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
24.621 .000 46.876 58 .000 1.09520 .02336 1.04843 1.14197
assumed
Equal variances
46.876 30.796 .000 1.09520 .02336 1.04754 1.14286
not assumed

รูปที่ 6.10 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 2 และ 3 ของไหมชนิดขนสัตว

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc2 30 7.2172 .12603 .02301
mc4 30 5.1947 .04666 .00852

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
12.712 .001 82.430 58 .000 2.02253 .02454 1.97342 2.07165
assumed
Equal variances
82.430 36.805 .000 2.02253 .02454 1.97281 2.07226
not assumed

รูปที่ 6.11 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 2 และ 4 ของไหมชนิดขนสัตว


94

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc3 30 6.1220 .02219 .00405
mc4 30 5.1947 .04666 .00852

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
8.803 .004 98.299 58 .000 .92733 .00943 .90845 .94622
assumed
Equal variances
98.299 41.478 .000 .92733 .00943 .90829 .94638
not assumed

รูปที่ 6.12 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 3 และ 4 ของไหมชนิดขนสัตว

และผลการทดสอบโดยแบงเปนไหมชนิดTV ไดทําการจับคูเครื่องจักรดังนี้ 1-2, 1-4 และ 2-4 ดัง


แสดงในรูปที่ 6.13 , 6.14 , 6.15 ตามลําดับ จากผลการทดสอบใหสามารถสรุปผลไดดังตารางที่ 6.6

ตารางที่ 6.6 แสดงผลจากการเปรียบเทียบเครื่องจักรแตละคูของไหมชนิดTV

คูที่เปรียบเทียบ ผลจากการเปรียบเทียบ
1-2 เลือกเครื่องที่ 2
1-4 เลือกเครื่องที่ 4
2-4 เลือกเครื่องที่ 4

1. การเปรียบเทียบคู 1-2 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่


1 มีคามากกวาเครื่องที่ 2 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 2 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
2. การเปรียบเทียบคู 1-4 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
1 มีคามากกวาเครื่องที่ 4 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 4 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
3. การเปรียบเทียบคู 2-4 ผลคือ คา p-value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญทําใหคาเฉลี่ยของเครื่องที่
2 มีคามากกวาเครื่องที่ 4 ดังนั้นในการทํางานควรเลือกทําที่เครื่องที่ 4 เพื่อใหเวลาที่ใชในการกรอไหมลดลง
ซึ่งในการเลือกใชเครื่องจักรในการปฏิบัติงานควรใชเครื่องจักรที่ใชเวลาในการปฏิบัติงานนอยสุดกอน
คือ เครื่องจักรที่ 4, เครื่องจักรที่ 2, เครื่องจักรที่ 1 ตามลําดับ
95

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc1 30 6.3723 .03954 .00722
mc2 30 6.3050 .04689 .00856

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
.184 .669 6.013 58 .000 .06733 .01120 .04492 .08975
assumed
Equal variances
6.013 56.393 .000 .06733 .01120 .04491 .08976
not assumed

รูปที่ 6.13 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 1 และ 2 ของไหมชนิดTV

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc1 30 6.3723 .03954 .00722
mc4 30 4.5280 .03662 .00669

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
1.236 .271 187.456 58 .000 1.84433 .00984 1.82464 1.86403
assumed
Equal variances
187.456 57.661 .000 1.84433 .00984 1.82464 1.86403
not assumed

รูปที่ 6.14 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 1 และ 4 ของไหมชนิดTV


96

Group Statistics

Std. Error
mc N Mean Std. Deviation Mean
time mc2 30 6.3050 .04689 .00856
mc4 30 4.5280 .03662 .00669

Independent Samples Test

Levene's Test for


Equality of Variances t-test for Equality of Means
95% Confidence
Interval of the
Mean Std. Error Difference
F Sig. t df Sig. (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
time Equal variances
1.728 .194 163.610 58 .000 1.77700 .01086 1.75526 1.79874
assumed
Equal variances
163.610 54.783 .000 1.77700 .01086 1.75523 1.79877
not assumed

รูปที่ 6.15 แสดงการทดสอบโดยวิธี Independent Samples Test เครื่องจักร 2 และ 4 ของไหมชนิดTV

6.3 สรุป
ในบทนี้จะกลาวถึงแนวทางการปรั บปรุงการทํางานของแผนกเลยกาว และแนวทางการปรับปรุง การ
ทํางานของแผนกกรอไหม จากการที่ไดทําการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ลดเวลาในขั้น ตอนการ
ทํางานทําใหไดผลผลิตมากขึ้น และผลการทดสอบ ANOVA ของขนสัตว(wool)และไหมชนิด(TV) คา p-
value ที่ไดมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ ( α=0.05 ) การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple Comparisons) และ
การทดสอบด วยวิธีการทดสอบความเป นอิสระ(Independent Samples Test) ทําใหทราบความแตกตา งของ
คาเฉลี่ยของเวลาแตละเครื่องและแตละคู เราสามารถนําขอมู ลที่ไดนี้ไ ปใชในการทํา งานเพื่อใหไชเวลาในการ
ทํางานใชเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด โดยใช เวลานอยแตไดงานมาก
บทที่ 7
สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

7.1 สรุปผลการศึกษา
จากการที่ บริษัท อิน เตอร ไกร จํากัดยัง ไม มีเวลามาตรฐานในการทํา งานของแตล ะกระบวนการผลิต
พรม ทําใหไมสามารถแบงระดับการทํางานของพนักงานและกําลังการผลิตที่เปนมาตรฐานในแตละวัน ทําให
ยังไมมีเปา หมายในการผลิตที่แนนอนในแตละวัน จึงตองการใหแ ตละกระบวนการมีเวลามาตรฐานเพื่อจะได
ทราบกําลังการผลิตที่แนนอนในแตละวัน ระดับความสามารถของพนักงาน เพื่อจัดพนักงานใหเขาทํางานใน
แตละกระบวนการอยางเหมาะสม และการวางแผนการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด ดังนั้นจึงไดสนใจใน
การทําโครงการนี้เ พื่อชวยหาเวลามาตรฐานของกระบวนการที่สนใจศึกษาทั้งสองแผนกคือ แผนกเลยกาวและ
แผนกกรอไหม

7.1.1 ผลการทําโครงการ
ผลจากการทําโครงการเรื่อง การหาเวลามาตรฐานในการผลิตพรม ของบริษัท อินเตอรไกร
จํากัด เปน กรณีศึกษา ซึ่ง ผลจากการที่ไ ดเขาไปศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต การทํางานในแตละขั้นตอน
และศึกษาปญหาในกระบวนการผลิตที่มีผลตอเวลาและคุณภาพของผลิตภัณฑ ไดทําการจับเวลาและเก็บขอมูล
ตางๆ โดยทําการแบงงานออกเปนแตละงานยอยใหงายตอการจับเวลา และการสังเกตลักษณะการทํางานของ
พนักงานเพื่อใชในการหาเวลามาตรฐานในกระบวนการผลิตในแผนกเลยกาวและแผนกกรอไหม และนําไปใช
จริงใน บริษัทอินเตอรไกร จํากัดในอนาคต ซึ่งกระบวนการผลิตในแผนกเลยกาวนั้นปญหาที่พบที่มีผลตอเวลา
ในการทํางานนั้นคือ
1. การจัดเก็บไมหนามที่ใชในการตีบลอกไมมีความเหมาะสมในการใชง านเนื่องจากพื้นที่ที่
ใชในการจัดเก็บไมมีการแบงขนาดของไมหนามและไมหนามเกิดสนิม ทําใหเสียเวลาในการคนหาเพื่อใชในการ
ปฏิบัติงาน จึงไดทําการเสนอการปรับปรุงโดยการแบงพื้นที่ในการเก็บออกเปนชวงตามขนาดของไมหนามแล ว
ทาสีไมหนามเปนสีตางๆตามชวงความยาวนั้นๆ และทําปายบอกขนาดและสี ด ว ยเพื่ อ ง า ยต อ การปฏิ บั ติ ง าน
ปญหาอีกอยางเปนปญหาดานคุณภาพในการผลิตพรม
2. การทํ างานในปจจุปนในขั้ นตอนของการเลยก าวจะตักกาวใสในถั งแล วหิ้วถั งที่ตั กได
ปริมาตรตามตองการไปในสวนที่ตองการเลยกาวแลวทําการเลยกาว ซึ่งการทํางานในลักษณะนี้มีผลตอคุณภาพ
ของพรมเนื่องจากอาจทําใหกาวสามารถซึมผานไปยัง ดานหนาของพรมทําใหพรมเสียหาย และการเทกาวโดยที่
ไมมีปริมาตรชัดเจนจะทําใหการเลยกาวนั้นไมทั่วถึงจึงไดทําการเสนอการแกปญหาโดยการเปลี่ยนจากการใชถัง
ในการใสกาวเปนใชเหยือกที่สามารถบรรจุกาวใหไดปริมาตรตามที่ตองใชตอพรมหนึ่งตารางเมตร เพื่อใหงานที่
ออกมาไดตามมาตรฐานที่ลูกคาตองการ ซึ่งทั้งสองวิธีที่ไดทํา การเสนอแนะนอกจากมีผลทําใหไดเวลาในการ
98

ปฏิบัติงานลดลงแลว ยังมีผลใหผลิตภัณฑที่ออกมามีคุณภาพทําใหไมตองเสียคาใชจายในการปรับปรุงแกไขงาน
และทําใหลูกคามีความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑของบริษัทดวย
สว นในกระบวนการผลิต ในแผนกกรอไหมนั้น สว นใหญจ ะใช เครื่ องจักรในกระบวนการผลิ ตทํา ให
ปญหาที่ พบเกิดจากการทํางานของเครื่องจักร เชน เครื่องจักรชํารุดตองรอการซอมแซม เปนตน และการที่
ไหมเกิดการพันกันทําใหในขณะที่ทําการกรอไหมเกิดการขาดทําใหตองเสียเวลาในการ ปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ แก ป ม
ของไหมที่พันกัน ทําใหเสียเวลาในการกรอไหม และยังไมรูวาการปฏิบัติงานที่เปนอยูนี้มีความเหมาะสมหรือไม
จึงตองมีการทดสอบ โดยใชการวิเ คราะหความแปรปรวนเมื่อจํา แนกทางเดีย ว(One Way ANOVA) การ
เปรี ย บเที ย บพหุ คู ณ (Multiple Comparisons) และการทดสอบด ว ยวิ ธี ก ารทดสอบความเป น อิ ส ระ
(Independent Samples Test) ทํา ใหทราบความแตกตางของคาเฉลี่ยของเวลาแตล ะเครื่องและแตล ะคู เรา
สามารถนําขอมูลที่ไดนี้ไปใชในการทํางานเพื่อใหไชเวลาในการทํางานใชเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด โดยใช เวลา
นอยแตไดงานมาก

7.2 อุปสรรคในการทํางานโครงการ
1. เกิดความยากลําบากในการเก็บขอมูลเนื่องจากพนักงานมีการทํางานแบบชวยเหลือซึ่งกันและ
กันในการทํางานของแตละขั้นตอนทําใหไมสามารถระบุจํานวนพนักงานในแตละขั้นตอนได
อยางแนชัด
2. ในการทํางานตองรอใหพรมที่ทิ้งไว 1 คืนแหงกอนจึงจะสามารถทํางานได ในกรณีที่พื้นที่ถูกใช
จนหมดทําใหเปนอุปสรรคในการเก็บขอมูล
3. การทํางานของกระบวนการเลยกาวที่ทําการศึกษานี้ ตองรอวัตถุดิบจากแผนกกอนหนาทําให
ตองเสียเวลาในการรอคอย
4. การทํางานของโรงงานไมมีความแนนอน เนื่องจากขึ้นอยูกับใบสั่งซื้อของลูกคา ทําใหบางครั้ง
เดินทางเขาไปเก็บขอมูลแลวไดขอ มูลไมครบตามที่ตองการ
5. ทางโรงงานไมมีเอกสารขอมูลเกีย่ วกับโรงงาน รายละเอียดสวนมากจะใชการพูดคุยตอบ ทาง
โรงงานไมมีเอกสารขอมูลเกี่ยวกับโรงงาน รายละเอียดสวนมากจะใชการพูดคุยตอบคําถาม ทํา
ใหเสียเวลามากในการเก็บขอมูลบางสวน

7.3 ขอเสนอแนะ
ขอเสนอแนะตางๆที่ไดทําการศึกษาไวในโครงการนี้สามารถที่จะนําไปเปนแนวทางในการแกไขปญหา
ในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นเพื่อใหเวลาในกระบวนการผลิตลดลงและไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ ทั้งยังเปนการเพิ่ม
ผลผลิตขององคกรได เนื่องจากกระบวนการผลิตจะมีเวลามาตรฐานในการทํางาน อีกทั้งหากมีการอบรมให
พนักงานมีความรู และความเขาใจในความสําคัญของเวลามาตรฐาน เพื่อจะไดทราบกําลังการผลิตที่แนนอนใน
แตละวัน ระดับความสามารถของพนักงาน เพื่อจัดพนักงานใหเขาทํางานในแตละกระบวนการอยางเหมาะสม
และการวางแผนการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากที่สุดซึ่งจะนําไปสูก ารพัฒนาองคกรสูความเปนมาตรฐาระดับสูง
และเปนที่ยอมรับมากขึ้นจากลูกคา
99

เอกสารอางอิง

นิวิท เจริญใจ “การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา” ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยขอนแกน


2547
ปารเมศ ฃุติมา “การออกแบบทางวิศวกรรม” สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2545
การทดลองสมมติฐานทางสถิติ 2 (Hypothesis Testing 2 )
ผูชวยศาสตราจารยวิศิษฐ สัมสมบุญชัย ภาควิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
รัชตวรรณ กาญจนปญญาคม การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา กรุงเทพ : ฟสิกสเซ็นเตอร,2538
ภาคผนวก
101

ภาคผนวก ก
ขอมูลที่ไดจากการจับเวลาในการทํางานของเครื่องจักรเครื่องที่ 1
102

ตารางที่ ก.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (Wool)


ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.28 0.29 0.30 0.24 0.28 3.42 0.29
กรอไหม(1) 7.32 7.44 7.45 7.51 7.52 7.58 89.38 7.45
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.31 0.27 0.29 0.30 0.31
กรอไหม(2) 7.44 7.39 7.35 7.42 7.46 7.50
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.04 0.03 0.03 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.29 0.34 0.33 0.26 0.28 3.82 0.32
กรอไหม(1) 7.32 7.24 7.26 7.35 7.41 7.51 89.03 7.42
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.34 0.32 0.33 0.36 0.35
กรอไหม(2) 7.46 7.42 7.48 7.54 7.55 7.49
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.04 0.03 0.03 0.20 0.03

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.35 0.32 0.31 0.29 0.29 3.78 0.32
กรอไหม(1) 7.58 7.56 7.48 7.55 7.50 7.55 90.54 7.55
เอาใจไสก รง(2) 0.33 0.29 0.35 0.28 0.34 0.31
กรอไหม(2) 7.56 7.52 7.55 7.56 7.54 7.59
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.04 0.03 0.04 0.19 0.03

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.30 0.29 0.26 0.25 0.26 3.48 0.29
กรอไหม(1) 7.41 7.35 7.36 7.31 7.29 7.41 88.38 7.37
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.32 0.30 0.28 0.29 0.31
กรอไหม(2) 7.32 7.35 7.42 7.43 7.41 7.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.03 0.04 0.02 0.17 0.03

ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.35 0.29 0.27 0.26 0.29 3.28 0.27
กรอไหม(1) 7.51 7.36 7.38 7.35 7.41 7.42 88.79 7.40
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.26 0.24 0.25 0.23 0.27
กรอไหม(2) 7.35 7.39 7.41 7.42 7.44 7.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.04 0.03 0.03 0.02 0.17 0.03

ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.28 0.24 0.25 0.26 0.25 2.89 0.24
กรอไหม(1) 7.26 7.34 7.39 7.36 7.38 7.44 88.38 7.37
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.22 0.24 0.22 0.21
กรอไหม(2) 7.42 7.23 7.41 7.35 7.42 7.38
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.03 0.02 0.03 0.04 0.19 0.03
103

ตารางที่ ก.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (Wool)


ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.29 0.26 0.25 0.26 0.27 3.35 0.28
กรอไหม (1) 7.08 7.25 7.05 7.11 7.21 7.01 85.54 7.13
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.28 0.31 0.28 0.32 0.24
กรอไหม (2) 7.20 7.08 7.10 7.21 7.02 7.22
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.04 0.03 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.30 0.31 0.26 0.27 0.26 3.07 0.26
กรอไหม (1) 7.13 7.12 7.24 7.19 7.22 7.12 85.97 7.16
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.23 0.21 0.20 0.25 0.24
กรอไหม (2) 7.22 7.09 7.15 7.12 7.16 7.21
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.03 0.02 0.03 0.18 0.03

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.29 0.26 0.28 0.27 0.25 3.00 0.25
กรอไหม (1) 7.22 7.31 7.29 7.33 7.26 7.34 87.87 7.32
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.22 0.25 0.24 0.23 0.20
กรอไหม (2) 7.29 7.38 7.37 7.40 7.46 7.22
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.04 0.02 0.03 0.02 0.16 0.03

ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.25 0.29 0.25 0.27 0.28 3.17 0.26
กรอไหม (1) 7.42 7.12 7.22 7.28 7.32 7.34 87.61 7.30
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.22
กรอไหม (2) 7.38 7.36 7.29 7.22 7.36 7.30
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.02 0.03 0.02 0.15 0.03

ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.29 3.11 0.26
กรอไหม (1) 7.38 7.36 7.29 7.22 7.36 7.30 88.04 7.34
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.22
กรอไหม (2) 7.42 7.35 7.42 7.36 7.33 7.25
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.05 0.03 0.04 0.04 0.22 0.04

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.27 3.09 0.26
กรอไหม (1) 7.28 7.35 7.36 7.39 7.28 7.34 88.28 7.36
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.22
กรอไหม (2) 7.39 7.34 7.29 7.46 7.30 7.50
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.03 0.04 0.03 0.19 0.03
104

ตารางที่ ก.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (Wool)

ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.22 3.04 0.25
กรอไหม(1) 7.38 7.36 7.29 7.22 7.36 7.30 87.60 7.30
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.22
กรอไหม(2) 7.33 7.29 7.34 7.28 7.26 7.19
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.04 0.02 0.03 0.04 0.19 0.03

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.28 0.29 0.27 0.30 0.25 0.26 3.42 0.29
กรอไหม(1) 7.32 7.44 7.45 7.51 7.52 7.58 89.38 7.45
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.31 0.27 0.29 0.30 0.31
กรอไหม(2) 7.44 7.39 7.35 7.42 7.46 7.50
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.04 0.03 0.02 0.03 0.17 0.03

ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.29 0.34 0.33 0.26 0.28 3.82 0.32
กรอไหม(1) 7.50 7.48 7.45 7.42 7.49 7.38 88.63 7.39
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.34 0.32 0.33 0.36 0.35
กรอไหม(2) 7.38 7.36 7.29 7.22 7.36 7.30
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.03 0.04 0.19 0.03

ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.35 0.32 0.31 0.29 0.29 3.78 0.32
กรอไหม(1) 7.58 7.56 7.48 8.01 8.10 7.55 91.02 7.59
เอาใจไสก รง(2) 0.33 0.29 0.35 0.28 0.34 0.31
กรอไหม(2) 7.55 7.48 7.46 7.39 7.42 7.44
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.02 0.03 0.17 0.03

ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.30 0.29 0.26 0.25 0.26 3.48 0.29
กรอไหม(1) 7.38 7.36 7.29 7.22 7.36 7.30 87.97 7.33
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.32 0.30 0.28 0.29 0.31
กรอไหม(2) 7.33 7.38 7.29 7.24 7.40 7.42
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.03 0.02 0.04 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.35 0.29 0.27 0.26 0.29 3.28 0.27
กรอไหม(1) 7.36 7.39 7.34 7.28 7.30 7.35 87.93 7.33
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.26 0.24 0.25 0.23 0.27
กรอไหม(2) 7.38 7.36 7.29 7.22 7.36 7.30
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.02 0.03 0.02 0.03 0.04 0.18 0.03
105

ตารางที่ ก.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (Wool)


ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.28 0.24 0.25 0.26 0.25 2.89 0.24
กรอไหม(1) 7.22 7.05 7.10 7.32 7.13 7.20 87.04 7.25
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.22 0.24 0.22 0.21
กรอไหม(2) 7.35 7.16 7.42 7.35 7.39 7.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.04 0.20 0.03

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.29 0.26 0.25 0.26 0.27 3.35 0.28
กรอไหม(1) 7.41 7.43 7.45 7.39 7.43 7.26 88.15 7.35
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.28 0.31 0.28 0.32 0.24
กรอไหม(2) 7.20 7.21 7.32 7.35 7.34 7.36
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.04 0.02 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.30 0.31 0.26 0.27 0.26 3.07 0.26
กรอไหม(1) 7.26 7.31 7.33 7.42 7.43 7.36 88.48 7.37
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.23 0.21 0.20 0.25 0.24
กรอไหม(2) 7.36 7.42 7.43 7.38 7.37 7.41
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.04 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.29 0.26 0.28 0.27 0.25 3.00 0.25
กรอไหม(1) 7.40 7.42 7.38 7.36 7.38 7.31 88.47 7.37
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.22 0.25 0.24 0.23 0.20
กรอไหม(2) 7.38 7.44 7.39 7.40 7.25 7.36
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.03 0.04 0.03 0.04 0.22 0.04

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.28 3.15 0.26
กรอไหม(1) 7.29 7.28 7.31 7.33 7.35 7.39 87.97 7.33
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.27
กรอไหม(2) 7.44 7.26 7.29 7.30 7.31 7.42
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.04 0.03 0.03 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.27 3.13 0.26
กรอไหม(1) 7.25 7.29 7.22 7.31 7.42 7.40 87.50 7.29
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.26
กรอไหม(2) 7.23 7.25 7.26 7.28 7.29 7.30
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.04 0.04 0.03 0.04 0.22 0.04
106

ตารางที่ ก.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (wool)


ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.28 3.10 0.26
กรอไหม(1) 7.36 7.39 7.34 7.42 7.46 7.44 88.85 7.40
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.22
กรอไหม(2) 7.35 7.38 7.36 7.41 7.45 7.49
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.04 0.03 0.03 0.04 0.20 0.03

ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.26 3.11 0.26
กรอไหม(1) 7.51 7.42 7.46 7.38 7.38 7.36 88.46 7.37
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.25
กรอไหม(2) 7.35 7.29 7.31 7.32 7.35 7.33
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.02 0.03 0.03 0.02 0.02 0.16 0.03

ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.30 3.13 0.26
กรอไหม(1) 7.44 7.25 7.35 7.36 7.40 7.22 88.11 7.34
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.23
กรอไหม(2) 7.34 7.35 7.41 7.25 7.34 7.40
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.03 0.04 0.03 0.18 0.03

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.22 3.08 0.26
กรอไหม(1) 7.29 7.28 7.31 7.34 7.29 7.34 87.63 7.30
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.26
กรอไหม(2) 7.33 7.30 7.28 7.26 7.27 7.34
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.04 0.03 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.27 3.15 0.26
กรอไหม(1) 7.22 7.26 7.31 7.39 7.28 7.34 87.29 7.27
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.28
กรอไหม(2) 7.15 7.21 7.33 7.32 7.28 7.20
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.04 0.03 0.04 0.20 0.03

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.26 3.10 0.26
กรอไหม(1) 7.04 7.12 7.13 7.09 7.04 7.03 84.76 7.06
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.24
กรอไหม(2) 7.03 7.08 7.08 7.02 7.06 7.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.02 0.03 0.03 0.04 0.04 0.20 0.03
107

ตารางที่ ก.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV)

ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.12 0.10 0.19 0.21 0.14 3.70 0.19
กรอไหม(1) 6.41 6.49 6.45 6.44 6.42 128.65 6.43
เอาใจไสก รง(2) 0.17 0.18 0.24 0.18 0.20
กรอไหม(2) 6.44 6.50 6.38 6.37 7.13
เอาใจไสก รง(3) 0.17 0.18 0.21 0.30 0.22
กรอไหม(3) 6.41 6.34 6.41 6.25 6.32
เอาใจไสก รง(4) 0.23 0.15 0.15 0.17 0.19
กรอไหม(4) 6.46 6.37 6.38 6.15 6.53
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.03 0.04 0.05 0.19 0.04

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.20 0.15 0.18 0.21 0.20 3.82 0.19
กรอไหม(1) 6.31 6.32 6.38 6.32 6.32 127.78 6.39
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.15 0.18 0.14 0.20
กรอไหม(2) 6.34 6.32 6.39 6.41 6.32
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.18 0.16 0.19 0.17
กรอไหม(3) 6.45 6.34 6.32 6.35 6.45
เอาใจไสก รง(4) 0.24 0.23 0.22 0.22 0.20
กรอไหม(4) 6.54 6.51 6.48 6.49 6.42
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.03 0.04 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.20 0.20 0.21 3.25 0.22
กรอไหม(1) 6.39 6.31 6.42 6.44 6.34 96.19 6.41
เอาใจไสก รง(2) 0.20 0.20 0.25 0.24 0.21
กรอไหม(2) 6.45 6.38 6.40 6.44 6.48
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.20 0.23 0.25 0.21
กรอไหม(3) 6.40 6.39 6.52 6.44 6.39
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.05 0.04 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.19 0.20 0.19 0.21 6.41 0.21
กรอไหม(1) 6.45 6.38 6.37 6.43 6.57 191.55 6.39
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.23 0.21 0.26 0.21
กรอไหม(2) 6.28 6.49 6.32 6.46 6.48
เอาใจไสก รง(3) 0.20 0.19 0.24 0.21 0.24
กรอไหม(3) 6.32 6.45 6.23 6.45 6.37
เอาใจไสก รง(4) 0.19 0.21 0.23 0.22 0.22
กรอไหม(4) 6.32 6.37 6.50 6.41 6.25
เอาใจไสก รง(5) 0.21 0.18 0.19 0.20 0.21
กรอไหม(5) 6.20 6.40 6.32 6.26 6.48
เอาใจไสก รง(6) 0.21 0.26 0.28 0.21 0.17
กรอไหม(6) 6.35 6.33 6.54 6.45 6.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.05 0.04 0.03 0.22 0.04
108

ตารางที่ ก.7 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV)


ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.21 0.20 0.19 0.18 3.88 0.19
กรอไหม(1) 6.34 6.39 6.41 6.54 6.47 127.82 6.39
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.18 0.19 0.21 0.20
กรอไหม(2) 6.37 6.43 6.48 6.41 6.37
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.21 0.22 0.19 0.18
กรอไหม(3) 6.27 6.41 6.37 6.28 6.36
เอาใจไสก รง(4) 0.16 0.16 0.19 0.18 0.20
กรอไหม(4) 6.36 6.38 6.38 6.41 6.39
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.03 0.04 0.03 0.19 0.04

ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.22 0.21 0.25 0.23 2.27 0.23
กรอไหม(1) 6.42 6.40 6.31 6.36 6.35 63.67 6.37
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.24 0.21 0.23 0.21
กรอไหม(2) 6.40 6.34 6.37 6.37 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.03 0.04 0.04 0.03 0.19 0.04

ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.19 0.17 0.19 0.20 2.95 0.20
กรอไหม(1) 6.35 6.26 6.20 6.34 6.29 94.56 6.30
เอาใจไสก รง(2) 0.16 0.24 0.21 0.19 0.21
กรอไหม(2) 6.28 6.43 6.23 6.27 6.38
เอาใจไสก รง(3) 0.17 0.19 0.26 0.20 0.19
กรอไหม(3) 6.44 6.25 6.32 6.30 6.22
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.05 0.04 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.23 0.16 0.18 0.16 3.05 0.31
กรอไหม(1) 6.25 6.43 6.37 6.39 6.34 94.96 6.33
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.19 0.25 0.23 0.26
กรอไหม(2) 6.43 6.44 6.26 6.17 6.16
เอาใจไสก รง(3) 0.17 0.17 0.19 0.26 0.23
กรอไหม(3) 6.33 6.35 6.35 6.35 6.34
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.05 0.03 0.05 0.21 0.04

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.16 0.19 0.23 0.21 3.13 0.21
กรอไหม(1) 6.23 6.21 6.34 6.37 6.25 94.82 6.32
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.21 0.26 0.18 0.21
กรอไหม(2) 6.35 6.21 6.22 6.38 6.44
เอาใจไสก รง(3) 0.23 0.22 0.21 0.18 0.20
กรอไหม(3) 6.32 6.17 6.32 6.47 6.54
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.05 0.05 0.05 0.22 0.04
109

ตารางที่ ก.8 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV)


ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.20 0.21 0.23 0.21 0.20 4.21 0.21
กรอไหม(1) 6.31 6.20 6.30 6.12 6.32 127.05 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.15 0.18 0.26 0.20
กรอไหม(2) 6.34 6.32 6.39 6.41 6.32
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.23 0.22 0.24 0.17
กรอไหม(3) 6.45 6.34 6.32 6.28 6.29
เอาใจไสก รง(4) 0.24 0.23 0.22 0.22 0.20
กรอไหม(4) 6.54 6.51 6.48 6.49 6.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.06 0.04 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.25 0.22 0.21 0.21 3.56 0.24
กรอไหม(1) 6.37 6.34 6.17 6.27 6.39 95.10 6.34
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.23 0.26 0.26 0.27
กรอไหม(2) 6.34 6.47 6.42 6.28 6.38
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.23 0.23 0.26 0.22
กรอไหม(3) 6.43 6.26 6.35 6.28 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.05 0.03 0.05 0.21 0.04

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.22 0.23 0.22 0.24 3.43 0.23
กรอไหม(1) 6.34 6.32 6.36 6.37 6.29 95.07 6.34
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.21 0.22 0.25 0.23
กรอไหม(2) 6.43 6.34 6.47 6.19 6.24
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.22 0.22 0.25 0.23
กรอไหม(3) 6.38 6.25 6.27 6.31 6.51
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.06 0.05 0.06 0.05 0.26 0.05

ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.16 0.18 0.19 0.20 5.51 0.22
กรอไหม(1) 6.26 6.43 6.29 6.34 6.35 158.79 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.18 0.25 0.26 0.21
กรอไหม(2) 6.27 6.42 6.38 6.47 6.54
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.21 0.26 0.27 0.29
กรอไหม(3) 6.35 6.37 6.41 6.38 6.45
เอาใจไสก รง(4) 0.21 0.22 0.18 0.19 0.26
กรอไหม(4) 6.36 6.37 6.35 6.32 6.32
เอาใจไสก รง(5) 0.32 0.27 0.21 0.22 0.19
กรอไหม(5) 6.31 6.18 6.32 6.26 6.29
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.06 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.16 0.19 0.18 0.19 0.20 2.09 0.21
กรอไหม(1) 6.34 6.38 6.25 6.21 6.48 63.28 6.33
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.24 0.25 0.21 0.26
กรอไหม(2) 6.25 6.35 6.42 6.34 6.26
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.06 0.04 0.04 0.05 0.23 0.05
110

ตารางที่ ก.9 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV)


ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.24 0.19 0.26 0.22 2.26 0.23
กรอไหม(1) 6.54 6.55 6.37 6.37 6.45 64.47 6.45
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.21 0.24 0.19 0.23
กรอไหม(2) 6.37 6.45 6.52 6.40 6.45
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.07 0.04 0.05 0.26 0.05

ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.21 0.22 0.21 0.23 4.51 0.23
กรอไหม(1) 6.33 6.39 6.35 6.42 6.58 128.44 6.42
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.23 0.21 0.24 0.22
กรอไหม(2) 6.45 6.50 6.38 6.37 6.52
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.22 0.21 0.28 0.24
กรอไหม(3) 6.38 6.34 6.41 6.55 6.42
เอาใจไสก รง(4) 0.23 0.21 0.24 0.22 0.19
กรอไหม(4) 6.32 6.37 6.38 6.45 6.53
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.03 0.05 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.21 0.23 0.24 0.22 2.25 0.23
กรอไหม(1) 6.43 6.41 6.55 6.42 6.50 64.36 6.44
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.20 0.27 0.21 0.23
กรอไหม(2) 6.40 6.34 6.49 6.37 6.45
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.05 0.04 0.06 0.04 0.24 0.05

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.24 0.25 0.21 3.36 0.34
กรอไหม(1) 6.39 6.45 6.42 6.33 6.55 96.63 9.66
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.18 0.22 0.27 0.18
กรอไหม(2) 6.45 6.45 6.40 6.55 6.48
เอาใจไสก รง(3) 0.23 0.20 0.23 0.28 0.21
กรอไหม(3) 6.40 6.32 6.52 6.48 6.44
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.05 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.21 0.20 0.24 0.23 4.46 0.22
กรอไหม(1) 6.34 6.39 6.41 6.54 6.47 128.04 6.40
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.21 0.26 0.24 0.23
กรอไหม(2) 6.37 6.43 6.48 6.41 6.37
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.21 0.22 0.23 0.22
กรอไหม(3) 6.27 6.41 6.37 6.34 6.38
เอาใจไสก รง(4) 0.21 0.24 0.19 0.22 0.25
กรอไหม(4) 6.55 6.42 6.38 6.32 6.39
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.04 0.04 0.05 0.22 0.04
111

ตารางที่ ก.10 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV)

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.26 0.28 0.24 3.69 0.25
กรอไหม(1) 6.45 6.45 6.47 6.33 6.52 96.31 6.42
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.23 0.26 0.26 0.24
กรอไหม(2) 6.42 6.33 6.42 6.52 6.34
เอาใจไสก รง(3) 0.26 0.22 0.24 0.25 0.26
กรอไหม(3) 6.42 6.45 6.32 6.43 6.44
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.03 0.04 0.05 0.22 0.04

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.19 0.21 0.27 0.29 3.38 0.23
กรอไหม(1) 6.35 6.34 6.37 6.43 6.42 95.55 6.37
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.24 0.21 0.24 0.21
กรอไหม(2) 6.28 6.43 6.31 6.35 6.38
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.21 0.26 0.20 0.23
กรอไหม(3) 6.44 6.32 6.38 6.33 6.42
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.03 0.04 0.05 0.21 0.04

ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.23 0.29 0.24 0.26 3.56 0.24
กรอไหม(1) 6.35 6.33 6.32 6.40 6.34 95.09 6.34
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.21 0.25 0.23 0.22
กรอไหม(2) 6.33 6.34 6.26 6.42 6.23
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.23 0.25 0.22 0.23
กรอไหม(3) 6.33 6.42 6.35 6.33 6.34
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.05 0.04 0.05 0.23 0.05

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.23 0.24 0.20 0.21 2.15 0.22
กรอไหม(1) 6.34 6.29 6.32 6.33 6.37 63.21 6.32
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.19 0.19 0.25 0.20
กรอไหม(2) 6.32 6.32 6.35 6.32 6.25
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.04 0.04 0.05 0.21 0.04

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.16 0.19 0.23 0.21 3.13 0.21
กรอไหม(1) 6.23 6.30 6.34 6.37 6.25 95.26 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.21 0.26 0.18 0.21
กรอไหม(2) 6.35 6.36 6.22 6.38 6.44
เอาใจไสก รง(3) 0.23 0.22 0.21 0.18 0.20
กรอไหม(3) 6.32 6.37 6.32 6.47 6.54
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.05 0.05 0.05 0.22 0.04
112

ตารางที่ ก.11 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 1 (TV)


ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.21 0.22 0.21 0.21 3.40 0.23
กรอไหม(1) 6.37 6.34 6.34 6.27 6.39 95.37 6.36
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.23 0.26 0.23 0.22
กรอไหม(2) 6.34 6.47 6.42 6.34 6.38
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.23 0.23 0.24 0.22
กรอไหม(3) 6.43 6.26 6.35 6.32 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.05 0.03 0.05 0.21 0.04

ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.25 0.26 0.22 2.34 0.23
กรอไหม(1) 6.54 6.35 6.37 6.37 6.38 63.87 6.39
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.21 0.24 0.22 0.24
กรอไหม(2) 6.37 6.42 6.32 6.40 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.03 0.04 0.05 0.22 0.04

ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.16 0.19 0.18 0.19 0.26 2.15 0.22
กรอไหม(1) 6.34 6.38 6.44 6.51 6.48 64.03 6.40
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.24 0.25 0.21 0.26
กรอไหม(2) 6.42 6.35 6.42 6.34 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.05 0.04 0.05 0.21 0.04

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.21 0.26 0.19 0.20 3.50 0.23
กรอไหม(1) 6.26 6.43 6.33 6.34 6.45 95.26 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.22 0.25 0.26 0.21
กรอไหม(2) 6.27 6.22 6.38 6.28 6.54
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.21 0.26 0.27 0.29
กรอไหม(3) 6.33 6.37 6.41 6.32 6.33
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.04 0.04 0.03 0.20 0.04

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.21 0.22 0.24 0.27 3.43 0.23
กรอไหม(1) 6.37 6.34 6.54 6.44 6.38 96.04 6.40
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.24 0.26 0.22 0.20
กรอไหม(2) 6.28 6.47 6.42 6.42 6.38
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.23 0.23 0.20 0.25
กรอไหม(3) 6.43 6.42 6.35 6.45 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.06 0.05 0.06 0.05 0.26 0.05

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย ( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.22 0.24 0.23 2.24 0.22
กรอไหม(1) 6.34 6.32 6.42 6.37 6.44 63.56 6.36
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.24 0.22 0.21 0.23
กรอไหม(2) 6.43 6.34 6.47 6.19 6.24
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.03 0.04 0.03 0.04 0.19 0.04
113

ภาคผนวก ข
ขอมูลที่ไดจากการจับเวลาในการทํางานของเครื่องจักรเครื่องที่ 2
114

ตารางที่ ข.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (Wool)


ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.28 0.29 0.27 0.30 0.25 0.29 1.68 0.29
กรอไหม (1) 7.32 7.44 7.45 7.51 7.52 7.58 44.82 7.45
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.31 0.27 0.29 0.30 0.31 1.77
กรอไหม (2) 7.44 7.39 7.35 7.42 7.46 7.50 44.56
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.02 0.03 0.04 0.03 0.17 0.03

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.29 0.34 0.33 0.26 0.28 1.82 0.32
กรอไหม (1) 7.54 7.56 7.45 7.58 7.55 7.51 45.19 7.50
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.34 0.32 0.33 0.36 0.35 2.00
กรอไหม (2) 7.24 7.58 7.54 7.49 7.33 7.58 44.76
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.04 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.35 0.32 0.31 0.29 0.29 1.88 0.32
กรอไหม (1) 7.58 7.56 7.48 7.24 7.59 7.55 45.00 7.52
เอาใจไสก รง(2) 0.33 0.29 0.35 0.28 0.34 0.31 1.90
กรอไหม (2) 7.56 7.49 7.54 7.58 7.50 7.53 45.20
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.04 0.03 0.02 0.03 0.02 0.16 0.03

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.30 0.29 0.26 0.25 0.26 1.68 0.29
กรอไหม (1) 7.01 7.11 7.12 7.22 7.05 7.04 42.55 7.12
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.32 0.30 0.28 0.29 0.31 1.80
กรอไหม (2) 7.12 7.13 7.14 7.15 7.12 7.22 42.88
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.04 0.04 0.02 0.18 0.03

ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.35 0.29 0.27 0.26 0.29 1.78 0.27
กรอไหม (1) 7.11 7.04 7.05 7.22 7.03 7.00 42.45 7.08
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.26 0.24 0.25 0.23 0.27 1.50
กรอไหม (2) 7.01 7.05 7.08 7.14 7.13 7.11 42.52
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.04 0.03 0.03 0.18 0.03

ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.28 0.24 0.25 0.26 0.25 1.60 0.24
กรอไหม (1) 7.02 7.05 7.10 7.01 7.13 7.20 42.51 7.08
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.22 0.24 0.22 0.21 1.29
กรอไหม (2) 7.05 7.10 7.12 7.06 7.02 7.14 42.49
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.04 0.03 0.05 0.03 0.22 0.04
115

ตารางที่ ข.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (Wool)


ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.29 0.26 0.25 0.26 0.27 1.63 0.28
กรอไหม (1) 7.12 7.13 7.14 7.04 7.22 7.04 42.69 7.11
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.28 0.31 0.28 0.32 0.24 1.72
กรอไหม (2) 7.24 7.12 7.06 7.04 7.08 7.12 42.66
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.03 0.03 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.30 0.31 0.26 0.27 0.26 1.72 0.26
กรอไหม (1) 7.04 7.08 7.11 7.24 7.23 7.14 42.84 7.15
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.23 0.21 0.20 0.25 0.24 1.35
กรอไหม (2) 7.22 7.15 7.13 7.24 7.11 7.15 43.00
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.03 0.03 0.02 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.29 0.26 0.28 0.27 0.25 1.65 0.25
กรอไหม (1) 7.01 7.05 7.21 7.05 7.09 7.17 42.58 7.12
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.22 0.25 0.24 0.23 0.20 1.35
กรอไหม (2) 7.07 7.12 7.22 7.28 7.02 7.11 42.82
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.05 0.02 0.03 0.03 0.20 0.03

ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.24 0.23 0.25 0.27 0.28 1.53 0.26
กรอไหม (1) 7.04 7.09 7.18 7.09 7.04 7.23 42.67 7.13
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.25 0.26 0.24 0.28 0.22 1.57
กรอไหม (2) 7.14 7.32 7.28 7.11 7.02 7.03 42.90
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.04 0.03 0.03 0.20 0.03

ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.21 0.25 0.23 0.26 0.23 1.43 0.23
กรอไหม (1) 7.10 7.22 7.14 7.02 7.08 7.22 42.78 7.19
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.21 0.25 0.23 0.22 0.19 1.34
กรอไหม (2) 7.48 7.25 7.29 7.04 7.17 7.22 43.45
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.02 0.03 0.03 0.02 0.19 0.03

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.19 0.17 0.18 0.25 0.23 1.23 0.22
กรอไหม (1) 7.24 7.32 7.23 7.11 7.25 7.03 43.18 7.17
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.19 0.18 0.25 0.27 0.29 1.41
กรอไหม (2) 7.11 7.09 7.04 7.28 7.18 7.21 42.91
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.04 0.03 0.02 0.03 0.19 0.03
116

ตารางที่ ข.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (Wool)


ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.23 0.26 0.23 0.22 0.25 1.43 0.24
กรอไหม(1) 7.15 7.16 7.56 7.48 7.24 7.03 43.62 7.24
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.23 0.25 0.23 0.26 0.31 1.49
กรอไหม(2) 7.34 7.44 7.04 7.08 7.20 7.13 43.23
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.04 0.04 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.23 0.26 0.23 0.22 0.25 1.43 0.24
กรอไหม(1) 7.15 7.16 7.56 7.48 7.24 7.03 43.62 7.22
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.23 0.25 0.23 0.26 0.31 1.49
กรอไหม(2) 7.32 7.22 7.04 7.08 7.20 7.13 42.99
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.02 0.03 0.04 0.19 0.03

ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.25 0.27 0.21 0.19 0.30 1.44 0.25
กรอไหม(1) 7.16 7.24 7.36 7.24 7.12 6.58 42.70 7.13
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.23 0.32 0.26 0.27 0.25 1.54
กรอไหม(2) 7.03 7.12 7.06 7.06 7.22 7.41 42.90
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.03 0.03 0.04 0.18 0.03

ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.19 0.18 0.24 0.19 0.25 1.28 0.23
กรอไหม(1) 7.02 7.11 7.03 7.15 7.09 7.23 42.63 7.12
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.26 0.27 0.21 0.27 0.25 1.50
กรอไหม(2) 7.11 7.32 7.03 7.05 7.01 7.34 42.86
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.03 0.04 0.02 0.19 0.03

ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.25 0.24 0.27 0.29 0.26 1.52 0.25
กรอไหม(1) 7.02 7.22 7.48 7.34 7.26 7.20 43.52 7.28
เอาใจไสก รง(2) 0.27 0.23 0.28 0.24 0.24 0.26 1.52
กรอไหม(2) 7.32 7.54 7.51 7.16 7.06 7.29 43.88
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.04 0.03 0.02 0.18 0.03

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.23 0.20 0.21 0.32 0.27 1.48 0.24
กรอไหม(1) 7.29 7.47 7.48 7.00 7.57 7.49 44.30 7.25
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.25 0.22 0.28 0.19 0.19 1.35
กรอไหม(2) 7.16 7.28 7.15 7.00 7.01 7.05 42.65
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.04 0.03 0.04 0.21 0.04
117

ตารางที่ ข.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (Wool)


ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.27 0.26 0.21 0.27 0.25 1.48 0.25
กรอไหม(1) 7.12 7.10 7.11 7.03 7.56 7.32 43.24 7.16
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.27 0.27 0.21 0.32 0.28 1.56
กรอไหม(2) 7.10 7.11 7.23 7.10 7.00 7.17 42.71
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.03 0.02 0.04 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.20 0.21 0.25 0.27 0.28 0.26 1.47 0.24
กรอไหม(1) 7.12 7.11 7.38 7.32 7.11 7.00 43.04 7.18
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.21 0.27 0.23 0.24 0.23 1.42
กรอไหม(2) 7.13 7.23 7.22 7.05 7.26 7.28 43.17
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.04 0.04 0.03 0.04 0.22 0.04

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.21 0.27 0.24 0.25 0.22 1.42 0.24
กรอไหม(1) 7.04 7.05 7.01 7.31 7.43 7.56 43.40 7.19
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.27 0.21 0.22 0.25 0.22 1.40
กรอไหม(2) 7.54 7.03 7.12 7.11 7.09 7.00 42.89
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.04 0.03 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.25 0.27 0.23 0.21 0.23 1.40 0.26
กรอไหม(1) 7.14 7.02 7.11 7.25 7.24 7.25 43.01 7.18
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.25 0.23 0.27 0.28 0.27 1.55
กรอไหม(2) 7.47 7.11 7.20 7.04 7.05 7.25 43.12
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.03 0.03 0.02 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.24 0.23 0.24 0.21 0.19 1.34 0.23
กรอไหม(1) 7.06 7.02 7.00 7.13 7.12 6.53 41.86 7.10
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.20 0.19 0.26 0.28 0.26 1.40
กรอไหม(2) 7.34 7.31 7.25 7.23 7.03 7.19 43.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.03 0.03 0.02 0.02 0.17 0.03

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.19 0.18 0.23 0.18 0.19 1.18 0.23
กรอไหม(1) 7.24 7.31 7.12 7.16 7.05 7.00 42.88 7.18
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.27 0.22 0.26 0.25 0.26 1.52
กรอไหม(2) 7.12 7.21 7.18 7.13 7.30 7.29 43.23
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.02 0.03 0.04 0.19 0.03
118

ตารางที่ ข.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (Wool)


ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.25 0.27 0.21 0.19 0.19 1.34 0.24
กรอไหม(1) 7.14 7.21 7.00 7.10 7.16 7.02 42.63 7.13
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.32 0.26 0.27 0.17 0.28 1.51
กรอไหม(2) 7.19 7.21 7.01 7.35 7.21 7.00 42.97
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.04 0.03 0.04 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.29 0.24 0.27 0.26 0.24 0.19 1.49 0.26
กรอไหม(1) 7.00 7.02 7.32 7.23 7.10 7.21 42.88 7.15
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.26 0.43 0.19 0.32 0.23 1.68
กรอไหม(2) 7.15 7.54 7.06 7.08 7.05 7.02 42.90
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.04 0.03 0.04 0.03 0.21 0.04

ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.20 0.26 0.24 0.32 0.27 1.53 0.25
กรอไหม(1) 7.12 7.25 7.26 7.06 7.01 7.21 42.91 7.21
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.23 0.26 0.25 0.21 0.24 1.44
กรอไหม(2) 7.12 7.04 7.24 7.58 7.53 7.09 43.60
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.04 0.02 0.03 0.02 0.18 0.03

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.21 0.26 0.24 0.28 0.19 1.41 0.24
กรอไหม(1) 7.00 7.14 7.21 7.20 7.32 7.54 43.41 7.185
เอาใจไสก รง(2) 0.27 0.25 0.22 0.26 0.21 0.27 1.48
กรอไหม(2) 7.08 7.01 7.35 7.02 7.12 7.23 42.81
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.04 0.04 0.03 0.02 0.18 0.03

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.25 0.24 0.19 0.24 0.23 1.40 0.22
กรอไหม(1) 7.12 7.00 7.15 7.09 7.05 7.56 42.97 7.19
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.18 0.22 0.21 0.24 0.23 1.27
กรอไหม(2) 7.04 7.18 7.54 7.11 7.19 7.21 43.27
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.04 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.26 0.21 0.25 0.27 0.19 1.43 0.23
กรอไหม(1) 7.00 7.32 7.12 7.24 7.22 7.56 43.46 7.21
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.19 0.21 0.26 0.25 0.21 1.30
กรอไหม(2) 7.01 7.02 7.21 7.31 7.26 7.25 43.06
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.04 0.03 0.03 0.04 0.03 0.19 0.03
119

ตารางที่ ข.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV)

ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.23 0.22 0.24 0.25 0.26 1.44 0.24
กรอไหม(1) 6.22 6.21 6.23 6.21 6.23 6.27 37.37 6.22
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.24 0.25 0.26 0.22 0.24 1.47
กรอไหม(2) 6.21 6.13 6.15 6.26 6.25 6.28 37.28
เอาใจไสก รง(3) 0.25 0.28 0.24 0.22 0.24 0.20 1.43
กรอไหม(3) 6.21 6.21 6.23 6.21 6.22 6.24 37.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.06 0.04 0.05 0.05 0.04 0.29 0.05

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.24 0.23 0.22 0.25 0.27 1.40 0.23
กรอไหม(1) 6.24 6.25 6.28 6.24 6.27 6.41 37.69 6.27
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.20 0.22 0.21 0.24 0.23 1.28
กรอไหม(2) 6.32 6.22 6.25 6.25 6.24 6.25 37.53
เอาใจไสก รง(3) 0.25 0.24 0.22 0.26 0.22 0.21 1.40
กรอไหม(3) 6.25 6.29 6.28 6.25 6.29 6.34 37.70
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.05 0.05 0.04 0.05 0.06 0.28 0.05

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.25 0.18 0.21 0.22 0.21 1.31 0.18
กรอไหม(1) 6.22 6.24 6.23 6.25 6.21 6.22 37.37 6.28
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.21 0.19 0.18 0.20 0.19 1.21
กรอไหม(2) 6.28 6.29 6.30 6.31 6.30 6.28 37.76
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.22 0.21 0.24 0.23 0.20 1.31
กรอไหม(3) 6.25 6.34 6.32 6.32 6.32 6.33 37.88
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.05 0.04 0.05 0.05 0.28 0.05

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.19 0.17 0.20 0.21 0.23 1.18 0.21
กรอไหม(1) 6.30 6.28 6.25 6.31 6.28 6.30 37.72 6.29
เอาใจไสก รง(2) 0.20 0.21 0.19 0.22 0.23 0.25 1.30
กรอไหม(2) 6.32 6.21 6.28 6.30 6.26 6.29 37.66
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.22 0.24 0.26 0.25 0.23 1.38
กรอไหม(3) 6.30 6.32 6.31 6.31 6.32 6.32 37.88
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.04 0.04 0.05 0.04 0.26 0.04

ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.29 0.30 0.25 0.21 0.24 1.55 0.25
กรอไหม(1) 6.22 6.32 6.35 6.24 6.24 6.27 37.64 6.31
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.29 0.21 0.25 0.22 0.21 1.42
กรอไหม(2) 6.29 6.41 6.39 6.41 6.23 6.38 38.11
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.05 0.04 0.04 0.04 0.05 0.27 0.05
120

ตารางที่ ข.7 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV)


ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.23 0.21 0.24 0.20 0.19 1.32 0.22
กรอไหม (1) 6.38 6.41 6.29 6.35 6.37 6.40 38.20 6.37
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.22 0.23 0.24 0.22 0.26 1.38
กรอไหม (2) 6.38 6.31 6.34 6.33 6.39 6.41 38.16
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.19 0.18 0.24 0.23 0.15 1.20
กรอไหม (3) 6.41 6.29 6.43 6.44 6.45 6.35 38.37
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.04 0.05 0.05 0.04 0.27 0.05

ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.22 0.21 0.22 0.25 1.14 0.21
กรอไหม (1) 6.35 6.34 6.41 6.42 6.39 31.91 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.22 0.18 0.19 0.99
กรอไหม (2) 6.32 6.25 6.28 6.29 6.31 31.45
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.22 0.21 0.23 0.18 1.03
กรอไหม (3) 6.29 6.40 6.42 6.45 6.35 31.91
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.06 0.05 0.04 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.19 0.21 0.22 0.23 1.06 0.22
กรอไหม (1) 6.33 6.34 6.35 6.41 6.40 31.83 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.22 0.24 0.19 0.22 1.10
กรอไหม (2) 6.34 6.35 6.38 6.33 6.25 31.65
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.21 0.18 0.19 0.22 0.98
กรอไหม (3) 6.25 6.29 6.27 6.30 6.34 31.45
เอาใจไสก รง(4) 0.22 0.24 0.27 0.24 0.23 1.20
กรอไหม (4) 6.35 6.42 6.48 6.49 6.32 32.06
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.06 0.04 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.22 0.19 0.21 0.22 1.02 0.21
กรอไหม (1) 6.39 6.38 6.27 6.29 6.33 31.66 6.33
เอาใจไสก รง(2) 0.20 0.21 0.22 0.21 0.21 1.05
กรอไหม (2) 6.34 6.32 6.33 6.37 6.38 31.74
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.19 0.18 0.20 0.21 1.00
กรอไหม (3) 6.34 6.29 6.28 6.27 6.31 31.49
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.04 0.06 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.22 0.21 0.20 0.21 1.03 0.21
กรอไหม (1) 6.32 6.25 6.29 6.31 6.24 31.41 6.30
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.20 0.21 0.19 0.21 1.02
กรอไหม (2) 6.35 6.32 6.29 6.28 6.24 31.48
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.21 0.23 0.24 0.22 1.08
กรอไหม (3) 6.32 6.38 6.31 6.29 6.28 31.58
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.05 0.04 0.05 0.23 0.05
121

ตารางที่ ข.8 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV)


ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.24 0.23 0.26 1.16 0.23
กรอไหม(1) 6.35 6.32 6.34 6.38 6.40 31.79 6.35
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.25 0.24 0.23 0.27 1.23
กรอไหม(2) 6.32 6.34 6.35 6.41 6.35 31.77
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.20 0.19 0.21 0.22 1.06
กรอไหม(3) 6.39 6.38 6.37 6.29 6.31 31.74
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.06 0.04 0.05 0.06 0.26 0.05

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.21 0.24 0.21 1.11 0.23
กรอไหม(1) 6.32 6.35 6.38 6.34 6.39 31.78 6.34
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.22 0.24 0.23 0.24 1.17
กรอไหม(2) 6.34 6.38 6.35 6.34 6.40 31.81
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.25 0.22 0.21 0.24 1.16
กรอไหม(3) 6.31 6.30 6.32 6.25 6.29 31.47
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.05 0.04 0.04 0.22 0.04

ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.23 0.23 0.24 0.21 0.27 1.37 0.23
กรอไหม(1) 6.34 6.32 6.35 6.31 6.29 6.30 37.91 6.3
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.19 0.24 0.23 0.21 0.25 1.34
กรอไหม(2) 6.31 6.32 6.29 6.34 6.41 6.28 37.95
เอาใจไสก รง(3) 0.23 0.25 0.22 0.24 0.24 0.21 1.39
กรอไหม(3) 6.30 6.21 6.25 6.28 6.29 6.27 37.60
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.05 0.04 0.04 0.06 0.05 0.29 0.05

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.25 0.31 0.25 0.26 0.29 1.62 0.27
กรอไหม(1) 6.33 6.36 6.40 6.26 6.38 6.34 38.07 6.35
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.05 0.03 0.06 0.05 0.29 0.05

ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.21 0.24 0.21 0.26 1.37 0.23
กรอไหม(1) 6.39 6.38 6.33 6.33 6.35 6.34 38.12 6.32
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.22 0.24 0.23 0.24 0.25 1.42
กรอไหม(2) 6.35 6.34 6.34 6.30 6.31 6.29 37.93
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.25 0.22 0.21 0.24 0.21 1.37
กรอไหม(3) 6.34 6.35 6.29 6.28 6.27 6.25 37.78
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.05 0.05 0.06 0.04 0.28 0.05

ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.21 0.24 0.21 0.26 1.37 0.23
กรอไหม(1) 6.31 6.25 6.30 6.28 6.28 6.27 37.69 6.33
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.22 0.24 0.23 0.24 0.25 1.42
กรอไหม(2) 6.38 6.37 6.35 6.32 6.40 6.39 38.21
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.05 0.04 0.04 0.06 0.06 0.30 0.05
122

ตารางที่ ข.9 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV)

ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.23 0.20 0.19 0.20 1.25 0.21
กรอไหม(1) 6.23 6.24 6.26 6.25 6.28 6.28 37.54 6.26
เอาใจไสก รง(2) 0.20 0.21 0.22 0.23 0.21 0.24 1.31
กรอไหม(2) 6.24 6.28 6.23 6.27 6.29 6.40 37.71
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.22 0.19 0.18 0.23 0.18 1.21
กรอไหม(3) 6.24 6.23 6.24 6.25 6.25 6.28 37.49
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.05 0.04 0.06 0.05 0.27 0.05

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.20 0.21 0.20 0.19 0.20 1.24 0.21
กรอไหม(1) 6.29 6.35 6.32 6.42 6.29 6.39 38.06 6.33
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.24 0.22 0.23 0.21 0.23 1.32
กรอไหม(2) 6.29 6.26 6.34 6.37 6.28 6.32 37.86
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.05 0.03 0.04 0.06 0.04 0.28 0.05

ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.21 0.24 0.21 0.26 1.37 0.23
กรอไหม(1) 6.31 6.25 6.30 6.28 6.28 6.27 37.69 6.32
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.22 0.24 0.23 0.24 0.25 1.42
กรอไหม(2) 6.38 6.37 6.35 6.32 6.40 6.39 38.21
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.25 0.22 0.21 0.24 0.21 1.37
กรอไหม(3) 6.31 6.35 6.32 6.37 6.30 6.29 37.94
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.05 0.04 0.04 0.06 0.06 0.30 0.05

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.28 0.26 0.27 0.26 1.50 0.23
กรอไหม(1) 6.34 6.31 6.29 6.34 6.26 6.25 37.79 6.33
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.20 0.26 0.25 0.25 0.22 1.41
กรอไหม(2) 6.35 6.30 6.42 6.29 6.29 6.43 38.08
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.20 0.21 0.21 0.23 0.23 1.27
กรอไหม(3) 6.22 6.32 6.34 6.31 6.38 6.43 38.00
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.06 0.05 0.04 0.04 0.05 0.30 0.05

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.21 0.26 0.23 0.27 0.24 1.46 0.23
กรอไหม(1) 6.22 6.25 6.29 6.27 6.30 6.29 37.62 6.26
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.18 0.19 0.21 0.19 0.23 1.19
กรอไหม(2) 6.27 6.28 6.22 6.23 6.24 6.22 37.46
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.25 0.28 0.25 0.24 0.21 1.45
กรอไหม(3) 6.25 6.25 6.28 6.27 6.26 6.28 37.59
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.31 0.05
123

ตารางที่ ข.10 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV)


ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.23 0.21 0.19 0.21 0.20 1.25 0.21
กรอไหม(1) 6.21 6.32 6.22 6.21 6.32 6.30 37.58 6.31
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.19 0.19 0.18 0.20 0.26 1.23
กรอไหม(2) 6.45 6.38 6.41 6.39 6.30 6.32 38.25
เอาใจไสก รง(3) 0.20 0.21 0.29 0.23 0.25 0.19 1.37
กรอไหม(3) 6.30 6.24 6.32 6.33 6.24 6.29 37.72
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.05 0.04 0.04 0.04 0.24 0.04

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม เฉลี่ย
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.21 0.23 0.21 0.26 0.21 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
กรอไหม(1) 6.21 6.22 6.24 6.23 6.21 6.30 37.41 6.28
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.20 0.19 0.18 0.19 0.26 1.23
กรอไหม(2) 6.34 6.32 6.33 6.22 6.32 6.32 37.85
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.21 0.29 0.20 0.25 0.19 1.33
กรอไหม(3) 6.25 6.26 6.28 6.30 6.28 6.32 37.69
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.05 0.05 0.04 0.05 0.05 0.30 0.05

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.20 0.21 0.19 0.22 0.19 1.01 0.20
กรอไหม(1) 6.27 6.25 6.22 6.24 6.28 31.26 6.26
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.21 0.19 0.20 1.00
กรอไหม(2) 6.21 6.29 6.30 6.28 6.25 31.33
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.19 0.21 0.21 0.18 0.98
กรอไหม(3) 6.29 6.23 6.25 6.27 6.28 31.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.05 0.06 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.20 0.18 0.21 0.23 1.01 0.21
กรอไหม(1) 6.28 6.34 6.38 6.27 6.26 31.53 6.31
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.19 0.20 0.18 0.21 0.99
กรอไหม(2) 6.29 6.35 6.30 6.31 6.23 31.48
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.20 0.21 0.29 0.18 1.09
กรอไหม(3) 6.32 6.38 6.27 6.28 6.33 31.58
เปลี่ยนหลอดใหม 0.06 0.04 0.05 0.04 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.25 0.22 0.26 0.22 0.20 1.36 0.22
กรอไหม(1) 6.23 6.24 6.30 6.31 6.25 6.30 37.63 6.24
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.20 0.19 0.18 0.20 0.19 1.20
กรอไหม(2) 6.22 6.23 6.19 6.24 6.25 6.23 37.36
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.22 0.29 0.24 0.21 0.23 1.40
กรอไหม(3) 6.21 6.22 6.24 6.23 6.20 6.23 37.33
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.06 0.05 0.04 0.05 0.04 0.28 0.05
124

ตารางที่ ข.11 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 2 (TV)


ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.21 0.19 0.22 0.23 0.28 1.32 0.22
กรอไหม(1) 6.32 6.28 6.31 6.27 6.29 6.32 37.79 6.30
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.06 0.04 0.05 0.05 0.29 0.05

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.21 0.19 0.19 0.18 0.99 0.20
กรอไหม(1) 6.22 6.23 6.28 6.23 6.28 31.24 6.23
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.19 0.19 0.20 0.98
กรอไหม(2) 6.24 6.23 6.21 6.29 6.24 31.21
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.21 0.21 0.22 0.20 1.03
กรอไหม(3) 6.23 6.24 6.15 6.30 6.12 31.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.05 0.04 0.06 0.04 0.05 0.24 0.05

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.19 0.18 0.19 0.20 0.97 0.21
กรอไหม(1) 6.20 6.19 6.23 6.22 6.30 31.14 6.23
เอาใจไสก รง(2) 0.22 0.23 0.27 0.21 0.20 1.13
กรอไหม(2) 6.24 6.23 6.30 6.15 6.24 31.16
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.21 0.21 0.22 0.19 1.01
กรอไหม(3) 6.32 6.21 6.23 6.17 6.25 31.18
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.03 0.05 0.04 0.21 0.04

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.23 0.24 0.19 0.20 0.18 1.25 0.21
กรอไหม(1) 6.47 6.22 6.29 6.54 6.54 6.45 38.51 6.43
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.23 0.22 0.21 0.19 0.18 1.24
กรอไหม(2) 6.34 6.45 6.43 6.39 6.43 6.54 38.58
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.21 0.19 0.22 0.20 0.23 1.23
กรอไหม(3) 6.43 6.38 6.45 6.54 6.32 6.44 38.56
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.05 0.05 0.04 0.06 0.05 0.29 0.05
125

ภาคผนวก ค
ขอมูลที่ไดจากการจับเวลาในการทํางานของเครื่องจักรเครื่องที่ 3
126

ตารางที่ ค.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (Wool)

ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.27 0.35 0.28 0.33 0.45 5.01 0.33
กรอไหม(1) 6.05 6.48 6.05 6.11 6.18 91.83 6.12
เอาใจไสก รง(2) 0.31 0.30 0.30 0.37 0.29
กรอไหม(2) 6.12 6.03 6.04 6.03 6.11
เอาใจไสก รง(3) 0.31 0.28 0.37 0.36 0.44
กรอไหม(3) 6.52 6.17 5.52 6.38 6.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.03 0.02 0.03 0.12 0.02

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.40 0.27 0.39 0.32 0.41 5.49 0.37
กรอไหม(1) 6.13 6.11 6.03 6.14 6.07 91.41 6.09
เอาใจไสก รง(2) 0.38 0.38 0.35 0.30 0.40
กรอไหม(2) 6.08 6.05 6.03 6.09 6.11
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.37 0.33 0.42 0.37
กรอไหม(3) 6.18 6.05 6.13 6.17 6.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.37 0.27 0.38 0.32 0.34 5.34 0.36
กรอไหม(1) 6.14 5.53 6.03 6.16 6.04 93.03 6.20
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.41 0.36 0.42 0.37
กรอไหม(2) 6.11 6.02 6.03 6.23 7.31
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.41 0.35 0.34 0.30
กรอไหม(3) 7.08 6.17 6.01 6.10 6.07
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.02 0.03 0.02 0.11 0.02

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.32 0.26 0.25 0.36 4.44 0.30
กรอไหม(1) 6.05 6.13 6.17 6.20 6.02 91.93 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.31 0.34 0.30 0.41
กรอไหม(2) 6.21 6.01 6.05 6.38 6.19
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.29 0.27 0.28 0.29
กรอไหม(3) 6.21 6.02 6.12 6.09 6.08
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.02 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.27 0.35 0.28 0.33 0.35 4.88 0.33
กรอไหม(1) 6.05 6.48 6.05 6.11 6.18 91.82 6.12
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.32 0.30 0.37 0.29
กรอไหม(2) 6.12 6.03 6.04 6.03 6.11
เอาใจไสก รง(3) 0.31 0.28 0.37 0.36 0.40
กรอไหม(3) 6.52 6.17 5.52 6.39 6.02
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.03 0.02 0.04 0.13 0.03
127

ตารางที่ ค.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (Wool)

ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.40 0.27 0.39 0.32 0.41 5.49 0.37
กรอไหม(1) 6.13 6.11 6.03 6.14 6.07 91.41 6.09
เอาใจไสก รง(2) 0.38 0.38 0.35 0.30 0.40
กรอไหม(2) 6.08 6.05 6.03 6.09 6.11
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.37 0.33 0.42 0.37
กรอไหม(3) 6.18 6.05 6.13 6.17 6.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.42 0.27 0.38 0.32 0.34 5.41 0.36
กรอไหม(1) 6.14 5.53 6.03 6.16 6.04 91.03 6.07
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.41 0.36 0.42 0.37
กรอไหม(2) 6.11 6.02 6.03 6.23 6.31
เอาใจไสก รง(3) 0.43 0.40 0.35 0.34 0.30
กรอไหม(3) 6.08 6.17 6.01 6.10 6.07
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.32 0.26 0.25 0.36 4.13 0.28
กรอไหม(1) 6.05 6.03 6.17 6.20 6.02 91.83 6.12
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.20 0.34 0.30 0.26
กรอไหม(2) 6.21 6.01 6.05 6.38 6.19
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.29 0.27 0.28 0.29
กรอไหม(3) 6.21 6.02 6.12 6.09 6.08
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.02 0.04 0.02 0.13 0.03

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.30 0.41 0.34 0.29 4.77 0.32
กรอไหม(1) 6.09 6.34 6.14 6.22 6.05 92.12 6.14
เอาใจไสก รง(2) 0.27 0.36 0.31 0.28 0.39
กรอไหม(2) 6.10 6.03 6.21 6.19 6.03
เอาใจไสก รง(3) 0.37 0.33 0.28 0.26 0.33
กรอไหม(3) 6.25 6.22 6.12 6.02 6.11
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.03 0.13 0.03

ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.33 0.27 0.25 0.32 0.40 4.85 0.32
กรอไหม(1) 6.19 6.01 6.04 6.05 6.26 91.25 6.08
เอาใจไสก รง(2) 0.39 0.36 0.29 0.30 0.33
กรอไหม(2) 6.12 6.05 6.20 6.13 6.22
เอาใจไสก รง(3) 0.34 0.30 0.39 0.27 0.31
กรอไหม(3) 6.21 5.57 6.12 6.01 6.07
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.03 0.03 0.16 0.03
128

ตารางที่ ค.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (Wool)


ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.42 0.29 0.36 0.26 0.38 4.73 0.32
กรอไหม(1) 6.10 6.14 6.14 6.32 6.24 92.13 6.14
เอาใจไสก รง(2) 0.33 0.28 0.29 0.25 0.31
กรอไหม(2) 6.05 6.26 6.18 6.03 6.19
เอาใจไสก รง(3) 0.38 0.32 0.27 0.30 0.29
กรอไหม(3) 6.02 6.25 6.11 6.05 6.05
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.02 0.03 0.13 0.03

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.29 0.40 0.35 0.27 4.92 0.33
กรอไหม(1) 6.05 6.21 6.11 6.09 6.16 91.95 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.28 0.39 0.34 0.27 0.30
กรอไหม(2) 6.12 6.08 6.25 6.13 6.06
เอาใจไสก รง(3) 0.31 0.25 0.38 0.41 0.36
กรอไหม(3) 6.14 6.07 6.09 6.23 6.16
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.04 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.40 0.27 0.39 0.32 0.41 5.49 0.37
กรอไหม(1) 6.13 6.11 6.03 6.14 6.07 91.41 6.09
เอาใจไสก รง(2) 0.38 0.38 0.35 0.30 0.40
กรอไหม(2) 6.08 6.05 6.03 6.09 6.11
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.37 0.33 0.42 0.37
กรอไหม(3) 6.18 6.05 6.13 6.17 6.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.29 0.33 0.36 0.29 0.40 5.03 0.34
กรอไหม(1) 6.17 6.05 6.24 6.14 6.09 91.97 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.30 0.33 0.41 0.28 0.34
กรอไหม(2) 6.19 6.07 6.11 6.21 6.02
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.35 0.29 0.36 0.30
กรอไหม(3) 6.04 6.19 6.13 6.25 6.07
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.04 0.02 0.14 0.03

ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.40 0.28 0.36 0.29 0.30 4.93 0.33
กรอไหม(1) 6.06 6.15 6.24 6.09 6.12 92.03 6.14
เอาใจไสก รง(2) 0.38 0.31 0.27 0.41 0.30
กรอไหม(2) 6.13 6.05 6.24 6.17 6.05
เอาใจไสก รง(3) 0.29 0.35 0.28 0.40 0.31
กรอไหม(3) 6.06 6.18 6.20 6.04 6.25
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.02 0.02 0.03 0.12 0.02
129

ตารางที่ ค.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (Wool)


ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.34 0.27 0.36 0.31 0.29 4.98 0.33
กรอไหม(1) 6.09 6.16 6.22 6.08 6.13 92.06 6.14
เอาใจไสก รง(2) 0.38 0.32 0.37 0.27 0.41
กรอไหม(2) 6.11 6.01 6.07 6.24 6.19
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.32 0.28 0.35 0.31
กรอไหม(3) 6.13 6.06 6.15 6.24 6.18
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.04 0.14 0.03

ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.39 0.29 0.35 0.31 0.28 5.07 0.34
กรอไหม(1) 6.05 6.17 6.22 6.03 6.19 91.94 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.37 0.30 0.27 0.40 0.33
กรอไหม(2) 6.15 6.04 6.26 6.07 6.16
เอาใจไสก รง(3) 0.36 0.33 0.40 0.39 0.30
กรอไหม(3) 6.20 6.05 6.12 6.09 6.14
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.33 0.28 0.35 0.30 0.28 4.95 0.33
กรอไหม(1) 6.11 6.25 6.20 6.01 6.13 91.91 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.37 0.27 0.34 0.28 0.40
กรอไหม(2) 6.22 6.10 6.06 6.05 6.19
เอาใจไสก รง(3) 0.35 0.31 0.29 0.39 0.41
กรอไหม(3) 6.07 6.14 6.12 6.23 6.03
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.02 0.03 0.03 0.02 0.14 0.03

ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.38 0.32 0.27 0.28 0.34 4.99 0.33
กรอไหม(1) 6.08 6.10 6.18 6.24 6.02 91.96 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.36 0.40 0.32 0.29 0.38
กรอไหม(2) 6.14 6.04 6.10 6.22 6.19
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.34 0.26 0.29 0.36
กรอไหม(3) 6.26 6.17 6.05 6.03 6.14
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.35 0.27 0.38 0.41 0.29 4.98 0.33
กรอไหม(1) 6.07 6.12 6.05 6.20 6.12 91.75 6.12
เอาใจไสก รง(2) 0.37 0.31 0.27 0.30 0.40
กรอไหม(2) 6.15 6.08 6.26 6.13 6.01
เอาใจไสก รง(3) 0.40 0.34 0.33 0.27 0.29
กรอไหม(3) 6.11 6.21 6.07 6.04 6.13
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.03 0.13 0.03
130

ตารางที่ ค.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (Wool)

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.36 0.29 0.30 0.40 0.31 4.92 0.33
กรอไหม(1) 6.08 6.23 6.14 6.09 6.12 91.89 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.37 0.34 0.27 0.35 0.40
กรอไหม(2) 6.06 6.17 6.23 6.12 6.02
เอาใจไสก รง(3) 0.35 0.30 0.29 0.27 0.32
กรอไหม(3) 6.02 6.16 6.12 6.25 6.08
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.02 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.35 0.28 0.29 0.33 0.40 5.03 0.34
กรอไหม(1) 6.15 6.04 6.02 6.19 6.11 91.58 6.11
เอาใจไสก รง(2) 0.40 0.35 0.29 0.37 0.32
กรอไหม(2) 6.02 6.17 6.20 6.09 6.01
เอาใจไสก รง(3) 0.34 0.40 0.32 0.29 0.30
กรอไหม(3) 6.11 6.15 6.08 6.21 6.03
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.04 0.02 0.14 0.03

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.40 0.32 0.38 0.28 0.31 5.19 0.35
กรอไหม(1) 6.16 6.05 6.24 6.09 6.18 91.91 6.13
เอาใจไสก รง(2) 0.36 0.30 0.27 0.38 0.42
กรอไหม(2) 6.01 6.18 6.14 6.21 6.09
เอาใจไสก รง(3) 0.37 0.34 0.30 0.41 0.35
กรอไหม(3) 6.01 6.20 6.18 6.15 6.02
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.04 0.14 0.03

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.41 0.28 0.36 0.32 0.30 5.03 0.34
กรอไหม(1) 6.02 6.11 6.21 6.13 6.07 91.59 6.11
เอาใจไสก รง(2) 0.35 0.30 0.37 0.28 0.39
กรอไหม(2) 6.18 6.14 6.05 6.10 6.02
เอาใจไสก รง(3) 0.35 0.33 0.30 0.29 0.40
กรอไหม(3) 6.09 6.12 6.05 6.23 6.07
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.03 0.03 0.14 0.03

ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.39 0.29 0.31 0.40 0.35 5.04 0.34
กรอไหม(1) 6.03 6.23 6.14 6.01 6.10 91.65 6.11
เอาใจไสก รง(2) 0.38 0.35 0.28 0.29 0.39
กรอไหม(2) 6.05 6.18 6.20 6.03 6.08
เอาใจไสก รง(3) 0.34 0.38 0.29 0.27 0.33
กรอไหม(3) 6.12 6.21 6.15 6.05 6.07
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.04 0.03 0.03 0.02 0.14 0.03
131

ตารางที่ ค.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 3 (Wool)


ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.35 0.28 0.32 0.41 0.36 5.13 0.34
กรอไหม(1) 6.04 6.17 6.05 6.11 6.10 91.54 6.10
เอาใจไสก รง(2) 0.39 0.33 0.29 0.40 0.30
กรอไหม(2) 6.20 6.01 6.14 6.07 6.15
เอาใจไสก รง(3) 0.38 0.28 0.40 0.30 0.34
กรอไหม(3) 6.16 6.10 6.12 6.07 6.05
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.03 0.02 0.13 0.03

ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.36 0.29 0.33 0.38 0.40 5.10 0.34
กรอไหม(1) 6.02 6.15 6.04 6.13 6.08 91.55 6.10
เอาใจไสก รง(2) 0.37 0.31 0.29 0.29 0.34
กรอไหม(2) 6.10 6.07 6.06 6.18 6.24
เอาใจไสก รง(3) 0.39 0.28 0.29 0.37 0.41
กรอไหม(3) 6.08 6.11 6.15 6.05 6.09
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.41 0.29 0.36 0.37 0.36 5.07 0.34
กรอไหม(1) 6.13 6.16 6.20 6.02 6.07 91.76 6.12
เอาใจไสก รง(2) 0.39 0.36 0.29 0.28 0.32
กรอไหม(2) 6.09 6.17 6.07 6.25 6.05
เอาใจไสก รง(3) 0.35 0.32 0.40 0.27 0.30
กรอไหม(3) 6.10 6.20 6.08 6.05 6.12
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.02 0.03 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.35 0.39 0.32 0.40 0.29 5.02 0.33
กรอไหม(1) 6.04 6.16 6.20 6.01 6.15 91.76 6.12
เอาใจไสก รง(2) 0.41 0.31 0.28 0.34 0.38
กรอไหม(2) 6.18 6.01 6.13 6.19 6.11
เอาใจไสก รง(3) 0.36 0.31 0.26 0.27 0.35
กรอไหม(3) 6.12 6.20 6.09 6.14 6.03
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.03 0.02 0.13 0.03

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย(นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.41 0.28 0.32 0.29 0.39 4.97 0.33
กรอไหม(1) 6.05 6.24 6.14 6.08 6.16 91.69 6.11
เอาใจไสก รง(2) 0.34 0.27 0.29 0.36 0.40
กรอไหม(2) 6.19 6.06 6.01 6.11 6.05
เอาใจไสก รง(3) 0.39 0.30 0.27 0.36 0.30
กรอไหม(3) 6.04 6.12 6.06 6.23 6.15
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.03 0.03 0.15 0.03
132

ภาคผนวก ง
ขอมูลที่ไดจากการจับเวลาในการทํางานของเครื่องจักรเครื่องที่ 4
133

ตารางที่ ง.1 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (Wool)


ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.29 0.16 0.15 0.14 0.21 0.23 4.10 0.2
กรอไหม(1) 5.19 5.12 5.42 5.32 5.15 5.15 5.19 110.55 5.26
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.19 0.26 0.16 0.14 0.18 0.12
กรอไหม(2) 5.02 5.42 5.04 5.20 5.03 5.13 5.25
เอาใจไสก รง(3) 0.28 0.17 0.17 0.18 0.21 0.27 0.21
กรอไหม(3) 5.43 5.47 5.21 5.48 5.42 5.59 5.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.02 0.03 0.04 0.02 0.18 0.03

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.27 0.27 0.24 0.13 0.14 0.14 0.19 4.13 0.2
กรอไหม(1) 5.14 5.16 5.21 5.18 5.10 5.05 5.38 109.02 5.19
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.23 0.19 0.12 0.12 0.20 0.22
กรอไหม(2) 5.11 5.15 5.26 5.25 5.19 5.59 5.26
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.18 0.19 0.17 0.19 0.27 0.24
กรอไหม(3) 5.21 5.24 5.08 5.13 5.03 5.17 5.13
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.05 0.02 0.04 0.03 0.03 0.23 0.03

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.20 0.22 0.43 0.31 0.19 0.22 0.18 5.18 0.25
กรอไหม(1) 5.05 5.15 5.12 5.06 5.05 5.05 5.06 107.61 5.12
เอาใจไสก รง(2) 0.11 0.31 0.27 0.29 0.19 0.26 0.30
กรอไหม(2) 5.06 5.15 5.03 5.02 5.12 5.10 5.36
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.26 0.25 0.19 0.26 0.21 0.31
กรอไหม(3) 5.11 5.11 5.09 5.26 5.06 5.56 5.04
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.05 0.05 0.03 0.02 0.02 0.24 0.03

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.27 0.27 0.24 0.25 0.27 0.19 0.20 4.70 0.22
กรอไหม(1) 5.11 5.14 5.12 5.32 5.51 5.06 5.01 108.04 5.14
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.29 0.21 0.21 0.18 0.21 0.18
กรอไหม(2) 5.05 5.02 5.00 5.21 5.09 5.00 5.01
เอาใจไสก รง(3) 0.27 0.18 0.19 0.28 0.15 0.24 0.21
กรอไหม(3) 5.05 5.06 5.59 5.41 5.08 5.10 5.10
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.04 0.03 0.03 0.06 0.02 0.23 0.03

ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.27 0.20 0.32 0.27 0.19 0.20 0.22 5.15 0.25
กรอไหม(1) 5.21 5.19 5.18 5.23 5.06 5.06 5.09 108.94 5.19
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.21 0.23 0.19 0.24 0.22 0.27
กรอไหม(2) 5.04 5.14 5.00 5.33 6.05 5.36 5.24
เอาใจไสก รง(3) 0.31 0.30 0.23 0.35 0.25 0.27 0.22
กรอไหม(3) 5.05 5.18 5.17 5.06 5.02 5.17 5.11
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.02 0.03 0.04 0.04 0.03 0.20 0.03
134

ตารางที่ ง.2 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (Wool)

ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.31 0.26 0.33 0.19 0.19 0.20 0.21 5.54 0.26
กรอไหม(1) 5.03 5.00 5.04 5.20 5.08 5.01 5.47 108.64 5.17
เอาใจไสก รง(2) 0.34 0.24 0.22 0.24 0.23 0.21 0.46
กรอไหม(2) 5.01 5.08 5.12 5.19 5.20 5.07 5.52
เอาใจไสก รง(3) 0.30 0.37 0.31 0.27 0.16 0.29 0.21
กรอไหม(3) 5.34 5.16 5.12 5.31 5.23 5.41 5.05
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.03 0.03 0.02 0.02 0.04 0.20 0.03

ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.28 0.23 0.21 0.20 0.31 0.34 4.88 0.23
กรอไหม(1) 5.10 5.03 5.07 5.26 5.20 5.17 5.15 108.25 5.15
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.34 0.21 0.18 0.15 0.19 0.23
กรอไหม(2) 5.04 5.00 5.11 5.18 5.14 5.10 5.09
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.19 0.27 0.24 0.21 0.19 0.17
กรอไหม(3) 5.00 5.15 5.06 5.34 5.24 5.37 5.45
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.02 0.03 0.02 0.17 0.02

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.22 0.16 0.29 0.29 0.21 0.21 4.89 0.23
กรอไหม(1) 5.08 5.09 5.17 5.26 5.21 5.15 5.24 109.30 5.20
เอาใจไสก รง(2) 0.34 0.16 0.26 0.30 0.21 0.38 0.30
กรอไหม(2) 5.21 5.08 5.24 5.20 5.19 5.09 5.05
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.19 0.21 0.13 0.17 0.23 0.16
กรอไหม(3) 5.21 5.43 5.06 5.59 5.39 5.09 5.27
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.03 0.04 0.05 0.04 0.04 0.27 0.04

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.19 0.19 0.25 0.30 0.19 0.18 4.54 0.22
กรอไหม(1) 5.09 5.34 5.14 5.42 5.53 5.06 5.04 110.11 5.24
เอาใจไสก รง(2) 0.25 0.17 0.31 0.21 0.19 0.23 0.18
กรอไหม(2) 5.10 6.03 5.14 5.22 5.27 5.17 5.10
เอาใจไสก รง(3) 0.16 0.23 0.28 0.23 0.21 0.16 0.19
กรอไหม(3) 5.25 5.22 5.12 5.20 5.24 5.20 5.23
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.06 0.03 0.05 0.03 0.25 0.04

ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.13 0.27 0.27 0.24 0.16 0.23 0.26 5.18 0.25
กรอไหม(1) 5.19 5.31 5.56 5.24 5.26 5.02 5.14 110.28 5.25
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.36 0.29 0.27 0.33 0.22 0.25
กรอไหม(2) 5.12 5.31 5.34 5.21 5.22 5.06 5.21
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.30 0.19 0.17 0.31 0.26 0.24
กรอไหม(3) 5.21 5.57 5.13 5.32 5.58 5.14 5.14
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.04 0.03 0.03 0.03 0.02 0.02 0.21 0.03
135

ตารางที่ ง.3 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (Wool)


ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.16 0.19 0.19 0.22 0.28 0.21 0.17 4.33 0.21
กรอไหม(1) 5.10 5.14 5.23 5.12 2.25 5.18 5.15 106.3 5.06
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.18 0.19 0.25 0.25 0.21 0.21
กรอไหม(2) 5.16 5.26 5.18 5.02 5.22 5.44 5.33
เอาใจไสก รง(3) 0.27 0.17 0.20 0.19 0.21 0.18 0.17
กรอไหม(3) 5.40 5.25 5.15 5.10 5.22 5.22 5.14
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.03 0.02 0.02 0.02 0.02 0.15 0.02

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.18 0.16 0.17 0.20 0.21 0.19 3.96 0.19
กรอไหม(1) 5.19 5.40 5.06 5.19 5.13 5.05 5.04 108.77 5.18
เอาใจไสก รง(2) 0.16 0.13 0.15 0.19 0.21 0.21 0.19
กรอไหม(2) 5.11 5.08 5.23 5.25 5.16 5.14 5.21
เอาใจไสก รง(3) 0.17 0.21 0.22 0.27 0.18 0.19 0.18
กรอไหม(3) 5.17 5.35 5.47 5.30 5.13 5.08 5.03
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.06 0.03 0.02 0.21 0.03

ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.23 0.42 0.17 0.25 0.31 0.19 4.74 0.23
กรอไหม(1) 5.22 5.19 5.12 5.07 5.04 5.13 5.09 108.61 5.17
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.18 0.27 0.22 0.26 0.27 0.21
กรอไหม(2) 5.23 5.32 5.11 5.07 5.22 5.19 5.12
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.22 0.18 0.17 0.18 0.19 0.20
กรอไหม(3) 5.35 5.38 5.15 5.07 5.11 5.12 5.31
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.03 0.02 0.03 0.03 0.20 0.03

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.23 0.22 0.17 0.25 0.31 0.18 4.48 0.21
กรอไหม(1) 5.40 5.25 5.15 5.10 5.22 5.22 5.14 108.90 5.19
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.18 0.19 0.22 0.26 0.27 0.13
กรอไหม(2) 5.22 5.32 5.23 5.07 5.22 5.19 5.08
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.22 0.21 0.17 0.18 0.19 0.21
กรอไหม(3) 5.04 5.19 5.22 5.07 5.04 5.13 5.40
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.03 0.02 0.03 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.28 0.21 0.22 0.16 0.19 0.20 4.37 0.21
กรอไหม(1) 5.21 5.17 5.29 5.31 5.22 5.17 5.14 108.86 5.18
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.19 0.19 0.17 0.22 0.21 0.24
กรอไหม(2) 5.28 5.27 5.19 5.10 5.09 5.05 5.06
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.22 0.19 0.17 0.23 0.24 0.20
กรอไหม(3) 5.24 5.22 5.13 5.15 5.17 5.18 5.22
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.04 0.03 0.03 0.02 0.21 0.03
136

ตารางที่ ง.4 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (Wool)


ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.20 0.19 0.22 0.24 0.18 0.21 0.20 4.28 0.2
กรอไหม(1) 5.22 5.09 5.21 5.18 5.19 5.26 5.29 109.23 5.20
เอาใจไสก รง(2) 0.15 0.17 0.18 0.18 0.20 0.21 0.22
กรอไหม(2) 5.07 5.16 5.29 5.21 5.18 5.26 5.30
เอาใจไสก รง(3) 0.21 0.27 0.28 0.19 0.18 0.19 0.21
กรอไหม(3) 5.25 5.26 5.21 5.28 5.04 5.06 5.22
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.02 0.03 0.03 0.03 0.02 0.18 0.03

ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.18 0.18 0.19 0.19 0.22 0.17 2.68 0.19
กรอไหม(1) 5.18 5.23 5.19 5.25 5.43 5.25 5.13 73.54 5.25
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.19 0.21 0.22 0.20 0.17 0.19
กรอไหม(2) 5.32 5.35 5.18 5.29 5.41 5.12 5.21
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.03 0.03 0.04 0.20 0.03

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.25 0.18 0.19 0.18 0.20 0.20 4.91 0.23
กรอไหม(1) 5.23 5.00 5.21 5.18 5.37 5.06 5.19 109.34 5.21
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.17 0.19 0.25 0.23 0.22 0.21
กรอไหม(2) 5.04 5.32 5.29 5.18 5.21 5.36 5.14
เอาใจไสก รง(3) 0.34 0.43 0.21 0.24 0.18 0.27 0.30
กรอไหม(3) 5.17 5.31 5.43 5.12 5.18 5.17 5.18
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.02 0.03 0.04 0.02 0.20 0.03

ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.28 0.16 0.21 0.18 0.21 0.15 4.54 0.22
กรอไหม(1) 5.15 5.18 5.32 5.19 5.17 5.11 5.12 109.41 5.21
เอาใจไสก รง(2) 0.24 0.17 0.19 0.25 0.23 0.17 0.16
กรอไหม(2) 5.31 5.23 5.28 5.19 5.21 5.11 5.16
เอาใจไสก รง(3) 0.31 0.32 0.24 0.26 0.18 0.19 0.25
กรอไหม(3) 5.32 5.18 5.46 5.18 5.29 5.11 5.14
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.03 0.02 0.03 0.03 0.04 0.03 0.22 0.03

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.19 0.22 0.19 0.18 0.18 0.18 4.37 0.21
กรอไหม(1) 5.42 5.35 5.17 5.16 5.28 5.15 5.25 109.29 5.20
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.17 0.18 0.25 0.21 0.21 0.20
กรอไหม(2) 5.09 5.26 5.05 5.19 5.21 5.19 5.29
เอาใจไสก รง(3) 0.32 0.22 0.29 0.19 0.21 0.18 0.19
กรอไหม(3) 5.24 5.32 5.12 5.11 5.09 5.12 5.23
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.03 0.03 0.03 0.04 0.21 0.03

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.28 0.29 0.16 0.21 1.16 0.23
กรอไหม(1) 5.45 5.13 5.32 5.27 5.22 26.39 5.28
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.05 0.04 0.03 0.14 0.03
137

ตารางที่ ง.5 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (Wool)

ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.21 0.24 0.23 0.26 3.32 0.22
กรอไหม(1) 5.18 5.21 5.16 5.27 5.13 77.52 5.17
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.24 0.25 0.18 0.19
กรอไหม(2) 5.24 5.12 5.09 5.17 5.13
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.21 0.26 0.19 0.27
กรอไหม(3) 5.21 5.16 5.11 5.09 5.25
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.05 0.03 0.02 0.15 0.03

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.21 0.24 0.23 0.26 3.32 0.22
กรอไหม(1) 5.18 5.21 5.16 5.27 5.13 77.52 5.17
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.24 0.25 0.18 0.19
กรอไหม(2) 5.24 5.12 5.09 5.17 5.13
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.21 0.26 0.19 0.27
กรอไหม(3) 5.21 5.16 5.11 5.09 5.25
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.05 0.03 0.02 0.15 0.03

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.22 0.18 0.19 0.24 2.96 0.20
กรอไหม(1) 5.11 5.23 5.27 5.21 5.06 77.64 5.18
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.20 0.22 0.17 0.19
กรอไหม(2) 5.13 5.12 5.21 5.19 5.01
เอาใจไสก รง(3) 0.16 0.19 0.21 0.18 0.21
กรอไหม(3) 5.21 5.25 5.31 5.14 5.19
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.05 0.03 0.02 0.12 0.02

ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.15 0.18 0.19 0.19 0.24 2.83 0.19
กรอไหม(1) 5.14 5.21 5.23 5.21 5.19 79.10 5.27
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.10 0.19 0.20 0.19
กรอไหม(2) 5.25 5.49 5.56 5.19 5.29
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.21 0.22 0.19 0.21
กรอไหม(3) 5.25 5.32 5.35 5.29 5.13
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.03 0.02 0.11 0.02

ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.18 0.20 0.21 0.22 0.27 3.58 0.2
กรอไหม(1) 5.18 5.19 5.23 5.01 5.23 5.38 93.35 5.19
เอาใจไสก รง(2) 0.17 0.16 0.25 0.23 0.16 0.18
กรอไหม(2) 5.22 5.13 5.17 5.13 5.19 5.21
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.19 0.19 0.18 0.23 0.19
กรอไหม(3) 5.25 5.12 5.17 5.26 5.13 5.15
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.03 0.03 0.02 0.02 0.14 0.02
138

ตารางที่ ง.6 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (Wool)


ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.19 0.18 0.16 0.21 0.24 3.43 0.19
กรอไหม(1) 5.18 5.21 5.14 5.17 5.18 5.20 93.05 5.17
เอาใจไสก รง(2) 0.16 0.18 0.15 0.19 0.21 0.18
กรอไหม(2) 5.23 5.16 5.19 5.14 5.21 5.18
เอาใจไสก รง(3) 0.16 0.19 0.21 0.22 0.21 0.20
กรอไหม(3) 5.21 5.25 5.11 5.12 5.08 5.09
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.02 0.02 0.02 0.14 0.02

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.18 0.21 0.19 0.20 0.18 0.18 3.31 0.18
กรอไหม(1) 5.13 5.12 5.24 5.18 5.02 5.20 93.71 5.21
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.20 0.12 0.19 0.16 0.19
กรอไหม(2) 5.21 5.25 5.24 5.16 5.21 5.26
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.18 0.19 0.20 0.19 0.18
กรอไหม(3) 5.03 5.12 5.14 5.22 5.45 5.53
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.03 0.02 0.02 0.03 0.14 0.02

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.19 0.19 0.21 0.23 0.18 0.23 3.67 0.2
กรอไหม(1) 5.34 5.55 5.26 5.16 5.16 5.18 94.62 5.26
เอาใจไสก รง(2) 0.15 0.20 0.16 0.17 0.18 0.27
กรอไหม(2) 5.23 5.28 5.13 5.27 5.32 5.35
เอาใจไสก รง(3) 0.19 0.24 0.22 0.18 0.28 0.20
กรอไหม(3) 5.04 5.24 5.15 5.18 5.27 5.51
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.02 0.03 0.03 0.16 0.03

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
2 3 4 5 6 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.16 0.18 0.18 0.17 0.23 0.19 1.26 0.21
กรอไหม(1) 5.21 5.25 5.21 5.18 5.19 5.05 31.09 5.18
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.03 0.02 0.15 0.03
139

ตารางที่ ง.7 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV)


ครั้งที่ 1
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.45 0.24 0.40 0.25 0.32 1.66 0.36
กรอไหม(1) 4.52 4.56 4.55 4.56 4.52 22.71 4.52
เอาใจไสก รง(2) 0.39 0.32 0.40 0.27 0.40 1.78
กรอไหม(2) 4.50 4.52 4.45 4.52 4.52 22.51
เอาใจไสก รง(3) 0.45 0.37 0.51 0.30 0.41 2.04
กรอไหม(3) 4.52 4.56 4.47 4.48 4.49 22.52
เอาใจไสก รง(4) 0.33 0.33 0.30 0.45 0.38 1.79
กรอไหม(4) 4.52 4.55 4.55 4.52 4.53 22.67
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.02 0.03 0.03 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 2
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.30 0.30 0.33 0.26 0.29 1.48 0.31
กรอไหม(1) 4.56 4.52 4.53 4.56 4.55 22.72 4.53
เอาใจไสก รง(2) 0.48 0.27 0.29 0.39 0.21 1.64
กรอไหม(2) 4.59 4.49 4.51 4.53 4.47 22.59
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.03 0.03 0.02 0.15 0.03

ครั้งที่ 3
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.40 0.28 0.37 0.42 1.47 0.33
กรอไหม(1) 4.42 4.41 4.35 4.40 17.58 4.44
เอาใจไสก รง(2) 0.34 0.24 0.31 0.28 1.17
กรอไหม(2) 4.32 4.53 4.52 4.39 17.76
เอาใจไสก รง(3) 0.24 0.35 0.38 0.34 1.31
กรอไหม(3) 4.52 4.35 4.56 4.52 17.95
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.02 0.04 0.10 0.03

ครั้งที่ 4
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.22 0.29 0.31 0.35 0.32 1.49 0.31
กรอไหม(1) 4.45 4.48 4.46 4.53 4.52 22.44 4.49
เอาใจไสก รง(2) 0.33 0.32 0.21 0.29 0.31 1.46
กรอไหม(2) 4.46 4.49 4.51 4.39 4.48 22.33
เอาใจไสก รง(3) 0.26 0.36 0.40 0.35 0.42 1.79
กรอไหม(3) 4.52 4.44 4.45 4.48 4.43 22.32
เอาใจไสก รง(4) 0.33 0.31 0.37 0.28 0.19 1.48
กรอไหม(4) 4.55 4.56 4.46 4.49 4.55 22.61
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.03 0.03 0.14 0.03

ครั้งที่ 5
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.31 0.35 0.32 0.28 1.50 0.31
กรอไหม(1) 4.45 4.52 4.55 4.44 4.48 22.44 4.53
เอาใจไสก รง(2) 0.28 0.31 0.33 0.37 0.33 1.62
กรอไหม(2) 4.56 4.58 4.57 4.55 4.59 22.85
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.04 0.02 0.03 0.02 0.13 0.03
140

ตารางที่ ง.8 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV)


ครั้งที่ 6
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.21 0.26 0.31 0.45 0.36 1.59 0.35
กรอไหม (1) 4.52 4.43 4.56 4.45 4.48 22.44 4.52
เอาใจไสก รง(2) 0.36 0.42 0.39 0.37 0.37 1.91
กรอไหม (2) 4.58 4.53 4.56 4.52 4.53 22.72
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.03 0.04 0.02 0.13 0.03

ครั้งที่ 7
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.43 0.29 0.34 0.23 1.29 0.32
กรอไหม (1) 4.45 4.48 4.39 4.55 17.87 4.47
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.03 0.04 0.13 0.03

ครั้งที่ 8
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.44 0.23 0.32 0.37 1.36 0.31
กรอไหม (1) 4.59 4.45 4.59 4.58 18.21 4.56
เอาใจไสก รง(2) 0.34 0.28 0.31 0.28 1.21
กรอไหม (2) 4.58 4.59 4.57 4.56 18.30
เอาใจไสก รง(3) 0.25 0.29 0.46 0.19 1.19
กรอไหม (3) 4.55 4.53 4.54 4.55 18.17
เปลี่ยนหลอดใหม 0.04 0.02 0.02 0.04 0.12 0.03

ครั้งที่ 9
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.33 0.25 0.16 0.19 0.93 0.32
กรอไหม (1) 4.58 4.59 4.59 4.57 18.33 4.58
เอาใจไสก รง(2) 0.43 0.45 0.41 0.37 1.66
กรอไหม (2) 4.58 4.57 4.59 4.58 18.32
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.04 0.05 0.03 0.15 0.04

ครั้งที่ 10
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.44 0.40 0.35 0.51 1.70 0.39
กรอไหม (1) 4.50 4.52 4.56 4.58 18.16 4.53
เอาใจไสก รง(2) 0.34 0.33 0.39 0.48 1.54
กรอไหม (2) 4.52 4.56 4.56 4.52 18.16
เอาใจไสก รง(3) 0.45 0.37 0.51 0.30 1.63
กรอไหม (3) 4.52 4.55 4.47 4.56 18.10
เอาใจไสก รง(4) 0.33 0.32 0.31 0.41 1.37
กรอไหม (4) 4.52 4.53 4.56 4.48 18.09
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.03 0.10 0.03

ครั้งที่ 11
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.31 0.25 0.24 1.12 0.29
กรอไหม (1) 4.58 4.59 4.57 4.56 18.30 4.57
เอาใจไสก รง(2) 0.18 0.18 0.19 0.26 0.81
กรอไหม (2) 4.57 4.58 4.58 4.59 18.32
เอาใจไสก รง(3) 0.17 0.43 0.45 0.46 1.51
กรอไหม (3) 4.56 4.57 4.58 4.50 18.21
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.02 0.04 0.04 0.12 0.03
141

ตารางที่ ง.9 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV)

ครั้งที่ 12
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.43 0.25 0.33 1.33 0.26
กรอไหม(1) 4.55 4.59 4.58 4.58 18.30 4.58
เอาใจไสก รง(2) 0.15 0.21 0.19 0.18 0.73
กรอไหม(2) 4.57 4.59 4.58 4.58 18.32
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.10 0.36 0.45 1.09
กรอไหม(3) 4.57 4.59 4.57 4.56 18.29
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.04 0.04 0.13 0.03

ครั้งที่ 13
ขั้นตอน
1 2 3 4 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.28 0.32 0.41 1.24 0.31
กรอไหม(1) 4.45 4.52 4.46 4.51 17.94 4.49
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.31 0.25 0.34 1.22
กรอไหม(2) 4.52 4.48 4.49 4.47 17.96
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.03 0.04 0.12 0.03

ครั้งที่ 14
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.37 0.25 0.24 0.19 0.33 1.38 0.27
กรอไหม(1) 4.52 4.45 4.56 4.55 4.50 22.58 4.52
เอาใจไสก รง(2) 0.19 0.18 0.22 0.32 0.26 1.17
กรอไหม(2) 4.54 4.53 4.52 4.51 4.52 22.62
เอาใจไสก รง(3) 0.26 0.29 0.33 0.34 0.30 1.52
กรอไหม(3) 4.56 4.53 4.54 4.58 4.45 22.66
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.06 0.04 0.05 0.02 0.20 0.04

ครั้งที่ 15
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.23 0.27 0.33 0.33 1.41 0.28
กรอไหม(1) 4.48 4.52 4.45 4.48 4.45 22.38 4.48
เปลี่ยนหลอดใหม 0.02 0.03 0.04 0.04 0.02 0.15 0.03

ครั้งที่ 16
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.33 0.32 0.41 0.33 1.71 0.39
กรอไหม(1) 4.56 4.58 4.56 4.45 4.55 22.70 4.54
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.35 0.32 0.35 0.31 1.65
กรอไหม(2) 4.56 4.48 4.56 4.53 4.56 22.69
เอาใจไสก รง(3) 0.26 0.28 0.29 0.31 0.39 1.53
กรอไหม(3) 4.54 4.57 4.59 4.56 4.53 22.79
เอาใจไสก รง(4) 0.29 0.43 0.38 0.43 0.19 1.72
กรอไหม(4) 4.52 4.53 4.56 4.49 4.56 22.66
เอาใจไสก รง(5) 0.25 0.19 0.25 0.24 0.22 1.15
กรอไหม(5) 4.58 4.45 4.55 4.56 4.48 22.62
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.04 0.04 0.03 0.17 0.03
142

ตารางที่ ง.10 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV)


ครั้งที่ 17
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.31 0.32 0.29 0.27 0.24 1.43 0.30
กรอไหม(1) 4.57 4.58 4.55 4.56 4.51 22.77 4.56
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.21 0.41 0.25 0.29 1.48
กรอไหม(2) 4.52 4.56 4.58 4.56 4.58 22.80
เอาใจไสก รง(3) 0.36 0.29 0.31 0.36 0.29 1.61
กรอไหม(3) 4.55 4.59 4.58 4.53 4.52 22.77
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.04 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 18
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.22 0.31 0.27 0.27 0.31 1.61 0.32
กรอไหม(1) 4.56 4.52 4.56 4.53 4.57 4.58 27.32 4.55
เอาใจไสก รง(2) 0.31 0.37 0.22 0.35 0.20 0.25 1.70
กรอไหม(2) 4.56 4.55 4.53 4.52 4.58 4.59 27.33
เอาใจไสก รง(3) 0.45 0.37 0.51 0.30 0.41 0.28 2.32
กรอไหม(3) 4.56 4.58 4.57 4.56 4.59 4.53 27.39
เอาใจไสก รง(4) 0.32 0.35 0.32 0.35 0.31 0.27 1.92
กรอไหม(4) 4.59 4.55 4.52 4.53 4.56 4.56 27.31
เอาใจไสก รง(5) 0.45 0.24 0.40 0.25 0.32 0.26 1.92
กรอไหม(5) 4.52 4.53 4.55 4.58 4.52 4.52 27.22
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.05 0.04 0.04 0.03 0.04 0.23 0.04

ครั้งที่ 19
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.27 0.26 0.31 0.26 0.39 1.73 0.29
กรอไหม(1) 4.58 4.57 4.58 4.59 4.59 4.57 27.48 4.57
เอาใจไสก รง(2) 0.32 0.34 0.23 0.32 0.28 0.25 1.74
กรอไหม(2) 4.55 4.56 4.58 4.57 4.56 4.54 27.36
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.03 0.02 0.02 0.15 0.03

ครั้งที่ 20
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.27 0.21 0.25 0.23 0.22 0.24 1.42 0.24
กรอไหม(1) 4.52 4.54 4.55 4.52 4.53 4.53 27.19 4.53
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.02 0.04 0.02 0.16 0.03

ครั้งที่ 21
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม เฉลี่ย
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.31 0.23 0.24 0.25 0.23 1.49 0.26
กรอไหม(1) 4.56 4.57 4.55 4.58 4.56 4.58 27.40 4.55
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.41 0.35 0.32 0.24 0.23 1.76
กรอไหม(2) 4.56 4.55 4.52 4.53 4.57 4.56 27.29
เอาใจไสก รง(3) 0.23 0.24 0.25 0.22 0.24 0.27 1.45
กรอไหม(3) 4.52 4.53 4.57 4.56 4.55 4.53 27.26
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.03 0.02 0.15 0.03
143

ตารางที่ ง.11 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV)


ครั้งที่ 22
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.24 0.24 0.25 0.22 0.26 0.22 0.27 1.70 0.28
กรอไหม(1) 4.58 4.56 4.57 4.55 4.58 4.55 4.56 31.95 4.56
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.32 0.23 0.25 0.23 0.37 0.34 2.00
กรอไหม(2) 4.55 4.54 4.58 4.59 4.56 4.57 4.53 31.92
เอาใจไสก รง(3) 0.43 0.25 0.25 0.37 0.29 0.37 0.35 2.31
กรอไหม(3) 4.55 4.54 4.56 4.57 4.56 4.58 4.52 31.88
เอาใจไสก รง(4) 0.22 0.36 0.41 0.25 0.31 0.35 0.28 2.18
กรอไหม(4) 4.53 4.56 4.58 4.59 4.52 4.53 4.56 31.87
เอาใจไสก รง(5) 0.23 0.23 0.27 0.31 0.21 0.24 0.22 1.71
กรอไหม(5) 4.52 4.56 4.58 4.57 4.53 4.56 4.54 31.86
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.04 0.02 0.03 0.02 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 23
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.25 0.27 0.25 0.26 0.30 0.25 0.26 1.84 0.29
กรอไหม(1) 4.53 4.56 4.58 4.52 4.56 4.53 4.56 31.84 4.53
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.27 0.28 0.28 0.28 0.32 0.42 2.14
กรอไหม(2) 4.57 4.52 4.58 4.49 4.56 4.53 4.52 31.77
เอาใจไสก รง(3) 0.32 0.26 0.24 0.27 0.31 0.27 0.34 2.01
กรอไหม(3) 4.57 4.55 4.52 4.45 4.42 4.50 4.52 31.53
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.03 0.04 0.02 0.03 0.02 0.20 0.03

ครั้งที่ 24
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.21 0.23 0.22 0.24 0.29 1.42 0.28
กรอไหม(1) 4.45 4.48 4.49 4.52 4.45 4.52 26.91 4.48
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.27 0.36 0.32 0.29 0.32 1.79
กรอไหม(2) 4.56 4.42 4.55 4.53 4.46 4.41 26.93
เอาใจไสก รง(3) 0.32 0.26 0.26 0.27 0.31 0.38 1.80
กรอไหม(3) 4.40 4.52 4.49 4.42 4.55 4.40 26.78
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.02 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 25
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.31 0.32 0.26 0.26 0.19 0.41 1.75 0.28
กรอไหม(1) 4.56 4.55 4.57 4.58 4.56 4.52 27.34 4.55
เอาใจไสก รง(2) 0.29 0.21 0.32 0.28 0.27 0.31 1.68
กรอไหม(2) 4.52 4.59 4.45 4.55 4.56 4.57 27.24
เอาใจไสก รง(3) 0.18 0.24 0.26 0.27 0.31 0.36 1.62
กรอไหม(3) 4.52 4.53 4.56 4.52 4.53 4.57 27.23
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.03 0.03 0.16 0.03

ครั้งที่ 26
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.28 0.26 0.31 0.29 0.31 1.77 0.30
กรอไหม(1) 4.45 4.47 4.50 4.42 4.45 4.46 26.75 4.46
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.04 0.03 0.02 0.17 0.03
144

ตารางที่ ง.12 เวลาในการทํางานของเครื่องจักรที่ 4 (TV)


ครั้งที่ 27
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 7 รวม ( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.23 0.26 0.31 0.26 0.23 0.29 0.31 1.89 0.27
กรอไหม(1) 4.58 4.57 4.58 4.59 4.56 4.55 4.59 32.02 4.57
เอาใจไสก รง(2) 0.26 0.26 0.21 0.19 0.26 0.35 0.37 1.90
กรอไหม(2) 4.55 4.58 4.57 4.56 4.55 4.59 4.53 31.93
เอาใจไสก รง(3) 0.26 0.28 0.23 0.22 0.31 0.36 0.29 1.95
กรอไหม(3) 4.56 4.59 4.57 4.53 4.56 4.58 4.58 31.97
เอาใจไสก รง(4) 0.27 0.28 0.32 0.35 0.25 0.28 0.19 1.94
กรอไหม(4) 4.58 4.59 4.58 4.59 4.58 4.58 4.59 32.09
เอาใจไสก รง(5) 0.23 0.23 0.27 0.31 0.21 0.24 0.22 1.71
กรอไหม(5) 4.58 4.57 4.56 4.58 4.59 4.57 4.55 32.00
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.03 0.02 0.02 0.04 0.02 0.03 0.19 0.03

ครั้งที่ 28
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.31 0.29 0.24 0.27 0.23 0.29 1.63 0.26
กรอไหม(1) 4.58 4.56 4.52 4.51 4.55 4.42 27.14 4.53
เอาใจไสก รง(2) 0.23 0.26 0.29 0.31 0.26 0.31 1.66
กรอไหม(2) 4.55 4.43 4.50 4.55 4.48 4.49 27.00
เอาใจไสก รง(3) 0.22 0.23 0.25 0.18 0.37 0.19 1.44
กรอไหม(3) 4.57 4.55 4.58 4.59 4.56 4.53 27.38
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.04 0.03 0.04 0.18 0.03

ครั้งที่ 29
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.32 0.23 0.24 0.25 0.23 0.24 1.51 0.27
กรอไหม(1) 4.52 4.49 4.48 4.52 4.52 4.53 27.06 4.52
เอาใจไสก รง(2) 0.21 0.25 0.28 0.28 0.41 0.26 1.69
กรอไหม(2) 4.51 4.54 4.49 4.48 4.56 4.55 27.13
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.02 0.02 0.03 0.03 0.15 0.03

ครั้งที่ 30
ขั้นตอน
1 2 3 4 5 6 รวม( นาที) เฉลี่ย( นาที)
เอาใจไสก รง(1) 0.26 0.26 0.21 0.35 0.29 0.38 1.75 0.29
กรอไหม(1) 4.52 4.54 4.55 4.51 4.52 4.52 27.16 4.53
เปลี่ยนหลอดใหม 0.03 0.02 0.03 0.02 0.03 0.03 0.16 0.03

You might also like