You are on page 1of 226

โครงการจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ

Mushroom Clay House Resort


โครงการจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ

Mushroom Clay House Resort

นนณภัท ฉายอรุณ

การคนควาอิสระเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปการศึกษา 2557
© 2558
นนณภัท ฉายอรุณ
สงวนลิขสิทธิ์
a\43JwWniii^nwiiav^is\jRfifi'utilt!?iiwu-3'ua^nni^nw^

ila^ I^i-jnii^^wi-aqin^ilciaivimacl'Ufinvi (Mushroom Clay House Resort)

V 1

a1^n1fJ^'lJfny1

((ni.ilt^ai nxi)

•ja^aBniiu^f^iyQ'din'Tj fn'wimiFiai'u^ijai^i^QviEJ'iaEJ
12 u n n p i u 2558
นนณภัท ฉายอรุณ . ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและ
การผลิต, ธันวาคม 2557, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
โครงการจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ (208 หนา )
อาจารยที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย ดร. จุฑา เทียนไทย

บทคัดยอ

การศึกษาโครงการจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ มีการศึกษาการวางแผนการดําเนินงานและ
ศึกษาแนวโนมการเติบโตของธุรกิจดานรีสอรทและธุรกิจดานการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ เพื่อนํามา
พัฒนาธุรกิจในอนาคต เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณจากผูประกอบการในธุรกิจดานรี
สอรทพบวาสิ่งสําคัญที่สุดในการทําใหธุรกิจรีสอรทประสบความสําเร็จนั้นการบริการเปนสิ่งสําคัญ
นอกจากนี้ บุคคลากรตองมีความรูความชํานาญในการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับวัตถประสงคของรี
สอรทใหตรงตามเปาหมายที่วางไว และพัฒนาการบริการรูปแบบใหมและหลากหลายอยูเสมอ ทําให
สถานที่ใหมอยูตลอดเวลาเวลาเหมือนพึ่งเปดใหมแหมจะเปดมานานแคไหนก็ตาม จากการศึกษาเรื่อง
ทัศนคติและความพึงพอใจนั้น พบวานักทองเที่ยวสวนใหญชอบการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติและการ
บริการดานที่พักที่ใกลชิดธรรมชาติมีลักษณะการเดินทางกับครอบครัวและกลุมเพื่อนในชว งวันหยุด
เพื่อพักผอนและรูจักที่พักผานทางอินเตอรเน็ตและการบอกตอของเพื่อน ความคาดวังที่จะไดรับจาก
การทองเที่ยวพักผอนคือการไดรับอากาศที่บริสุทธิ์ใหรางกายไดผอนคลายและไดทํากิจกรรมรวมกัน
กับครอบครัวหรือเพื่อนในดานปจจัยในการเลือกที่พักนักทองเที่ยวจะใหความสําคัญกับสถานที่เปน
หลักในดานรูปลักษณรวมถึงความสะดวกสบายและความคุมคาที่จะไดรับจากการมาพักผอน

คําสําคัญ: รีสอรทเพื่อสุขภาพ , สุขภาพและธรรมชาติ , เห็ด , บานดิน


Chaiaroon, N. M.Com. Arts (Entertainment Management and Production), December
2014, Graduate School, Bangkok University.
The project established a health resort (208 pp.)
Advisor: Assoc. Chuta Thianthai, Ph.D.

ABSTRACT

Education Project restart establish healthy. Studying the planning


implementation and educational growth of the business restart the tourism and
natural. To develop future business. A qualitative study. The interviews of
entrepreneurs in the resort were found. The most important thing in making a
successful resort business, the service is important. In addition, personnel must have
knowledge and expertise to perform in line with the objectives of the resort to meet
the goals. The development of new services and the variety is always available make
the place look fresh and new even though it has been open for longest. From a
study of the attitudes and satisfaction . Found that most tourists like nature travel
and accommodations are naturally. Traveling with family and friend during the relax
holidays also known in via the internet and being told by friend. Expectations from
traveling, get fresh air, rest, relaxing on the body and. Doing activities with family or
friend. The factors in the choice visitors will be featured on the main site. In terms of
looks, including convenience and value received from the rest.

Keywords: Health resort , Health and natural , Mushroom , Clay House


กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาในโครงการนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดีโดยความอนุเคราะหจาก รศ.ดร. จุฑา เทียนไทย


อาจารยที่ปรึกษาโครงการ และดร.ปเตอร กัน ประธานหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
บริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิตและ ดร.ชัยฤทธิ์ ทองรอด ที่สละเวลาใหคําปรึกษา คําแนะนํา และ
การพิจารณาตรวจสอบ แกไข ทําใหโครงการนี้สําเร็จ ลุลวงไปดวยดี ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณมา
ณ ที่นี้ ดวยความรูสึกขอบพระคุณและเคารพเปนอยางยิ่ง
ขอบพระคุณคณะอาจารยทุกทานในหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุร กิจ
บันเทิงและการผลิตที่ไดถายทอดความรูและอบรมสั่งสอนใหขาพเจาเปนผูมีความรู
ขอบพระคุณผูที่ใหความรวมมือในการใหสัมภาษณเพื่อการทําวิจัยทุกทาน ซึ่งไดแก ผูจัดการ
พาโนรามา ฟารม เขาใหญ ผูบริหารรีสอรท แกรนดเจาพระยา และ ผู กอตั้ง เครือขายบานดินไทย
ที่สละเวลาอันมีคาในการถายทอดประสบการณและใหความรูในดานการดําเนินธุรกิจ ซึ่งเปน
ประโยชนอยางยิ่งตอความสําเร็จของการศึกษาโครงการนี้
ขอบคุณนักทองเที่ยวและผูที่มีสวนรวมในการตอบแบบสอบถามที่สละเวลาอันมีคาซึ่งเปน
สวนสําคัญที่ทําใหการศึกษาโครงการนี้บรรลุตามเปาหมาย
ขอบคุณคุณพอ คุณแม ที่ใหทุนการศึกษาและสนันสนุนใหกําลังขาพเจาใหขาพเจาไดทํา
โครงการนี้สําเร็จไปดวยดี
ขอบคุณเพื่อนๆพี่ๆจากหลักสูตร MacaEM 6 ขอบคุณนองออม นองขวัญ พี่บี ที่คอ ย
ชวยเหลือใหคําปรึกษาโดยตลอดการเรียนปริญญาโท หากตกหลนทานใดขาพเจาขออภัยมา ณ ที่นี้
ดวย
สุดทายหวังเปนอยางยิ่งวาการศึกษาโครงการนี้จะเปนประโยชนไมมาก็ นอยตอผูที่สนใจศึกษา
หรือสนใจประกอบธุรกิจรีสอรทเชิงอนุรักษธรรมชาติ รีสอรทเพื่อสุขภาพ

นนณภัท ฉายอรุณ

สารบัญ

หนา
บทคัดยอภาษาไทย ง
บทคัดยอภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญตาราง ญ
สารบัญภาพ ฑ
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ที่มาและความสําคัญของการศึกษา 1
1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 3
1.3 ขอบเขตของโครงการ 3
1.4 นิยามศัพทเฉพาะ 3
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับโรงแรม 5
2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ 18
2.3 ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการ 28
2.4 ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาคาดหวัง (Customer Expectations) 44
2.5 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาไดรับ (Customer Perceptions) 48
2.6 ทฤษฎีลําดับความตองการ (Need Theories) 53
2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยว 55
2.8 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและธรรมชาติ 58
2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 60
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย
3.1 ประชากรในการวิจัย 68
3.2 กลุมตัวอยางและขนาดตัวอยาง 68
3.3 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 69
3.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 70
3.5 เกณฑการแปลคาความหมาย 71
3.6 เกณฑการทดสอบสมมติฐาน 72

สารบัญ (ตอ)

หนา
บทที่ 4 การวิเคราะหขอมูล
4.1 สรุปผลสัมภาษณขอมูลเชิงคุณภาพ 74
4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ 78
บทที่ 5 การกําหนดรูปแบบธุรกิจ
5.1 ภาพลักษณ วิสัยทัศน และ พันธกิจ 110
5.2 เปาหมาย 111
5.3 วัตถุประสงค 111
5.4 กลยุทธของบริษัท 111
5.5 กลุมเปาหมาย 111
5.6 ลักษณะของธุรกิจ 111
5.7 รูปแบบโดยรวมของรีสอรท 121
5.8 พื้นที่ดินในการสราง 121
5.9 การบริการดานกิจกรรมตางๆ 128
5.10 การวิเคราะห TOWS 130
5.11 การกําหนดกลยุทธขององคกร 130
5.12 กลยุทธสวนประสมทางการตลาด 132
5.13 การบริหารจัดการภายในองคกร 134
5.14 กําหนดภารกิจโครงสรางจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ 136
บทที่ 6 งบการเงิน
6.1 ขอสมมติฐานในการจัดทําประมาณการทางการเงิน 138
6.2 การประมาณเงินลงทุน และการวิเคราะหการไดมาของเงินลงทุน 138
6.3 การประมาณรายได 144
6.4 การประมาณรายจาย 154
6.5 ประมาณการงบกําไรขาดทุน 162
6.6 ประมาณการงบแสดงฐานะทางการเงิน 181
6.7 ประมาณการงบกระแสเงินสด 185
6.8 การประเมินมูลคาทางการเงินของโครงการเพื่อตัดสินใจลงทุน 186

สารบัญ (ตอ)

หนา
บทที่ 7 บทสรุปและขอเสนอแนะ
7.1 การบริหารความเสี่ยง 193
7.2 บทสรุปของธุรกิจโดยรวม 194
7.3 ขอเสนอแนะโครงการ 194
7.4 ขอเสนอแนะจากการศึกษา 195
บรรณานุกรม 196
ภาคผนวก 199
ภาคผนวก ก บทสรุปผูบริหาร 200
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 202
ประวัติผูเขียน 208
เอกสารขอตกลงวาดวยการอนุญาตใหใชสิทธิ์ในรายงานการคนควาอิสระ

สารบัญตาราง

หนา
ตารางที่ 2.1: แสดงรายละเอียดราคาที่พักโรงแรม 11
ตารางที่ 4.1: แสดงจํานวนและรอยละดานลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง 79
ตารางที่ 4.2: แสดงจํานวนและรอยละดานพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ 81
ตารางที่ 4.3: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและอันดับความพึงพอใจตอการใช 84
บริการที่พักในเขาใหญ ในภาพรวม
ตารางที่ 4.4: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักใน 85
เขาใหญ ดานทําเลที่ตั้ง
ตารางที่ 4.5: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พัก 85
ในเขาใหญ ดานการออกแบบตกแตง
ตารางที่ 4.6: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พัก 86
ในเขาใหญ ดานการบริการ
ตารางที่ 4.7: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พัก 87
ในเขาใหญ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก
ตารางที่ 4.8: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและอันดับปจจัยในการใชบริการ 88
รีสอรทเพื่อสุขภาพ ในภาพรวม
ตารางที่ 4.9: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรท 88
เพื่อสุขภาพ ดานทําเลที่ตั้ง
ตารางที่ 4.10: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรท 89
เพื่อสุขภาพ ดานการออกแบบตกแตง
ตารางที่ 4.11: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรท 90
เพื่อสุขภาพ ดานการบริการ
ตารางที่ 4.12: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรท 91
เพื่อสุขภาพ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก
ตารางที่ 4.13: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรท 92
เพื่อสุขภาพ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.14: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานเพศ 93
กับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา
ตารางที่ 4.15: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอายุ 94
กับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.16: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ 96
กับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.17: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานรายได 99
ตอเดือน กับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.18: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พัก 102
ในเขาใหญ ดานวัตถุประสงคที่เดินทางมาเขาใหญ และปจจัยในการใชบริการ
รีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.19: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พัก 103
ในเขาใหญ ดานการใชบริการที่พักรูปแบบรีสอรทและปจจัยในการใชบริการ
รีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.20: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักใน 104
เขาใหญ ดานประเภทรีสอรทที่เขาพักและปจจัยในการใชบริการรีสอรท
เพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.21: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พัก 105
ในเขาใหญ ดานแหลงขอมูลในการเลือกที่พักและปจจัยในการใชบริการ
รีสอรทเพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.22: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พัก 106
ในเขาใหญ ดานรูปแบบการจองที่พักและปจจัยในการใชบริการรีสอรท
เพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.23: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พัก 107
ในเขาใหญ ดานคาใชจายที่พักตอคืนและปจจัยในการใชบริการรีสอรท
เพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 4.24: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พัก 108
ในเขาใหญ ดานระยะเวลาการเขาพักและปจจัยในการใชบริการรีสอรท
เพื่อสุขภาพ
ตารางที่ 5.1: แสดงจํานวนและอัตราเงินเดือนพนักงาน 135

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา
ตารางที่ 6.1: แสดงมูลคาการกอสรางที่พักและอาคารสถานที่ 139
ตารางที่ 6.2: แสดงมูลคาอุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน 140
ตารางที่ 6.3: แสดงมูลคาอุปกรณสํานักงาน 141
ตารางที่ 6.4: แสดงสรุปเงินลงทุนในสินทรัพย 142
ตารางที่ 6.5: สัดสวนเงินลงทุน และอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากโครงการ 143
ตารางที่ 6.6: อัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยของโครงการ 143
ตารางที่ 6.7: แสดงจํานวนและอัตราคาบริการบานเห็ด 144
ตารางที่ 6.8: แสดงรายไดคาบริการใหที่พักรีสอรทกรณีที่เต็มอัตราบริการ 145
ตารางที่ 6.9: รายไดคาบริการที่พักรีสอรทตามอัตราการใชบริการ 145
ตารางที่ 6.10: รายไดคาบริการที่พักรีสอรทแบงตามกรณีที่เปนไปได 146
ตารางที่ 6.11: แสดงรายไดคาบริการใหที่พักรีสอรทกรณีที่เต็มอัตราบริการ 146
ตารางที่ 6.12: รายไดคาบริการเตนทตามอัตราการใชบริการ 147
ตารางที่ 6.13: รายไดคาบริการที่เตนทแบงตามกรณีที่เปนไปได 147
ตารางที่ 6.14: รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตรแบงตามกรณีที่เปนไปได 148
ตารางที่ 6.15: รายไดจากการจัดอีเวนท กรณีที่ดีที่สุด 150
ตารางที่ 6.16: รายไดจากการจัดอีเวนท กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด 150
ตารางที่ 6.17: รายไดจากการจัดอีเวนท กรณีที่แยที่สุด 151
ตารางที่ 6.18: รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS กรณีที่ดีที่สุด 152
ตารางที่ 6.19: รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS กรณีที่เปนไปไดที่สุด 152
ตารางที่ 6.20: รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS กรณีที่แยที่สุด 152
ตารางที่ 6.21: รายไดของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพสํา หรับป 2558 กรณีที่ดีที่สุด 153
กรณีที่เปนไปไดที่สุด และกรณีที่แยที่สุด
ตารางที่ 6.22: แสดงจํานวนและอัตราเงินเดือนพนักงาน 156
ตารางที่ 6.23: แสดงคาเสื่อมราคาสินทรัพยประเภทตางๆ 157
ตารางที่ 6.24: แสดงตนทุนการบริการสําหรับป 2558 ในกรณีที่ดีที่สุด 158
ตารางที่ 6.25: แสดงตนทุนการบริการสําหรับป 2558 ในกรณีที่เปนไปไดที่สุด 159
ตารางที่ 6.26: แสดงตนทุนการบริการสําหรับป 2558 ในกรณีที่แยที่สุด 160
ตารางที่ 6.27: แสดงคาใชจายในการขายและบริหารสําหรับป 2558 ในกรณีที่ดีที่สุด 161

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา
ตารางที่ 6.28: แสดงคาใชจายในการขายและบริหารสําหรับป 2558 ในกรณีที่เปนไปไดที่สุด 161
ตารางที่ 6.29: แสดงคาใชจายในการขายและบริหารสําหรับป 2558 ในกรณีที่แยที่สุด 162
ตารางที่ 6.30: แสดงสรุปกําไรสุทธิสําหรับป 2558 – 2662 187
ตารางที่ 6.31: แสดงสรุปกําไรสุทธิบวกกลับคาเสื่อมราคาสําหรับป 2558 – 2662 187
ตารางที่ 6.32: แสดงอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในป 2558 – 2562 188
ตารางที่ 6.33: แสดงมูลคาปจจุบันสุทธิกรณีที่ดีที่สุด 189
ตารางที่ 6.34: แสดงมูลคาปจจุบันสุทธิกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด 189
ตารางที่ 6.35: แสดงมูลคาปจจุบันสุทธิกรณีที่แยที่สุด 190
ตารางที่ 6.36: แสดงอัตราผลตอบแทนภายในกรณีที่ดีที่สุด 191
ตารางที่ 6.37: แสดงอัตราผลตอบแทนภายในกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด 191
ตารางที่ 6.38: แสดงอัตราผลตอบแทนภายในกรณีที่แยที่สุด 192
ตารางที่ 6.39: แสดงสรุปการประเมินมูลคาทางการเงินของโครงการเพื่อตัดสินใจลงทุน 192

สารบัญภาพ

หนา
ภาพที่ 2.1: ขั้นตอนในการตัดสินใจ 25
ภาพที่ 2.2: หลักพื้นฐานของความสําเร็จในการบริการ 43
ภาพที่ 2.3: แบบจําลองความคาดหวังของลูกคาในการบริการ 47
ภาพที่ 2.4: แสดงลําดับความตองการของมนุษยตามแนวคิดของมาสโลว 53
ภาพที่ 5.1: เครื่องหมายการคาธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ 113
ภาพที่ 5.2: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดเล็ก 114
ภาพที่ 5.3: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดกลาง 115
ภาพที่ 5.4: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดใหญ 116
ภาพที่ 5.5: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดจัมโบ 117
ภาพที่ 5.6: บานเห็ดเล็ก 2 คน ราคา 4,000 จํานวน 15 หลัง ขนาด 30 ตรม. 118
ภาพที่ 5.7: บานเห็ดกลาง 3-5 คน ราคา 5500 จํานวน 30 หลัง ขนาด 35 ตรม. 118
ภาพที่ 5.8: บานเห็ดใหญ 6-7 คน 2 ชั้น ราคา 6500 จํานวน 10 หลัง ขนาด 80 ตรม. 119
ภาพที่ 5.9: บานเห็ดจัมโบ2ชั้นดานใน 8-10 คน ราคา 7500 จํานวน 5 หลัง 119
ขนาด 136 ตรม .
ภาพที่ 5.10: ลักษณะเต็นท 120
ภาพที่ 5.11: ตัวอยางรูปแบบโดยรวมของรีสอรท 121
ภาพที่ 5.12: รูปพื้นที่ดินของโครงการ 121
ภาพที่ 5.13: ตัวอยางอาหารประเภทตางๆ 122
ภาพที่ 5.14: ตัวอยางหองอาหารสรางดวยดินหองอาหารสรางดวยดินใหความเย็นสบาย 123
ขนาด 80 ตรม 1 หลัง
ภาพที่ 5.15: ตัวอยางโรงเรือนเพาะเห็ด 124
ภาพที่ 5.16: ตัวอยางโรงเรือน 125
ภาพที่ 5.17: ตัวอยางติดตอรับรองลูกคาและรานคา 126
ภาพที่ 5.18: ตัวอยางสินคาผลิตภัณฑรับประทาน 127
ภาพที่ 5.19: ตัวอยางสินคาประเภทของที่ระลึก 127
ภาพที่ 5.20: แสดงภาพตัวอยางกิจกรรมภายในรีสอรท 128
ภาพที่ 5.21: กิจกรรมถีบจักรยานน้ํา 129
ภาพที่ 5.22: การวางตําแหนงผลิตภัณฑ 132

สารบัญภาพ

หนา
ภาพที่ 5.23: ตาราง Value Chain 133
ภาพที่ 5.24: โครงสรางองคกร 134
บทที่ 1
บทนํา

1.1 ที่มาและความสําคัญของการศึกษา
ในปจจุบันความเปลี่ยนแปลงทางดาน เทคโนโลยี สังคม และ สภาพอากาศ สงผลกระทบตอ
การดําเนินชีวิตของมนุษย เมื่อเทคโนโลยีเขามามีบทบาทมากขึ้นสภาพแวดลอมและการบริโภคอาหาร
รวมไปถึงการดํารงชีวิตของมนุษยเกิดการเปลี่ยนแปลงไป วัตถุดิบเนื้อสัตวตางๆที่มนุษยบริโภคลวน
ผานกรรมมาวิธีทางเทคโนโลยีและไดรับมลภาวะทางสิ่งแวดลอมสงผลเสียตอรางกายและเกิดโรคภัย
ตามมา ในขณะที่มนุษยใสใจและดูแลสุขภาพแตเนื่องจากการดําเนินชีวิตที่เรงรีบและแขงขันในสังคม
ปจจุบันทําใหมนุษยละเลยที่จะดูแลสุขภาพตนเองซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิตรวมไปถึงสภาพ
อากาศที่ถือเปนสิ่งหนึ่งที่มนุษยไมสามารถขาดได มลภาวะในปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปตาม
กาลเวลา ทั้งยังสงผลกระทบเปนอยางมากกับมนุษย ทั้งดานรางกายและจิตใจ และสิ่งหนึ่งที่มนุษย
สามารถพึ่งพาไดคือธรรมชาติและอากาศที่บริสุทธิ์ และเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณภาพและให
ประโยชนตอรางกายเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดโรครายที่มากับอาหารและมลภาวะเปนพิษ
ดังนั้นสถานที่ในการทองเที่ยวพักผอนจึงเปนปจจัยหนึ่งที่มนุษยเลือกในการหลีกเลี่ยง
สิ่งแวดลอมที่วุนวายและสภาพอากาศที่เปนพิษรวมทั้งการรับประทานอาหารประเภทมังสวิรัติเผื่อหลี
เลี่ยงการบริโภคเนื้อสัตวกันมากขึ้นการสรางรีสอรทเพื่อสุขภาพจึงเปนทางเลือกหนึ่งที่ตอบสนองความ
ตองการของผูบริโภคอุตสาหกรรมทองเที่ยวนั้นมีความสําคัญตอประเทศไทย ทั้งในดานเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม โดยดานเศรษฐกิจนั้น การทองเที่ยวกอใหเกิดรายไดเพิ่มขึ้นจาก
285,272 ลานบาทในป 2543 เปน 776,217 ลานบาทในป 2554(สํานักแผนยุทธศาสตรและนโยบาย
สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ธันวาคม ป 2555) ดวยเหตุที่ประเทศไทยอุดม
ไปดวยทรัพยากรการทองเที่ยวที่หลากหลาย การทองเที่ยวจึงมีการกระจายตัวไปยังภูมิภาคตางๆซึ่ง
กอใหเกิดการกระจายรายไดไปสูภูมิภาค รวมถึงการทองเที่ยวยังเปนเครื่องมือในการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมและกระตุนใหเกิดประโยชนตอการผลิตผลิตภัณฑทองถิ่น สินคาของที่ระลึกและบริ การที่
เปนเอกลักษณของทองถิ่น อันเปนผลดานการอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม การทองเที่ยวถือเปนระบบ
อุตสาหกรรมทั้งในประเทศไทยและตางประเทศรวมไปถึงการเปดบริการที่พักตางๆในสถานที่
ทองเที่ยวเพื่อผูใชบริการในการพักผอนและคางคืนเปลี่ยนสถานที่และบรรยากาศในวันหยุด หรือลูกคา
ชาวตางชาติที่ตองการหาที่พักผอนรวมไปถึงการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ACE)ทัง้ ประเทศใน
อาเซียนทั้งขนาดเล็กและใหญมีนักทองเที่ยวเขามาในประเทศไดอยางเสรีจํานวนนักนักทองเที่ยว
ตางชาติจึงเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นธุรกิจที่พักทั้ง โรงแรมและรีสอรทจึง เปนธุรกิจที่ควรสรางและ ขยาย ตัว
เพิ่มขึ้นเผื่อรองรับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ
2

ธุรกิจโรงแรมและรีสอรท เปนธุรกิจบริการดานที่พักแรม (Accommodation) ซึ่งจัด


ประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมไทย (Thai standard Industrial Classification ; TSIC Rev. 4 ,
ป 2551 เปนรหัส 55101) หมายถึงการจัดที่พักแรมแบบใหเชาเปนรายวันหรือรายสัปดาห ระยะสั้น
โดยรวมถึงหองพักแขกและหองชุดที่มีการตกแตงและใหบริการอื่นๆครบวงจร ธุรกิจโรงแรมและรี
สอรท เปนธุรกิจหนึ่งที่มีความสําคัญอยางมากในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทยที่นับเปน
อุตสาหกรรมที่สรางรายไดใหกับประเทศมากกวา 9 แสนลานบาท รายไดของประเทศที่มาจากธุรกิจ
โรงแรมรีสอรทและภัตตาคารมีการขยายตัวสูงขึ้นโดยลําดับจาก 309,622 ลานบาทใน ป 2545 จนมี
มูลคาถึง 439,720ลานบาทใน ป 2551 และมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น(สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุน) ธันวาคม 2553 )
เมื่อธุรกิจโรงแรมและรีสอรทที่พักมีความสําคัญมากและสรางรายไดใหกับประเทศและ
ผูประกอบการรวมทั้งสรางความสะดวกสบายและตอบสนองความตองการของลูกคาทั้งไทยและ
ตางชาติ ดังนั้นธุรกิจโรงแรมและรีสอรทจึงมีการขยายตัวมากขึ้นและมีหลากหลายรูปแบบทั้ งในเมือง
และตามธรรมชาติแตจุดดึงดูดลูกคาเหมือนกันคือความสะดวกสบายการบริการและความสวยงามแต
ยังไมคอยคํานึงถึงการใสใจในดานการบริโภคของลูกคาเปนสําคัญ เพื่อใหวันพักผอนของลูกคาเปน
วันที่รางกายไดรับสิ่งตางๆที่ปลอดภัยและธรรมชาติที่สุดโรงแรมหรือรีสอรทที่ มีพื้นที่ตั้งอยูในเขต
ธรรมชาติซึ่งเปนบริเวณที่มีอากาศที่บริสุทธิ์การพักผอนของลูกคาจึงควรเปนไปอยางบริสุทธิ์ทั้งความ
สะอาดและการบริโภคอาหารคลายกับการมาพักผอนเผื่อชําระลางรางกายทั้งภายในและภายนอก
เพื่อใหรางกายไดลดการทํางานกับสิ่งตางๆที่หนักๆรวมไปถึง การบริโภคของลูกคาดวยดังนั้นรีสอรท
เพื่อสุขภาพจึงเปนเหมือนสถานที่ผอนคลายและสัมผัสกับธรรมชาติอยางแทจริงเพื่อใหลูกคาผอน
คลายและรูสึกปลอดภัยมีสุขภาพที่ดีกลับบานเบาสบายตลอดระยะเวลาที่ไดมาพัก ซึ่งการบริการเรื่อง
อาหารใหกับลูกคาการเลือกวัตถุดิบที่มีประโยชนตอรางกายเปนสิ่งสําคัญในการดูแลคุณภาพชีวิตของ
ลูกคา เพราะปจจุบันมนุษยมีทางเลือกในการบริโภคมากขึ้นและมีผูที่บริโภคอาหารประเภทมังสะวิรัต
มีมากขึ้นรวมทั้งผูปวยในโรคตางๆที่งดรับประทานเนื้อสัตวดวยจากหลักฐานทางวิทยาศาสตรพบวา
เมื่อกินไขมันจากสัตวนอยลง ปริมานไขมันในเสนเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจก็จะนอยลงไปดวย จึงชวยลด
อัตราเสี่ยงตอการเปนโรคหัวใจและอาจรวมถึงโรคเบาหวาน โรคความดันสูง โรคอวน และโรคมะเร็ง
บางชนิดแพทยบางคนยังแนะนําผูปวยที่เปนโรคตางๆขางตนใหหันมารับบริโภคอาหารมังสวิรัติเพื่อ
ตอสูกับอาการของโรค ผูเชี่ยวชาญไดจําแนกประเภทของมังสวิรัติไดหลายชนิดเริ่มจาก 1.กึ่งมังสวิรัติ
คืองดเวนการกินเนื้อแดงแตยังคงกินเนื้อไก ปลาและผลิตภัณฑจากนม 2. มังสวิรัติ ประเภทดื่มนม
และกินไข ซึ่งงดเวนเนื้อสัตวทุกชนิด รวมทั้งเนื้อปลาและเนื้อสัตวปกทั้งหลายแตยังคงกินผลิตภัณฑ
จากนมและไข 3. มังสวิรัติประเภทดื่มนม จะเครงขึ้นอีกขั้นคือไมกินเนื้อสัตวทุกชนิด รวมทั้งไขแตยัง
ดื่นนมอยู 4. มังสวิรัติแบบเครงคัด จะกินแตพืชผักลวนๆ ไมแตะตองเนื้อสัตวชนิดใดๆ รวมทั้ง
3

ผลิตภัณฑจากนมหรือไข แตสิ่งที่สามารถทดแทนเนื้อสัตวและสามารถนํามาประกอบอาหารได
หลากหลายชนิดที่ไมตองรับประทานเพียงแตผักใบเขียวเทานั้ นคือเห็ดที่อุดมไปดวยคุณประโยชน
มากมายและมีหลากหลายชนิดที่สามารถนํามารับประทานไดรวมไปถึงเปนยารักษาโรค ดังนั้นเพื่อ
ลดอัตราการเกิดโรครายและเสริมสรางสุขภาพที่ดีใหกับมนุษยอาจเปนชวงระยะเวลาสั้นๆใหรางกาย
ไดรับประโยชนจากสารอาหารที่เปนธรรมชาติและอากาศที่บริสุทธิ์เพื่อใหระบบภายในไดพักผอนจาก
การทํางานหนัก การสรางรีสอรท บานดินเพื่อสุขภาพโดยมีรูปแบบ ภาพลักษณรูปเห็ดในการ
สรางสรรคสถานที่ใหสวยงามและดวยประโยชนที่มีคุณคาของเห็ดแตละชนิดที่รับประทานไดนํามาใช
ในการประกอบอาหารและผลิตสินคาตางๆที่สกัดจากธรรมชาติ ภายใตชื่อ Mushroom Clay House
Resort รีสอรทบานดินเพื่อสุขภาพ จึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งของผูที่อยากผอนคลายและดูแลสุขภาพ
อยางครบวงจรและไดสุขภาพที่ดีกลับบาน

1.2 วัตถุประสงคของโครงการ
1.2.1 เพื่อสงเริมการดูแลสุขภาพและการบริโภคอาหารของมนุษยในปจจุบัน
1.2.2 เพื่อศึกษาถึงแนวโนมในการเปลี่ยนแปลงใหมนุษยหันมาดูแลสุขภาพกันมากขึ้นในอนาคต
1.2.3 เพื่อจัดสรางสถานที่ทองเที่ยวพักแรมเชิงอนุรักษธรรมชาติสงเสริมคุณภาพชีวิตและสภาพ
จิตใจของมนุษยใหไดผอนคลายและมีสุขภาพที่ดี

1.3 ขอบเขตของโครงการ
การศึกษาครั้งนี้จะศึกษาธุรกิจดานการทองเที่ยวที่พักรีสอรทและปจจัยในการเลือกใชบริการ
ในดานตางๆของรีสอรททั่วไปและรีสอรทเพื่อสุขภาพวามีความตองการดานใดเพื่อเปนขอมูลในการ
สรางรีสอรทเพื่อสุขภาพใหครบวงจรที่สุด

1.4 นิยามศัพทเฉพาะ
มังสวิรัติ หมายถึง คําวามังสวิรัติ มาจากคําวา มังสะ แปลวาเนื้อสัตว วิรัติ แปลวา การงด
เวน มีความหมายรวมกันวา การงดเวน เนื้อสัตว คําวามังสวิรัติ ในภาษาอังกฤษคือ Vegetarian มี
รากศัพทมาจากภาษาลาติน คือ Vegetare Vegetus Vegetables ซึ่งแปลวา สมบูรณ ดีพรอม เบิก
บาน หมายถึงคุณสมบัติของพืชผักนั่นเอง
รีสอรท หมายถึง ที่พักที่มีลักษณะหองพักเปนหลังๆมีบริเวณแวดลอมดวยธรรมชาติ
เห็ด หมายถึง เห็ดอยูในกลุมพืชผัก มีโปรตีนสูง อุดมไปดวยวิตามิน มี แคลลอรี่ต่ํา เห็ด
ถูกจัดเปนพืชชั้นต่ํากลุมหนึ่ง เนื่องจากเห็ดไมมีคลอโรฟล สังเคราะหแสงเองไมได ตองอาศัยอาหาร
จากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยการเปนปรสิตหรือขึ้นบนรากพืชที่ตายแลว โปรตีนเกษตรหรือเนื้อเทียม
4

หมายถึง ผลิตจากแปงถั่วเหลืองพรองไขมัน 100% จึงมา คุณคาทางโภชนาการซึ่งเปนโปรตีนจากพืช


ถึง 50% โดย โปรตีน จากถั่ว เหลืองดังกลาวถือวามีคุณคาทางโภชนาการสูงเนื่องจากมีกรดอะมิโนที่
จํา-เปนตอรางกาย ครบทุกตัวโดยเฉพาะมีไลซีน (Lysine) สูง นอกจากนี้โปรตีน เกษตรยังมีราคาถูก
เมื่อเทียบกับเนื้อสัตว
บานดิน หมายถึง บานแบบธรรมชาติที่ใชวัสดุในการกอสรางคือดินเหนียวซึ่งสามารถหาได
ทั่วไปในทองถิ่นนํามาผสมกับ สวนผสมที่เปนเสนใยเพื่อเพิ่มความแข็งแกรงใหยึดเกาะกันของดิน
เหนียว
ระดับดาวของโรงแรม
กลุมดาวเดียว หมายถึง โรงแรมที่มีขนาดเล็ก สิ่งอํานวยความสะดวกและเฟอรนิเจอร และ
พอใช มีหองน้ํา เพียงพอในลักษณะของการใชรวมกัน มีบริการอาหารและเครื่องดื่มสําหรับผูมาพัก
เทานั้นบรรยากาศเปนกันเอง
กลุมสองดาว หมายถึง โรงแรมที่ตกแตงไวอยางดีมีระดับหองพักสูงกวาระดับดาวเดียว
หองพักกวางขึ้นมีหองน้ําในตัว อาหารมีครบครันขึ้น ไมบริการอาหารและเครื่องดื่มสําหรับ
บุคคลภายนอก
กลุมสามดาว หมายถึงโรงแรมที่ตกแตงไวอยางดี หองพักกว างขึ้น มีสิ่งอํานวยความสะดวก
ตางๆ มากขึ้น มีหองน้ําที่มีอางอาบน้ํา มีบริการอาหารและเครื่องดื่มสําหรับบุคคลภายนอก
กลุมสี่ดาว หมายถึง โรงแรมขนาดใหญ ตกแตงดีเปนพิเศษ มาตรฐานสูงในดานบริการและ
ความสะดวกสบาย มีหองอาหารมากกวา 1 หอง
กลุมหาดาว หมายถึง โรงแรมขนาดใหญประเภทหรู มีมาตรฐานสากลระดับสูงในทุกๆดานคือทั้ง
ดานหองพัก หองอาหารการบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
ผลจากการศึกษาครั้งนี้จะไดทราบถึงการดําเนินการธุรกิจดานการทองเที่ยวรีสอรทในสไตล
แบบธรรมชาติโดยใหมีความสอดคลองกับธรรมชาติและโครงสรางการดําเนินชีวิตของมนุษยดานการ
ดูแลสุขภาพเพื่อสามารถสรางสรรคธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและไดรับผลตอบรับที่ดีคือ
1.5.1 ไดทราบแนวทางในการพัฒนารูปแบบการดําเนินธุรกิจรีสอรทในแนวเชิงอนุรกั ษ
ธรรมชาติและเพื่อสุขภาพเพื่อเปนขอมูลที่มีประโยชนในการวางแผนธุรกิจนี้ในอนาคต
1.5.2 การดําเนินธุรกิจในลักษณะเชนนี้จะเปนแนวทางในการสนับสนุนใหเกิดการรักษา
สุขภาพที่ดีขึ้นและทําใหเกิดอัตราโรครายตางๆนอยลง
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาดานการดําเนินธุรกิจการจัดสรางรีสอรทเพื่อสุขภาพ นี้มีแนวคิด ทฤษฎี และ


งานวิจัยที่เกี่ยวของสอดคลองกับที่มาและปญหาในบทที่ 1 แบงเปน หัว ขอ คือ
2.1แนวคิดเกี่ยวกับโรงแรม
2.2ทฤษฎีเกีย่ วกับการตัดสินใจ
2.3ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการ
2.4ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาคาดหวัง (Customer Expectations)
2.5 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาไดรับ (Customer Perceptions)
2.6ทฤษฎีลําดับความตองการ (Need Theories)
2.7แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยว
2.8แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและธรรมชาติ
2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับโรงแรม
ความหมายของโรงแรม
ความหมายของโรงแรมตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478 มาตรา3 จึงใหความหมายวา
“โรงแรม หมายถึงบรรดาสถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินจางสําหรั บคนเดินทางหรือบุคคลที่จะ
หาที่อยูหรือที่พักชั่วคราว” (พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478 มาตรา 3) จากความหมายดังกลาว
แลว โรงแรมจึงหมายถึงสถานที่ทุกประเภทอาจเรียกชื่อวา โรงแรม หรือไมเรียกชื่อโรงแรม เชน อาจ
เรียกวา รีสอรท (Resorts) หรือบานพักตากอากาศ แตจั ดบริการเพื่อเรียกเก็บคาเชา และอาจ
จัดบริการอื่นๆ ประกอบดวย เชน บริการดานอาหารและเครื่องดื่ม การซักรีด การขายสินคาที่ระลึก
ฯลฯ ก็เปนลักษณะของโรงแรมทั้งสิ้น และความหมายของโรงแรมในสากล ก็มีลักษณะคลายกับ
โรงแรมในความหมายของไทย แตไดยกตัวอยางการบริการประกอบความหมายชัดเจนกวา เชน ไดให
ความหมายวา โรงแรม คือ สถานประกอบการที่ผูใหบริการตองจัดใหมีบริการดานอาหาร เครื่องดื่ม
และที่พักไวบริการแกนักเดินทางที่ตองจายคาบริการ หรือโรงแรม คือ สถานที่ซึ่งจัดบริการดานที่พัก
อาศัย และสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกนั กเดินทาง (Bhatia, 1983, p. 240) โรงแรม หมายถึง
สถานที่ประกอบการเชิงการคาที่นักธุรกิจตั้งขึ้น เพื่อบริการผูเดินทางในเรื่องของที่พักอาศัย อาหาร
และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการพักอาศัยและเดินทาง หรืออาคารที่มีหองนอนหลายหอง ติดตอ
เรียงรายกันในอาคารหนึ่งหลัง หรือหลายหลัง ซึ่งมีบริการตาง ๆ เพื่อความสะดวกของผูที่มาพัก ซึ่ง
6

เรียกวา "แขก " (guest) คําวา Hotel หรือ โรงแรมมีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส ซึ่งแปลวา คฤหาสน
โรงแรมแหงแรกในยุโรป คือ Hotel de Hanr IV (โฮเทล เดอ อองรี กัต) เมื่อป ค.ศ. 1788 โดยใน
สมัยกอนใชคําวา hôtel และภายหลังไดเปลี่ยนตัวโอมาเปนโอปกติในภาษาอังกฤษเปน hotel
เหมือนปจจุบัน (ขจิต กอบเดช, 2542, หนา 3) ตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2478 มาตรา 3 ให
ความหมายของโรงแรมไวดงั นี้ …บรรดาสถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้น เพื่อรับสินจางสําหรับคนเดินทาง
หรือบุคคลที่ประสงคจะหาที่อยู หรือที่พักชั่วคราว ทั้งนี้ตองการบริการอาหารและเครื่องดื่มแกผูที่เขา
พักตามความตองการไดดวยดังในมาตรา 25 กํากําหนดไววา เคหะสถานใด ใชเปนบานพักดังกลาวคือ
ใชเฉพาะเปนที่รับบุคคลที่ประสงคจะไปพักอาศัยอยูซึ่งระยะเวลาอยางน อยหนึ่งคืน โดยผูมีสิทธิ์ใหใช
ไมไดขายอาหาร หรือเครื่องดื่มใด ๆ แกผูมาพักเปนปกติธุระหรือแกประชาชน ไมถือวาเปนโรงแรม
ตามความหมายแหงพระราชบัญญัตินี้ (ปรีชา แดงโรจน, 2526, หนา 214-216) ไดใหความหมาย
ของคําวา อุตสาหกรรมโรงแรมวา “เปนการดําเนินธุรกิจแบบที่มีสถานประกอบการ จัดตั้งเพื่อรับ
สินจางสําหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่หาที่อยูหรือที่พัก มีบริการอาหาร และเครื่องดื่มไวบริการคน
เดินทางอยางมีแบบแผน มีมาตรการควบคุมตามขอบขายของการบริการนั้น ๆ ดวยเหตุนี้
อุตสาหกรรมโรงแรมจึงแตกตางไปจากอุตสาหกรรมอื่น ”
หากจะกลาวสรุปรวมถึงความหมายของที่พักแรมนั้น สรุปไดวาโรงแรมหมายถึง บรรดา
สถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินจางสําหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่จะหาที่อยูหรือที่พักชั่วคราวที่
ซึ่งบริการดานอาหารและเครื่องดื่ม ที่พักหลับนอนแกผูเดินทางที่มีเงินและเต็มใจที่จะจายเงิน
คาบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่จัดใหสวนประสมทางการตลาดของธุรกิจโรงแรม ดังนั้น
โรงแรมจึงเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของการเดินทาง ในดานการพักผอน และความ
สะดวกสบายตางๆ ในดานการเดินทาง ประวัติศาสตรของโรงแรม คงเกิดขึ้นไมต่ํา กวา 2,000 ปลวง
มาแลว เพราะในสมัยอาณาจักรโรมัน (700 B.C. – ค.ศ. 500) ก็มีที่พักแรมประเภทโรงแรมสําหรับคน
เดินทาง แตหลังจากอาณาจักรโรมันตะวันตกแตกสลายสภาพทางการเมืองขาดความมั่นคง บานเมือง
แตกแยกออกเปนอาณาจักรเล็กๆ ขาดการติดตอคาขายซึ่งกันและกัน นอกจากนี้โ จรผูรายก็ชุกชุม จึง
ทําใหการเดินทางหยุดชะงัก โดยเฉพาะอยางยิ่งระหวาง คริสตศตวรรษที่ 6 – 10 เนื่องจากเหตุผล
ดังกลาวแลวจึงสงผลใหธุรกิจการโรงแรมหยุดชะงักการขยายกิจการตามสภาพของระบบการเมืองและ
เศรษฐกิจ ระหวางคริสตศตวรรษที่ 8 – 13 การเดินทางเพื่อประกอบกิ จการทางดานศาสนาไดเริ่มมี
มากขึ้น ทางฝายศาสนาจะจัดวัดเปนศูนยกลางที่พัก (Religious Centers) ของผูจาริกแสวงบุญการ
บริการดังกลาวแลวไมตองเสียคาใชจาย ชวงสงครามครูเสด (ค.ศ. 1029 - 1270) ซึ่งเปนสงคราม
ระหวางศาสนาคริสตกับอิสลาม ชาวคริสตในยุโรป ไดเดินทางไปรวมทําสงครามครูเสด สงผลกระทบ
ใหวัดในคริสตศาสนา จัดสรางที่พักไวบริการแกชาวคริสต ผูไปรวมสงครามมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้
สงครามครูเสด ยังสงผลใหนครรัฐตางๆ ของประเทศอิตาลี เชน เวนิส (Venice) ฟรอเรนซ
7

(Florence) กลายเปนศูนยกลางการคา และการเดินทาง จากยุโรปสูเอเชียตะวันตกเฉียงใต ซึ่งเปน


ดินแดนของการทําสงครามระหวางศาสนา เพื่อตอบสนองความตองการในการพักแรม ตามเมืองฟรอ
เรนซไดจัดสรางที่พักสําหรับนักเดินทาง ในป ค.ศ. 1290 มีจํานวนที่พักดังกลาวแลว จํานวน 86 หลัง
(ปรีชา แดงโรจน, 2525, หนา 7) สําหรับในประเทศฝรั่งเศส ก็มีที่พักของนักเดินทางเชนเดียวกัน ในป
ค.ศ. 1254 กฎหมายฝรั่งเศสไดกําหนดไววา ผูเดินทางจะตองพักในโรงแรมเทานั้น และในป ค.ศ.
1315 กฎหมายยังกําหนดไววา ผูเดินทางจะตองพักในโรงแรมเทานั้น และในป ค.ศ. 1315 กฎหมาย
ยังกําหนดไววาถาผูพักเสียชีวิตในโรงแรม เจาของตองใชเงินมีมูลคา 3 เทาของมูลคาที่ผูพักพาติดตัว
มา (จําลอง ทองดี, 2526, หนา 7) จากกฎหมายดังกลาวแลวแสดงใหเห็นวา มีที่พักสําหรับบริการแก
นักเดินทาง และเกิดความไมปลอดภัยแกชีวิตและทรัพยสิน จึงไดตรากฎหมายดังกลาวขึ้นตอนปลาย
สมัยกลาง ตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 14 และ 15 เปนตนมา ไดเกิดการคาขายระหวางเมือง และเมือง
ตางๆ ไดขยายตัวในดานเศรษฐกิจอีกครั้งหนึ่ง การขยายตัวทางดานเศรษฐกิจดังกลาวแลวทําให ธุรกิจ
ทางดานที่พักแรม ขยายกิจการตามไปดวย ดังนั้นในคริสตศตวรรษที่ 15 ไดมโี รงแรม (Inns หรือ
Taverns) ในเมืองตางๆ แพรหลายในยุโรป ในปค.ศ. 1576 ประเทศอังกฤษมีโรงแรมบริการประมาณ
6,000 โรงแรม (Bhatia, 1983, p.236) โรงแรมประเภทนี้ตั้งอยูบริเวณริมทางรถมา จัดที่พักใหทั้งคน
และมา นอกจากเปนที่พักแรมของคนเดินทาง สถานที่ดังกลาวแลวยังเปนที่ พบปะสังสรรคของขุนนาง
นักการเมือง พระและบุคคลในทองถิ่น โรงแรมไดขยายตัวอยางตอเนื่องตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 18 จน
พัฒนาเปนโรงแรมมาตรฐานซึ่งเปนตนแบบของโรงแรมปจจุบันในปลายคริสตศตวรรษที่ 19 (Gray &
Liquori, 1994, pp. 3 -5)ในอเมริกา หลังจากไดมีชาวอังกฤษและทางชาติยุโรปชาติอื่นๆ อพยพเขา
ไปอยูในอเมริกาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16 ก็ทําใหเกิดที่พักหรือโรงแรม ในบริเวณทางดานฝง
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกาในปจจุบัน โรงแรมในอเมริกาเกิดขึ้นตามบริเวณเมือง
ทาชายฝงทะเลหรือแมน้ํา แตโรงแรมในอังกฤษเกิดขึ้ นตามแนวเสนทางรถมา โรงแรมไดพัฒนาตาม
ความเจริญของประเทศอยางตอเนื่อง ในป ค.ศ. 1794 โรงแรม ซิตตี้ (City Hotel) ในนครนิวยอรค
(New York) เปนโรงแรมขนาดใหญที่สุดมีหองพัก 70 หอง ในป ค.ศ. 1829 ในเมือง บอสตัน
(Boston) ไดสรางโรงแรมขนาดใหญ มีหองพักถึง 170 หอง หลังจากนั้นโรงแรมไดพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง จนกระทั่งป ค.ศ. 1907 เอลสเวิรส เอ็ม สเตทเลอร (Elsworth M. Statler) ไดสรางโรงแรม
บัฟฟาโล สเตทเลอร (Buffalo Statler) มีหองพักทั้งหมด 300 หอง แตละหองมีหองน้ําสวนตัว สเตท
เลอรยังไดขยายกิจการของโรงแรมออกไปยังเมืองตางๆ และเปนแนวความคิดของการจัดตั้งโรงแรม
เครือขาย (Chain Hotel) ในปจจุบัน (Gray & Liquori, 1994, pp. 5 - 6) องคประกอบที่สําคัญทํา
ใหธุรกิจการโรงแรมขยายตัว คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของยุโรป ตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 18
ผนวกกับความเขมแข็งทางดานการเมืองและความกาวหนาในการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ในคริสตศตวรรษที่ 19 ไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีดานการขนสงทั้งทางน้ําและทางบก ไดประดิษฐเรือ
8

กลไฟ และรถไฟในการขนสงสินคาและผูโดยสาร สิ่งเหลานี้ลวนสงเสริมใหเกิดการขยายตัวในเรื่องการ


เดินทางและสงผลในธุรกิจโรงแรมไดพัฒนามากยิ่งขึ้น หลังจากไดมีการพัฒนาการขนสงทางอากาศใน
ตนคริสตศตวรรษที่ 20 จนกระทั่งมีความปลอดภัยในการขนสงผูโดยสารและสินคาจึงทําใหการจนสง
ทางอากาศมีบทบาทที่สําคัญในการเดินทางระหวางประเทศ หรือการเดินทางระยะไกล การขนสง
ผูโดยสารที่ปลอดภัย รวดเร็ว สะดวกสบาย และการพัฒนาเทคโนโลยีของระบบการขนสงทางอากาศ
ใหเจริญกาวหนาขึ้นตั้งแตทศวรรษที่ 1960 เปนตนมา ลวนสงผลใหเกิดการขยายตัวทางดานการ
เดินทางเพื่อประกอบธุรกิจและการทองเที่ยว ยอมสงผลใหเกิดการขยายตัวทางดานที่พักแรมใน
รูปแบบตางๆ เพื่อสนองความตองการของนักเดินทางซึ่งมีวัตถุประสงคที่แตกตางกัน วิวัฒนาการของ
โรงแรม เกิดขึ้นจากสมัยโบราณประมาณชวงยุคของอาณาจักรกรีก ที่คนเราเริ่มเดินทางระหวางเมือง
ไปมาหาสู แตเดิมผูเดินทางจะนอนตามถนนหรือนอนตามบานเรือน ของประชาชนทั่วไป หรือ ตาม
โบสถ โดยแตเดิมเปนการใหที่พักพิง มีอาหารใหตามอัตภาพไมมีคาบริการ จนกระทั่งมีคนหัวใสได
เปลี่ยนแนวคิดนี้ ใหกลายเปนธุรกิจขึ้นมา โดยเริ่มตนจาก เมืองฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี จนกระทั่งป
ค.ศ. 1282 เมื่อสมาคมโรงแรมในสมัยนั้นถือกําเนิดขึ้น และไดเปลี่ยนแนวคิดจาก ไมตรีจิต มาเป น
ธุรกิจ และเริ่มมีการขายไวน อาหารงายๆ มีการใชระบบ ลงทะเบียนผูเขาพักขึ้น จนธุรกิจนี้แพรหลาย
และทํากําไร จากนั้นไมนานธุรกิจนี้ จึงถือกําเนิดขึ้นและเริ่มแพรหลายไปยัง ประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส
จนถึงสหราชอาณาจักร
การโรงแรม มีการพัฒนาการตลอดเวลาจากแตเดิม ที่มี หองพักเพียงอยางเดียว สําหรับนัก
เดินทางก็พัฒนา ใหมีความหรูหรา สะดวกสบาย มีการบริการที่ดี โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรฯ
โรงแรมเปนที่ของผูดี และขุนนาง นักการเมืองเทานั้น โดยโรงแรมที่มีชื่อเสียงเรื่องความหรูหรามาก
ของสหราชอาณาจักรฯ คือ โรงแรมซาวอย (Savoy Hotel) ป ค.ศ. 1880 ซึ่งเปนโรงแรมเดียว ที่มี
เครื่องกําเนิดไฟฟา โบสถ โรงละคร อยูในนั้น โรงแรมไมมีการพัฒนาไปไกลกวา จนกระทั่ง นาย เซ ซา
ร ริทซ (Ce'Sar Ritz) เปนชาว สวิสเซอรแลนด ผูซึ่งเปนบิดา ของการโรงแรมไดนําวิทยาการใหมๆมา
ใชนั่นเอง
วิวัฒนาการที่สําคัญ
ค.ศ. 1834 แอสเตอร (Astor) เปนผูริเริ่มนําระบบทอประปามาใชในอาคาร ทําใหหองพัก
สามารถสรางหองน้ําไวไดในตัวหอง จากแตเดิมตองไปใชหองน้ํารวม
ค.ศ. 1853 มีการใชลิฟตพลังงานไอน้ําในโรงแรมเปนครั้งแรก
ค.ศ. 1875 โรงแรมพาเลซ ซานฟรานซิสโก สรางขึ้นดวยเงิน 5 ลานเหรียญสหรัฐ มีหองพัก
800 หอง ถือเปนโรงแรมที่มีขนาดใหญมากในขณะนั้น
ค.ศ. 1894 เนเธอรแลนดโฮเทล ที่นครนิวยอรกเปนโรงแรมแหงแรกที่มีโทรศัพทใชในหองพัก
9

ประเภทของโรงแรม
เกณฑการแบงประเภทของโรงแรมแบงไดหลายแบบ คือ
1. แบงตามทําที่ตั้ง
2. แบงตามหนาที่
3. แบงตามจํานวนหองพัก
4. แบงตามราคาคาหอง
5. แบงตามระยะเวลาที่ลูกคามาพัก
โรงแรมที่แบงตามทําเลที่ตั้ง
โรงแรมในเมืองใหญ (Large City Hotels) เปนโรงแรมที่ตั้งอยูในเมืองใหญซึ่งมีประชากร
อาศัยอยูหนาแนน และเปนศูนยกลางของธุรกิจทุกประเภท เชน ศูนยกลางการคา การเงิน การ
ปกครอง การทองเที่ยว การคมนาคมขนสง จึงมีผูเดินทางมาที่เมืองใหญเปนจํานวนมาก และทําใหมี
ความตองการดานที่พักแรมมาก โรงแรมในเมืองใหญมักจะมีขนาดของโรงแรมและสิ่งอํานวยความ
สะดวกแตกตางกัน ขนาดของโรงแรมที่มีตั้งแตขนาดเล็ก หองพักนอยกวา 100 หอง ไปจนถึงโรงแรม
ขนาดใหญมากที่มีหองพัก 1,000-2,000 หอง ซึ่งหมายถึงวาวันใดที่มีแขกเขาพักเต็มและมีการใชหอง
ประชุมหรือหองจัดเลี้ยงพรอมๆ กันแลว โรงแรมจะตองจัดพนักงานไวบริการนับพันคน เพื่อบริการ
แขก 3,000-4,000 คนในเวลาเดียวกัน แตไมวาโรงแรมจะมีขนาดใหญหรือเล็กก็ตาม บริการของ
โรงแรมก็คลายคลึงกัน คือ ตองจัดหองพักใหสะอาด และบริการแขกตั้งแตการตอนรับ การ
ลงทะเบียนเขาพักการใหขาวสารขอมูล และจัดสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกแขก ความแตกตางของ
โรงแรมแตละแหงก็คือ คุณภาพและจํานวนของอุปกรณเครื่องใชที่จัดใหแขก การออกแบบและการ
ตกแตงอาคารสถานที่และบริการตางๆ ที่มีไวบริการแกแขก มีหองประชุมขนาดตางๆ มีสถานที่จอด
รถกวางขวาง บริการสื่อสารทั้งภายในและตางประเทศ มีภัตตาคารสถานที่บันเทิงและพักผอนหยอน
ใจ มีบริการทางการแพทย รานเสริมสวย และรานคาทุกประเภทใหแขกเลือกไดอยางครบถวน
โรงแรมในเมืองเล็ก (Small City Hotels) เปนโรงแรมที่ตั้งอยูที่เมืองเล็กๆ สวนใหญจะตั้งอยู บริเวณ
ชุมทางหรือใกลสถานีรถไฟ สถานีขนสง ยานธุรกิจการคา ที่พักของนักทองเที่ยว นักธุร กิจและผูเดิน
ทางผานเมือง ลักษณะบริการที่สําคัญและทํารายไดใหแกโรงแรมคืออาหารและเครื่องดื่มเนื่องจาก
โรงแรมประเภทนี้มักเปนที่พบปะสังสรรคของคนในทองถิ่น โรงแรมชานเมือง (Saburban Hotel)
ตั้งอยูชานเมือง หรือนอกเมือง มีการ คมนาคมสะดวก บรรยากาศเงียบสงบ มีอากาศบริสุทธิ์
โรงแรมสถานตากอากาศ (Resort Hotel) จะแบงเปน 2 ประเภท คือ
- ประเภทแรก เปนโรงแรมที่ตั้งอยูใกลสถานที่ทองเที่ยวตามธรรมชาติเชนใกลชายหาด ภูเขา
ทะเลสาบ หรือบอนการพนัน แขกที่มาพักโรงแรมนั้นเพราะสิ่งดึงดูดใจนอกโรงแรม
10

- ประเภททีส่ อง เปน โรมแรมที่ไมมีธรรมชาติดึงดูดนักทองเที่ยว เปนโรงแรมที่จัดบริการและ


สิ่งอํานวยความสะดวกทุกอยางไวพรอม แขกที่เขาพัก สามารถพักผอน เลนกีฬา ออกกําลังกาย หรือ
แสวงหาความบันเทิงทุกอยางในโรงแรมโดยไมตองออกไปขางนอก บริการที่จัดไว เชน สนามเทนนิส
กีฬาโบวลิ่ง สนามกอลฟ สระวายน้ํา สนามขี่มา โรงภาพยนตร ดนตรี ฯลฯ โรมแรมทาอากาศยาน
(Airport Hotel) (อนุพันธ กิจพันธพานิช, 2538, หนา 12) ตั้งอยูใกลกับทาอากาศยาน โดยเฉพาะทา
อากาศยานนานาชาติ ลูกคาสวนใหญจะเปนนักธุรกิจผูโดยสารเครื่องบินที่จําเปนตองพักคางคืน
เนื่องจากเที่ยวบินไดรับการยกเลิกหรือเครื่องบินมีปญหาติดขัดตองเลื่อนกําหนดออก หรือจําเปนตอง
พักรอเพื่อตอเที่ยวบินอื่น ตลอดจนเจาหนาที่สายการบินตาง ๆ โรงแรมประเภทนี้จะมีรถบริการ
ระหวางสนามบินกับโรงแรม และสวนใหญจะมีหองประชุมเพื่อบริการแกแขกที่เดินทางมาประชุมแต
ไมตองการเสียเวลาในการเดินทางเขาเมือง ซึ่งจะประหยัดทั้งคาใชจายและเวลา
โรงแรมที่แบงตามหนาที่
โรงแรมเพื่อการคาหรือการพาณิชย (Commercial Hotel) มุงเนนบริการนักธุรกิจ พอคาที่มา
ติดตอธุรกิจ โรงแรมเพื่อการพักผอน (Resort Hotel) มักตั้งอยูตามสถานที่ทองเที่ยวที่สวยงาม มี
บริการดานตาง ๆ ครบครันโรงแรมเพื่อการประชุม (Convention Hotel) โรงแรมทีม่ วี ตั ถุประสงค
ของการดําเนินเพื่อการจัดเปนที่ประชุมสัมมนา หรืออบรม ๆ โดยจัดหองไวใหบริการ โรงแรมเพื่อ
การพักอาศัย (Dresidential Hotel) เปนลักษณะใหเชาหองพักถาวร ในรูปหองชุด โรงแรมเพื่อ
ใหบริการแกนักทองเที่ยว โดยใชรถยนตเปนพาหนะ (Motel) มักตั้งอยูตามถนนสายสําคัญๆ มีที่จอด
รถติดกับหองพัก
โรงแรมที่แบงตามจํานวนหอง
โรงแรมขนาดเล็ก คือ โรงแรมที่มีหองพักเดี่ยวต่ํากวา 30 หอง
โรงแรมขนาดกลางคือโรงแรมที่มีหองพักมากกวา 30 หอง ไมเกิน 100
โรงแรมขนาดใหญ คือ โรงแรมที่มีหองพักมากกวา 100 หองตกแตงหรูหรา มีบริการครบครัน
โรงแรมที่แบงตามราคาคาเชาหองพัก
11

ตารางที่ 2.1: แสดงรายละเอียดราคาที่พักโรงแรม

หมายเหตุ : หนวยเปนบาท

ทีม่ า: การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย. (2545). รายงานสถิติการทองเที่ยวประจําป 2549.


กรุงเทพฯ: การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย.

โรงแรมที่แบงตามระยะเวลาที่ลูกคามาพัก
โรงแรมสําหรับพักชั่วคราว (Transient Hotel) คือ โรงแรมที่ลูกคามาพักเปนระยะเวลาสั้น ๆ
โรงแรมสําหรับพักประจํา (Residential Hotel) คือ โรงแรมประเภทใหลูกคาเชาพักเปนเวลาอยาง
นอย 1 เดือน โดยคิดคาเชาเปน รายเดือน หรือหองพักจะเปนประเภทหองชุด
ระดับมาตรฐานของโรงแรม
สมาคมยานยนตในประเทศอังกฤษ หรือ Automobile Association (AA) และราชยานยนต
สโมสร หรือ Royal Automobile Club (RAC) จัดกลุมระดับของโรงแรม แลวยังนับเปนเครื่องหมาย
รบรองคุณภาพของโรงแรมในแตละกลุมดวย คือ
กลุมดาวเดียว หมายถึง โรงแรมที่มีขนาดเล็ก สิ่งอํานวยความสะดวกและเฟอรนิเจอรงาย ๆ
และพอใช มีหองน้ําหองสวมเพียงพอ ในลักษณะของการใชรวมกัน มีบริการอาหาร และเครื่องดื่ม
สําหรับผูมาพัก เทานั้น บรรยากาศเปนกันเอง
กลุมสองดาว หมายถึง โรงแรมที่ตกแตงไวอยางมีระดับ หองพักสูงกวาระดับดาวเดียว
หองพักกวางขึ้น มีหองน้ําในตัว อาหารมีครบครันขึ้น ไมบริการอาหารและเครื่องดื่มสําหรับ
บุคคลภายนอก
กลุมสามดาว หมายถึง โรงแรมที่ตกแตงไวอยางดีหองพักกวางขึ้นมีสิ่งอํานวยความสะดวก
ตาง ๆ มากขึ้น มีหองน้ําที่มีอางอาบน้ําบนมีบริการอาหารและเครื่องดื่มสําหรับบุคคลภายนอก
12

กลุมสี่ดาว หมายถึง โรงแรมขนาดใหญ ตกแตงดีเปนพิเศษ มาตรฐานสูงในดานบริการ และ


ความสะดวกสบาย มีหองอาหารมากกวา 1 หอง
กลุมหาดาว หมายถึง โรงแรมขนาดใหญประเภทหรูมีมาตรฐานสากลระดับสูงในทุกๆ ดานคือ
ทั้งหองพัก หองอาหาร การบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ (ศูนยกลางโรงแรมและรีสอรททัว่
ไทย, 2552)
ลักษณะธุรกิจโรงแรมที่ดําเนินในประเทศไทย
บุญเสริม หุตะแพทย และมนูญ กาละพัฒน . (2542, หนา 166 – 167) ไดกลาวการแบงกลุม
ธุรกิจโรงแรมในประเทศไทยวามีการแบงกลุมตามระดับสิ่งอานวยความสะดวก (Facility) โดยใชราคา
หองพักเปนเกณฑ ซึ่งมีการบริหารงานในลักษณะตางๆ ดังนี้ ดําเนินการโดยเจาของกิ จการ เปน
ลักษณะโรงแรมที่มีจํานวนหองพักไมมากนัก ดําเนินในรูปของนิติบุคคล มีหองพักจํานวนมาก และมี
ลักษณะการบริหารงาน ในลักษณะตางๆ ดังนี้
ก. ดําเนินธุรกิจโรงแรมในเครือนานาชาติ (International Hotel Chain) แบงออกเปน
1) การรวมลงทุนโดยตรง เปนการซื้อหุนกิจการโรงแรมที่มีอยูแลว หรือรวมลงทุนสราง
โรงแรมขึน้ มาใหม
2) การเชากิจการ เปนการเชาโรงแรมที่เปดดําเนินอยูแลวมาดําเนินเอง ผูใหเชาไมมีสิทธิ์ใน
การบริหาร และจะเปลี่ยนชื่อโรงแรมตามชื่อของ Hotel Chain นั้น ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการ
จัดการและการบริหาร โดยผูเชาจะรับผิดชอบดานคาใชจาย และผลกําไรจะเปนของผูเชา โดยผูใหเชา
จะมีรายไดจากคาเชาเทานั้น การดําเนินการในรูปแบบนี้จะอยูภายใตนักบริหารการโรงแรมระดับ
อาชีพจากตางประเทศ
3) การรับสิทธิ์ในการใชชื่อหรือแฟรนไชส (Franchise) โรงแรมที่ซื้อสิทธิ์จะเปลี่ยนมาใชชื่อ
ตาม Hotel Chain นั้น และรับการถายทอดเทคโนโลยีเพื่อใหไดมาตรฐานเดียวกับผูใหสิทธิ์ ใชระบบ
การสํารองหองพักระหวางโรงแรมในเครือ ในรูปแบบนี้เจาของกิจการยังคงรับผิดชอบการบริหารอยู
แตจะมีตัวแทนของผูใหสิทธิ์มารวมบริหารงานดวย
4) การบริหารดานการจัดการ เปนการเสนอขายการจัดการใหแกโรงแรมใดโรงแรมหนึ่ง โดย
Hotel chain จะรับผิดชอบการจัดการใหทั้งหมด แตไมรับผิดชอบฐานะทางการเงินของโรงแรม
รายไดของโรงแรมในเครือมาจากกาไรจากการดาเนินงาน
ข. การดําเนินธุรกิจในเครือโรงแรมไทย เปนการบริหารงานของกลุมธุรกิจ โรงแรมที่เปนคนไทย โดย
เริ่มตนจากการบริหารโรงแรมเพียงแหงเดียว และเมื่อเรียนรูระบบการดําเนินงานและมีประสบการณ
ในธุรกิจโรงแรมจึงขยายกิจการออกไป เชน เครืออิมพีเรียล เครือดุสิต สยามลอดจ และสยามเบย
เปนตน
13

การกําหนดระดับมาตรฐานโรงแรมในประเทศไทย
สมาคมโรงแรมไทย (2545, หนา 12-16) ไดกําหนดหลักเกณฑระดับมาตรฐานโรงแรมใน
ประเทศไทยซึ่งไดผานการปรับปรุงแกไขจากคณะทางานจัดทามาตรฐานโรงแรมทั้งโรงแรมขนาดใหญ
และขนาดเล็กในกรุงเทพ และตางจังหวัด และผานการพิจารณาจาองคกรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว
ดานโรงแรมโดยตรงทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน โดยใชสัญลักษณรูปดาวหาแฉก เปนสัญลักษณที่เปน
สื่อสากล และประชาชนในประเทศมีความรูจักดีกวาอยูแลว เปนสัญลักษณในการแบงระดับมาตรฐาน
โรงแรมในประเทศไทย โดย จัดแบงมาตรฐานเปน 5 ระดับดังนี้
ก. รูปดาวหาแฉกหนึ่งดวง หมายถึงมาตรฐานระดับหนึ่งดาว
ข. รูปดาวหาแฉกสองดวง หมายถึงมาตรฐานระดับสองดาว
ค. รูปดาวหาแฉกสามดวง หมายถึงมาตรฐานระดับสามดาว
ง. รูปดาวหาแฉกสี่ดวง หมายถึงมาตรฐานระดับสี่ดาว
จ. รูปดาวหาแฉกหาดวง หมายถึงมาตรฐานระดับหาดาว
การจัดแบงระดับมาตรฐานโรงแรมไดมาตรฐานระดับดาว โดยเรียงลําดับมาตรฐานจากระดับ
มาตรฐานที่นอยที่สุดคือ 1 ดาว ไปหาระดับมาตรฐานที่มากสุดคือ 5 ดาว ปจจัยในการพิจารณาตัดสิน
มาตรฐานโรงแรม
1. สภาพทางกายภาพ เชนที่ตั้ง สภาพแวดลอม เปนตน
2. การกอสราง เชน โครงสรางทางกายภาพของโรงแรม ระบบในโรงแรม การเลือกใช วัสดุ
ระบบความปลอดภัย
3. สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูเขาพัก และผูใชบริการ เชน ปริมาณของใชที่จัดใหอุปกรณ
ตกแตง
4. คุณภาพการบริการ และการรักษาคุณภาพ เชน บุคลิกภาพ ความสะอาด สุขอนามัย
ชือ่ เสียงโรงแรม
5. การบํารุงโรงแรม สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ตามที่กลาวขางตน
จุดประสงคของโรงแรม คือ เพื่อบริการผูเดินทางในเรื่องของที่พักอาศัย อาหาร และบริการ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการพักอาศัยและเดินทาง หรืออาคารที่มีหองนอนหลายหองติดตอเรียงรายกันใน
อาคารหนึ่งหลัง หรือหลายหลัง ซึ่งมีบริการตาง ๆ เพื่อความสะดวกของผู ที่มาพัก โรงแรมธุรกิจ
โรงแรมประเภทนี้มักจะตั้งอยูกลางใจเมือง ในเขตธุรกิจ มีจุดประสงคใหบริการนักธุรกิจเปนหลัก
ขนาดของโรงแรม จะมีตั้งแต 100 หอง และนอกจากนั้นมักจะนิยมใชเปนที่จัดงานประชุม หรือ งาน
เลี้ยง จะมีการบริการที่หรูหรา แตชวงเวลาที่แขกจะเขาพั กมักจะสั้นๆ โรงแรมทาอากาศยาน โรงแรม
ประเภทนี้ จะตั้งอยูใกล ๆกับสนามบิน แขกที่เขาพักจะเปนพวกนักทัศนาจร ที่มารอตอเครื่องบิน การ
เขาพักมักจะเปนชวงสั้นๆ ไมคางคืนเกิน 1 วัน หรือในบางกรณีก็จะเปนนักธุรกิจที่มาเขาพักแบบ
14

โรงแรมธุรกิจก็เปนได โรงแรมพักอาศัยโรงแรมประเภทนี้ มักจะเปนโรงแรม ที่เปดใหเขาพักเปนระยะ


เวลานานๆ1เดือนขึ้นไปมีลักษณะคลายคอนโดมิเนียมที่มีบริการแบบโรงแรม เพียงแตความหรูหรา
อาจไมเทียบเทา คอนโดมีเนียมโฮเต็ล (Condominium Hotels) หมายถึง โรงแรมที่รวมหองชุดเขา
ดวยกันแทนหองที่พักธรรมดาทั่วไป บุคคลที่ซื้อคอนโดมีเนียมจากบริษัทผูสราง มีฐานะเปนผูถือ
กรรมสิทธิ์ในหองชุดคอนโดมีเนียม ผูถือกรรมสิทธิ์จะทําสัญญากับบริษัทผูขาย หรือบริษัทที่สามที่จะ
เขามาบริหารและรวมดําเนินการคอนโดมีเนียม เพื่อดําเนินธุรกิจโรงแรม หรือเปดใหนักเดินทาง
ทองเที่ยวมาเชาพัก เจาของกรรมสิทธิ์ที่จะเขามาพักในชวงเวลาหนึ่ง ที่กําหนดแนนอนชัดเจนในแตละ
รอบหนึ่งป โดยจายคาเชาในอัตราลดพิเศษ บริษัทหรือผูดําเนินการบริหารโรงแรมจะไดรับคา
ดําเนินการและคาเชาหองพักคอนโดมีเนียมจากผูมาเชาพัก
ที่พักประเภทถือกรรมสิทธิ์รวมกัน (Timesharing) หมายถึง ที่พักประเภทถือกรรมสิทธิ์
รวมกัน ในรูปแบบพิเศษของเจาของกรรมสิทธิ์คอนโดมีเนียม โดยการเฉลี่ยคาใชจายรวมทุนกันซื้อ
อาคารชุด หรือคอนโดมีเนียม แลวกําหนดชวงระยะเวลาที่แตละคนไปใชบริการในแตละรอบป
หมุนเวียนกันไป หลักการสําคัญของที่พักแบบนี้ ประการแรก การมีสิทธิ์รวมกันในการเขาพักเปน
จํานวนป ๆ ละกี่ครั้ง กําหนดไวแนนอน ประการที่สอง รวมกันเฉลี่ยคาใชจาย ซึ่งจะถูกกวาไปเชา
โรงแรมหรืออาคารชุด ประหยัดเงินลงทุนที่จะไปซื้อบาน หรืออาคารชุดอยูอาศัยแลวไดใชไมคุมคา
ประการที่สาม สิทธิ์ที่จะแลกเปลี่ยนสิทธิการเขาพักในที่พักของบุคคลอื่นหรือในแหลงทองเที่ยวอื่น ๆ
ได
โรงแรมเพื่อการพักผอน (รีสอรท) โรงแรมประเภทนี้ ที่พักแรมสําหรับนักทองเที่ยวที่นิยม
สรางขึ้นตามบริเวณที่มีทิวทัศนสวยงามตามธรรมชาติ ที่พักประเภทนี้จะไม ไดรับความนิยมจากนัก
เดินทาง ชั่วคราวระยะเวลาสั้น ๆ มักจะตั้งอยูตางจังหวัด ในภูมิประเทศที่ดี หองพักมักจะแยกเปน
สวนๆ เปนบานหรือหลังคาเรือนแยกตางหาก ในโรงแรมจะมีกิจกรรมตาง ๆ มากมาย เชน การปน
จักรยาน เลนกอลฟ ขี่มา เดินปา สปา เพราะจุดประสงคของแขกที่เขาพักโรงแรมประเภทนี้คือการ
พักผอนเปนหลัก ระยะเวลาเขาพักจึงมีระยะเวลาในชวง 5-7 วัน การบริการจะเปนแบบสบายๆ เปน
กันเอง
นักวิชาการดานการโรงแรมและการทองเที่ยว ไดจําแนกประเภทของรีสอรทเปนหลาย
รูปแบบดังนี้ (Mill, 2001, pp. 13-14 อางใน วชิราภรณ โลหะชาละ, 2545)
(1) การจําแนกตามความใกลชิดกับตลาดปฐมภูมิ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ รีสอรทที่เปน
จุดหมายปลายทาง (Destination Resorts) และรีสอรทที่ไมใชจุดหมายปลายทาง (Non-
Destination Resorts) โดยพิจารณาจากระยะทางแลระยะเวลาในการเดินทางเขาถึง ความถี่ ในการ
เดินทางไปเยือนระยะเวลาในการพักโดย รีสอรทประเภทแรกมักตั้งอยูไกล ผูไปเยือนไมนิยมเลือก
เดินทางโดยรถยนต เดินทางไปเยือนไดไมบอยครั้งนักเฉลี่ยเพียงปละ 1-2 ครั้ง แตจะใชเวลาในการพัก
15

ราวหนึ่งสัปดาห สวนรีสอรทประเภทหลังจะตรงกันขามกับประเภทแรก คือ ระยะทางไมไกลนัก นิยม


เลือกเดินทางโดยรถยนต มีความถี่ในการเดินทางไปเยือนไปบอยครั้งกวา แตระยะเวลาในการพักจะ
คอนขางสั้นเฉลี่ย 1-3 วัน
(2) การจําแนกตามรูปแบบของสถานที่ แบงออกเปนรีสอรทริมทะเล หรือชายฝง หรือ
มหาสมุทร (Beach/Seaside/Costal or Ocean Resort) รีสอรทเชิงเขา (Mountain Resort) รี
สอรทเพื่อ กิจกรรมกีฬา (Sport Resort) เชน รีสอรทฤดูหนาวเพื่อการเลนกีฬา (Ski Resort) และรี
สอรทบนเรือสําราญ (Cruise Ships) โรงแรมคาสิโน
โรงแรมประเภทนี้ จะมีบริการที่หรูหรามาก หองพักสวยงาม มีราคาแพง แขกที่เขาพักจะเขา
มาเลนการพนันเปนสวนใหญ โรงแรมประเภทนี้ จะดึงดูดลูกคาดวยการพนัน ความบันเทิง โรงแรม
18 ชนิดนี้ ไมมีในประเทศไทย เนื่องดวยกฎหมายการพนันเปนสิ่งผิดกฎหมาย แตแมแบบที่ชัดเจนคือ
ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา
โรงแรมประเภททีพ่ กั และอาหาร (เกสตเฮาส) โรงแรมชนิดนี้จะเปนโรงแรมที่มีเพียงหองพัก
ที่พักที่เจาของบานแบงใหนักทองเที่ยวไดเชาพักแรมและอาหารเชาเทานั้นไมมีการบริการอะไรมากนัก
เหมาะกับนักเดินทาง ที่มีงบที่จํากัด ราคาหองพักยอมเยาแขกสวนหนึ่งก็ชอบ เพราะมีความเปน
กันเองดีตามปกติเกสตเฮาสจะตองอยูในยานชุมชน หรือเมืองใหญ ๆ ที่เปนแหลงทองเที่ยว
นักทองเที่ยวจะมาเชาพักคางแรมเฉพาะในเวลากลางคืน สวนกลางวันนั้นจะออกเดินทางทองเที่ยวชม
บานเมืองหรือธรรมชาติที่สวยงามตาง ๆ ราคาเชาเกสตเฮาสอยูในระดับคอนขางต่ํามีเตียงสะอาด และ
หองน้ํารวมไวบริการ ปจจุบันเกสตเฮาสไดพัฒนาคุณภาพดีขึ้นเปนอยางมาก
สถานทีพ่ กั แรมกลางแจง (Campgrounds) หมายถึง สําหรับตลาดนักทองเที่ยวบางกลุม
สถานที่พักแรมกลางแจง ไดรับความนิยมคอนขางสูง สําหรับการพักแรมเพียง 1-2 คืน สถานที่พัก
แรมกลางแจงไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวทั่วโลก ทั้งในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย
โรงแรมบังกะโล
โรงแรมชนิดนี้ จะมีเพียงที่พักใหเชาในราคาประหยัดมาก แตไมมีอาหารบริการให
นักทองเที่ยวตองเตรียมมาเอง ในบางโรงแรมประเภทนี้ จะมีพื้นที่เตรียมใหทําอาหารไวใ ห โมเทล
เกิดขึ้นในประเทศอเมริกา ซึ่งนักเดินทางที่ตองขับรถระยะไกลๆ แลวตองการที่พักที่สามารถเอารถไป
จอดไดที่หองพักของตน แขกที่เขาพักจะพักระยะเวลาสั้นๆ เพียงขามคืน สวนใหญมักอยูริมทางหลวง
สิ่งอํานวยความสะดวกในโรงแรม
- หองโถงสวนกลาง Hotel Lobby
- สระวายน้ํา Swimming Pool
- สถานที่ออกกําลังกาย Fitness Center, Gymnasium
- สปาเพื่อสุขภาพ Spa and Massage
16

- ภัตตาคารพิเศษ (จีน ญี่ปุน เกาหลี เวียดนาม ฝรั่งเศส อีตาเลียน อินเดีย มุสลิม ฯลฯ)
- คอฟฟช อป Coffee Shop
- บาร BAR
- ดิสโกเทค Discotheque Bar
- หองคาราโอเกะ Karaoke
- บริการอินเทอรเน็ต Internet access in room
- หองสําหรับเด็กๆ เลนเกมส Children Play Room
- รานเสริมสวย Beauty Salon
- รานจําหนายของฝาก Gift Shop
- บริการรับซักรีดเสื้อผา Laundry Service
- บริการรับเลี้ยงเด็กเล็ก Baby sitting
- รถรับสง บริการทองเที่ยว Shuttle Bus Service
- บริการอาหารในหองพัก Room Service
- บริการสําหรับนักธุรกิจ Bussiness Center
- บริการขัดรองเทา และบริการหนังสือพิมพรายวัน News paper and shoesshine
- พนักงานบริการทั่วไปประจําชั้นที่พัก Butler Service
- เคาเตอรบริการทองเที่ยว Counter Signseeing Service or Tour Desk.
- ที่รับแลกเงินตราตางประเทศ Currency Exchange
- ทั้งนี้สิ่งอํานวยความสะดวกทั้งหลายขึ้นอยูกับขนาดของโรงแรม
การจัดระบบโครงสรางของการบริหารงานของโรงแรม
การจัดระบบโครงสรางการบริการงานในโรงแรมไดรับอิทธิพลและแนวคิดจากการจัดระบบ
โรงแรมของประเทศสหรัฐอเมริกานับตั้งแตศตวรรษที่ 20 และอิทธิพลแนวความคิดคลาสสิกจากการ
จัดบริการโรงแรมของกลุมประเทศยุโรป ที่ใหความสําคัญดานการบริการและเครื่องดื่ม เปนการเนน
พฤติกรรมและชื่อเสียงของโรงแรม งานบริการโรงแรมไดเปลี่ยนแปลง และพัฒนาเปนลําดับโดยยึด
การตอบสนองความตองการของลูกคาและทิศทางการตลาด การจัดการตองปรับเปลี่ยน และพัฒนา
ตามไปดวย ดังนั้นการจัดระบบโครงสรางของโรงแรมยอมเปลี่ยนแปลง และขยายตัวเพื่อใหสามารถ
เสริมรับกับการจัดหนวยงานใหมๆ ขึ้นในโรงแรม ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถบริหาร และจัดการใหบริการ
อยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากกระบวนการจัดโครงสรางขององคกรจะตองคํานึงถึงความสมดุล
ระหวางนโยบายความมั่นคง เพื่อความอยูรอดในการดําเนินธุรกิจของโรงแรม และการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงกิจกรรมใหมที่เปนความตองการของตลาด สโตนเนอร และแวนแคล (Stoner and
Wankel) ไดใหขอคิดเห็นดานประโยชนในการจัดระบบโครงสรางการบริหารงานของโรงแรมไวดังนี้
17

1. การจําแนกลักษณะงานภายในองคการทําใหใหสามารถดําเนินงานใหเปนไปตามเปาหมาย
การดําเนินธุรกิจธุรกิจของโรงแรม
2. การจัดหมวดหมูหรือกลุมใหสามารถปฏิบัติไดในลักษณะผูปฏิบัติเปนรายบุคคล หรือเปน
รายกลุม
3. ลักษณะงานภายในองคกรจะผนวกรวมลักษณะงานบางลักษณะทีต่ อ งแสดง ลักษณะ
ความสําคัญดานประสิทธิผลของงาน
ประเภทของหองพัก
การกําหนดประเภทของหองพักเพื่ อใหสอดคลองกับความตองการและใหบริการที่
สะดวกสบายที่สุดกับแขกที่มาพัก โรงแรมแตละแหงจึงแบงหองพักออกเปนประเภทตางๆ ซึ่งพอสรุป
ตามเกณฑที่ใชกันอยูทั่วไปดังนี้
1. หองพักเตียงเดี่ยว (Single Room) คือ หองพักที่ประกอบดวยเตียงเดี่ยวหนึ่งเตียง รับรอง
แขก พักได 1 คน ขนาดของเตียงคือกวาง 90 เซนติเมตร ยาว 190 เซนติเมตร
2. หองพักเตียงคู (Twin Room) คือ หองพักที่ประกอบดวยเตียงเดี่ยวสองเตียงวางคูกัน โดย
มีโตะหัวเตียงคั่นอยูระหวางกลาง รับรองแขกพักได 2 คน
3. หองพักเตียงใหญ (Double Room) คือ หองพักที่ประกอบดวยเตียงขนาดใหญ 1 เตียง
กวาง 180 เซนติเมตร ยาว 190 เซนติเมตร
4. หองพัก 3 คน (Triple Room) คือ หองพักที่ประกอบดวยเตียงเดี่ยว 3 เตียง หรือเตียง
ใหญ 1 เตียงและเตียงเดี่ยว 1 เตียง รับรองแขกได 3 คน โดยปกติการนาเตียงเดี่ยว ที่เรียกวาเตียง
เสริม (Extra bed) เขาไปเสริมในหองพักเตียงคู หรือหองพักเตียงใหญในกรณีที่มีที่วางพอจะเสริมได
ไมถือวาเปน Triple
5. หองชุด (Suite) คือ หองพักที่ประกอบดวยหองพักเตียงคูหรือหองพักเตียงใหญเปดทะลุ
ติดตอกับหองรับแขกหรือหองนั่งเลน โดยมากมักตกแตงสวยงามเปนพิเศษ และมีสิ่งอานวยความ
สะดวกมากกวาหองพักธรรมดาทั่วๆ ไป
6. Studio คือ หองรับแขกหรือหองนั่งเลน ซึ่งสามารถดัดแปลงเปนหองนอนได โดยปรับ
เกาอี้นวมยาวเปนเตียงนอน
7. Connection Rooms คือ หองพัก 2 หอง อยูติดกันและมีประตูถึงกัน
8. Adjoining Rooms คือ หองพัก 2 หองอยูใกลกันแตไมมีประตูถึงกัน
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542)
สรุปจากการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับโรงแรมเพื่อนํามาปรับใชในการศึกษาโครงการดําเนิน
ธุรกิจประเภทรีสอรทที่พักประวัติการเกิดขึ้นของธุรกิจประเภทโรงแรมและวิวัฒนาการความกาวหนา
18

รวมถึงประเภทของโรงแรมที่พักหรือรีสอรทการจัดโครงสรางของโรงแรมในตางประเทศเมื่อศึกษาได
ความรูเพื่อนํามาวิเคราะหและตัดสินใจในการดําเนินธุรกิจนี้ได

2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ
ความสําคัญของการตัดสินใจ
การตัดสินใจเปนกระบวนการของการแสวงหาทางเลือกที่มีอยูจากทางเลือกตางๆ และ
สามารถเลือกทางเลือกที่เปนไปไดโดยทั่วไปการตัดสินใจเปนบทบาทหนาที่ที่บงบอกถึงแตกตาง
ระหวางผูบริหารกับผูปฏิบัติ ซึ่งผูบริหารที่ทําการตัดสินใจนั้นจะตองมีหลักการและเหตุผล มีเจตคติ
และวิจารญาณที่ดี นอกจากนี้การตัดสินใจยังเปนวิธีที่สามารถนําไปสูการบรรลุเปาหมายองคการ
ดังนั้นผูบริหารควรตระหนักอยูเสมอวาการตัดสินใจมิใชเปนเปาหมายในตัวของมันเอง แตเปนเพียง
แนวทางหรือเครื่องมือที่จะทําใหการบริหารสามารถประสบความสําเร็จลงได นอกจากนี้สิ่งสําคัญของ
การตัดสินใจที่ผูบริหารจะตองเริ่มตน คือ การคนหาวิธีการและแนวทางการปฏิบัติที่หลากหลาย
ตลอดจนสามารถดําเนินการไดอยางเปนขั้นตอน จากนั้นจึงทําการกําหนดแนวทางหรือวิธีการที่
เหมาะสมที่สุด มีการใชความคิดริเริ่มสรางสรรคในการนําองคการไปสูความสําเร็จตอไป สําหรับการ
ตัดสินใจมีความสําคัญดังนี้
1. มีทางเลือกหลายทาง การตัดสินใจเพื่อปฏิบัติในแตละทางเลือกอาจจะอยูในรูปของ
นโยบาย ในการปฏิบัติงาน เทคนิคหรือขั้นตอนการดําเนินงานซึ่งการที่มีทางเลือกหลายทาง ถาอาศัย
ดุลพินิจ สวนตัวของผูบริหารเพื่อการตัดสินใจนั้นอาจจะผิดพลาด ขึ้นได ดังนั้นผูบริหารจึ งตองอาศัย
เครื่องมือ หรือเกณฑที่มีความเหมาะสมในดานตางๆ เขามาชวยผูบริหารเพื่อทําการตัดสินใจ
2. การที่มีขอมูลในปจจุบันมีจํานวนมาก ถาผูบริหารนําดุลยพินิจสวนตัวมาใชในการ
ตัดสินใจ บอยครั้งแลว โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดและขาดความรอบคอบจึงอาจเกิดขึ้นตามมาได
ดวย เนื่องจากผูบริหารไมสามารถนําขอมูลที่มีอยูทั้งหมดนั้นมาพิจารณาไดครบถวนสมบูรณนั่นเอง
3. เพื่อลดความขัดแยงเนื่องจากพื้นฐานความรู รวมทั้งประสบการณของแตละบุคคล มี
ความแตกตางกัน ดังนั้นในการตัดสินใจถาหากผูบริหารไมอาศัยหลักเกณฑหรือเครื่องมือที่ เหมือนกัน
มาทําการตัดสินใจแลวอาจจะทําการตัดสินใจแตกตางกันออกไปจนทําใหบุคลากรเกิดความขัดแยงขึ้น
ได
4. เพื่อลดความเสี่ยงหรือความไมแนนอน ในการตัดสินใจของผูบริหารที่ปราศจากกฎเกณฑ
หรือเครื่องมือแลวโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นได แตการตัดสิ นใจโดยใชเครื่องมือ
ที่มีความถูกตองและเหมาะสมเขามาชวยโอกาสของการตัดสินใจที่ผิดพลาดนั้นจะสามารถลดลงได
ผูบริหารที่มีการตัดสินใจที่ดีเปรียบเสมือนคนที่มีความคิดที่ดี ซึ่งจะทําใหสามารถประสบ ความสําเร็จ
ในชีวิตการงาน ชีวิตสวนตัว และชีวิตทางสังคมได ในขณะเดียวกันการตัดสินใจที่ดีก็จะตอง มีหลักการ
19

และเหตุผลที่ดีดวย จึงจะทําใหองคการเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงานดังนั้น
ผูบริหารจึงตองแสวงหาแนวทางเพื่อแกไขปญหายูตลอดเวลาเพื่อปรับปรุงการดําเนินงานและการ
กําหนดแนวทางใหมๆ เพื่อปองกันปญหาที่อาจสงผลกระทบตอการดําเนินงานได
ความหมายของการตัดสินใจ
การตัดสินใจ (Decision making) มีนักวิชาการไดใหความหมายไว ดังนี้
ศิริพร พงศศรีโรจน (2540, หนา 187) กลาววา การตัดสินใจหรือการวินิจฉัยสั่งการ หมายถึง
การเลือกปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติ หรือการเลือกทางดําเนิ นการที่เห็นวาดีที่สุดทางใดทางหนึ่ง จาก
ทางเลือกหลายๆ ทาง เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตองการหรือการวินิจฉัยสั่งการ คือ การชั่งใจ
ไตรตรองและตัดสินใจเลือกทางดําเนินการที่เห็นวาดีที่สุดทางใดทางหนึ่งจากหลายๆทางเพื่อให บรรลุ
วัตถุประสงคตามที่ตองการ
ชนงกรณ กุณฑลบุตร (2547, หนา 44-45) กลาววา การตัดสินใจทางการจัดการ หมายถึง
การที่ผูมีหนาที่รับผิดชอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งการทําการเลือกทางเลือกใดจากหลายทางเลือกเพื่อให
แผนการบรรลุวัตถุประสงค
บรรยงค โตจินดา (2548, หนา 178) กลาววา การวินิจฉัยสั่งการหรือการตัดสินใจ หมายถึง
การที่ผูบริหารหรือผูบังคับบัญชาพิจารณาตัดสินใจและสั่งการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การวินิจฉัยสั่งการ
หรือการตัดสินใจเปนเรื่องที่มีความสําคัญมากเพราะการวินิจฉัยสั่งการจะเปนการเลือกทางเลือก
ดําเนินการที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกหลายๆ ทาง
สมคิด บางโม (2548, หนา 175) กลาววา การตัดสินใจ หมายถึง การตัดสินใจเลือก ทาง
ปฏิบัติซึ่งมีหลายทางเปนแนวปฏิบัติไปสูเปาหมายที่วางไว การตัดสินใจนี้อาจเปนการตัดสินใจ ที่จะ
กระทําการสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายสิ่งหลายอยาง เพื่อความสําเร็จตรงตามที่ตั้งเปาหมายไว ในทาง
ปฏิบัติการตัดสินใจมักเกี่ยวของกับปญหาที่ยุงยากสลับซับซอน และมีวิธีการแกปญหาใหวินิจฉัย
มากกวาหนึ่งทางเสมอ ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของผูวินิจฉัยปญหาวาจะเลือกสั่งการปฏิบัติ โดยวิธีใด จึง
จะบรรลุเปาหมายอยางดีที่สุดและบังเกิดผลประโยชนสูงสุดแกองค การนั้น การตัดสินใจ (Decision
making) หมายถึง กระบวนการในการคัดเลือกเพื่อการปฏิบัติที่มีทางเลือกอยูหลายทาง และผลลัพธมี
ความแตกตางกัน ในการตัดสินใจนี้จะมีขั้นตอนที่เริ่มตนจากการที่ไดตระหนักถึงปญหา และขั้นตอน
สุดทายจะนําไปสูการตัดสินใจอยางมีเหตุผล จากการที่มีผูใหความหมายดังกลาวขางตนผูเขียนมี
ความเห็นวา การตัดสินใจ หมายถึง กระบวนการที่ผูบริหารตัดสินใจใชในการแกไขปญหาขององคการ
หรือการกําหนดแนวทางการปฏิบัติ ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานขอมูลขาวสารที่ไดรับจากโครงสรางองคการ
พฤติกรรมของบุคคล และกลุม
20

ทฤษฎีการตัดสินใจ
ทฤษฎีการตัดสินใจเปนการนําแนวความคิดที่มีเหตุผลที่ผูบริหารใชในการเลือกทางเลือกที่ดี
ที่สุด ซึ่งสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ ทฤษฎีการตัดสินใจจําแนกตามวิธีการตัดสินใจ และ
ทฤษฎีการตัดสินใจตามบุคคลที่ตัดสินใจ (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2548, หนา 263-264) ดังนี้
1. ทฤษฎีการตัดสินใจจําแนกตามวิธีการตัดสินใจ สามารถจําแนกทฤษฎีการตัดสินใจ ตาม
วิธีการตัดสินใจออกเปน 3 วิธี ดังนี้
1.1 ทฤษฎีการตัดสินใจโดยการคาดการณมีการใชเทคนิคการคาดการณและการ
พยากรณ เขามาประกอบการตัดสินใจ เชน การพยากรณโดยใชแนวโนม เปนตน
1.2 ทฤษฎีการตัดสินใจโดยการพรรณนา เปนการใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือ
ใน การตัดสินใจ ดังนั้นผูวิจัยจะตองมีการพิสูจนและเห็นจริงจึงจะดําเนินการตัดสินใจได บางครั้งเรียก
การตัดสินใจแบบนี้วา การตัดสินใจทางวิทยาศาสตร
1.3 ทฤษฎีการตัดสินใจโดยกําหนดความ เปนทฤษฎีที่คํานึงถึงวาแนวทางการ
ตัดสินใจ ควรจะเปนหรือนาจะเปนอยางไรจึงจะสามารถบรรลุเปาหมายที่ตองการตัดสินใจได
2. ทฤษฎีการตัดสินใจจําแนกตามบุคคลที่ตัดสินใจ สามารถจําแนกทฤษฎีการตัดสินใจ โดย
การจําแนกตามบุคคลที่ตัดสินใจไดเปน 2 ลักษณะ ดังนี้
2.1 การตัดสินใจโดยคนเดียว เปนการตัดสินใจโดยคนๆ เดียวจะทําใหเกิดความ
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการตัดสินใจ มักจะใชธุรกิจขนาดยอมที่มีผูประกอบการที่เปนเจาของ
กิจการ และเปนผูที่ใกลชิดปญหาและทราบขอมูลไดดีกวา
2.2 การตัดสินใจโดยกลุม เปนการตัดสินใจที่ยึดทีมงาน และคณะกรรมการเปนผู
รวม ตัดสินใจเปนการมุงเนนการมีสวนรวมในการตัดสินใจ เมื่อใดก็ตามที่ตองการความรวมมือ
ผูบริหาร จึงควรใหผูที่เกี่ยวของเขามามีสวนรวม ดังนั้นการกระจายอํานาจและการมีสวนรวมในการ
ตัดสินใจ จึงจําเปนสําหรับองคการในอนาคต อยางไรก็ตามในการตัดสินใจโดยคนเดียวหรือกลุมนั้น
ผูบริหารจําเปนที่จะตองพิจารณา ความสลับซับซอนของปญหาปจจัยที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจดวย
ซึ่งความสลับซับซอนของปญหา
ประเภทของการตัดสินใจ
การตัดสินใจเปนกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจากหลายๆ ทางเลือกที่ได
พิจารณาหรือประเมินอยางดีแลววาเปนทางใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคการ ในขณะที่
การตัดสินใจจะเปนปจจัยที่มีความสําคัญและเกี่ยวของกับหนาที่การบริหารหรือการจัดการเกือบทุก
ขั้นตอนไมวาจะเปนการตัดสินใจเพื่อการวางแผน การจัดองคการ การจั ดคนเขาทํางาน การ
ประสานงาน และการควบคุม เปนตน ดังนั้นผูบริหารจึงตองมีบทบาทและหนาที่ในการตัดสินใจ
ผูบริหารที่ทําการตัดสินใจเลือกทางเลือกภายใตสถานการณตางๆ นั้น อาจตองทําการตัดสินใจใน
21

ลักษณะที่แตกตางกัน ซึ่งขึ้นอยูกับขอมูลขาวสารที่จะเกิดขึ้นทั้งในป จจุบันและเหตุการณในอนาคต


สําหรับการแบงประเภทของการตัดสินใจจึงขึ้นอยูกับขอมูลที่มีอยูเปนสําคัญ อยางไรก็ตามผูตัดสินใจ
สามารถคาดคะเนสถานการณทั้งหมดที่จะเปนไปไดในอนาคตนั้น เปนเพียงการระบุความเปนไปได
ของสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผูตัดสินใจยังไม ทราบถึงความแนนอนของสถานการณจะเกิดขึ้น
และสถานการณทั้งหมดนั้นก็มีเพียงสถานการณเดียวเทานั้นที่จะเกิดขึ้น นอกนั้นอาจเปนเพียง
สถานการณที่มีโอกาสเปนไปไดแตไมไดเกิดขึ้นจริงก็ได จากความหมายขางตนผูบริหารแตละคนอาจ
ใหความหมายและความสําคัญของการตัดสิน ใจที่แตกตางกันออกไปในรายละเอียดของแตละ
สถานการณ ในสวนที่พิจารณาเหมือนกัน ไดแก
1. กระบวนการการตัดสินใจ เปนการตัดสินใจที่ตองผานกระบวนการวิเคราะหและพิจารณา
ถึงขอมูลที่เกิดขึ้นจากนั้นผูบริหารจึงทําการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมและดีที่สุด สําหรับ
กระบวนการตัดสินใจประกอบดวยขั้นตอนการแสวงหาขอมูล การออกแบบการตัดสินใจ รวมทั้ง การ
ตัดสินใจเลือกทางเลือกเพื่อใหสามารถเลือกทางเลือกไดดีที่สุด ดังนั้นในการวิเคราะหและพิจารณา
จะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลสารสนเทศ และผานกระบวนการตัดสินใจนั่นเอง
2. การตัดสินใจเกี่ยวของกับทางเลือก การตัดสินใจเปนความพยายามในการสรางทางเลือก
ใหมากเทาที่ทําได ทางเลือกที่นอยอาจปดโอกาสความคิดสรางสรรคหรือทางเลือกที่ดีกวาได ดังนั้น
ผูบริหารจึงมีความจําเปนตองมีการฝกฝนในการสรางทางเลือกที่หลากหลาย และมีความ สรางสรรค
อีกดวย การตัดสินใจเกี่ยวของกับทางเลือก ซึ่งโดยทั่วไปจะเปนการตัดสินใจที่ไมไดกําหนดแนว
ทางการปฏิบัติไวลวงหนาเปนการตัดสินใจที่แตกตางออกไปจากสถานการณปกติ ที่ไมไดมีการกําหนด
โครงสรางการตัดสินใจไว ดังนั้นผูบริหารจึงตองคนหาแนวทางการตัดสินใจ
3. การตัดสินใจเกี่ยวของกับโครงสรางขององคการ ผูบริหารในแตละระดับจะมีบทบาท และ
หนาที่ในการตัดสินใจที่แตกตางกัน เชน ผูบริหารระดับสูงจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ
ผูบริหารระดับกลางจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจดานการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ผูบริหาร
ระดับปฏิบัติจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจในการดําเนินงานใหสําเร็จตามระยะเวลา และเปาหมายที่
กําหนดไว การตัดสินใจเกี่ยวกับโครงสรางขององคการเปนการตัดสินใจในงานประจําโดยทั่วไปจะเปน
กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ขั้นตอนการปฏิบัติ เปนตน เพื่อใหทุกคนทราบและถือปฏิบัติ ดังนั้น ผูบริหาร
จึงตองมีบทบาทในการกําหนดมาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติไวลวงหนาในองคการ
4. การตัดสินใจเกี่ยวของกับพฤติกรรมของบุคลากร การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอบุคคล
กลุม และทั้งองคการ ซึ่งพฤติกรรมของบุคคลแตละคนจะมีความแตกตางกัน ดังนั้น ผูบริหารจะตองมี
ความเขาใจและมีจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับบุคคล กลุม และองคการที่ดี จึงจะทําใหการตัดสินใจ ประสบ
ความสําเร็จได สําหรับการตัดสินใจที่มีลักษณะสรางสรรคเปนการตัดสินใจที่เกิดจาก ความคิดริเริ่ม
ของผูบังคับบัญชาเปนสําคัญและเปนการตัดสินใจโดยคนๆ เดียว สวนการตัดสินใจ โดยกลุมเปนการ
22

ตัดสินใจที่มีความสลับซับซอนที่ไมสามารถตัดสินใจโดยคนๆ เดียวได จงตองอาศัย ความรวมมือจาก


ทุกฝายก็จําเปนที่จะตองมีการตัดสินใจโดยกลุมเพื่อแกไขปญหารวมกัน ในการแบงประเภทของการ
ตัดสินใจ สามารถแบงได ดังนี้
1. การตัดสินใจแบบโครงสราง (Structure) บางครั้งเรียกวาแบบกําหนดไวลวงหนา เปนการ
ตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่เกิดขึ้นเปนประจําจึงมีมาตรฐานในการตัดสินใจเพื่อแกปญหาอยูแลว โดย
วิธีการในการแกปญหาที่ดีที่สุดจะถูกกําหนดไวอยางชัดเจน ตามวัตถุประสงคที่วางไว เชน การหา
ระดับสินคาคงคลังที่เหมาะสมหรือการเลือกกลยุทธในการลงทุนที่เหมาะสมที่สุดเมื่อมีวัตถุประสงค
เพื่อใหเกิดคาใชจายต่ําที่สุดหรือเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด การตัดสินใจแบบโครงสรางนี้จึงมักใช
แบบจําลองทางคณิตศาสตร ความรูทางดานวิทยาการการจัดการ การวิจัยเพื่อการดําเนินการเขามา
ใช เปนตน ตัวอยางของการตัดสินใจ ไดแก การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับสินคาคงคลัง การวิเคราะห
งบประมาณ การตัดสินใจดานการลงทุน ระบบการจัดสง เปนตน
2. การตัดสินใจแบบไมเปนโครงสราง (Unstructured) เปนการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหา ที่มี
รูปแบบไมชัดเจนหรือมีความซับซอน จึงไมมีแนวทางในการแกปญหาแนนอนเปนปญหาที่ไมมี การ
ระบุวิธีแกไวอยางชัดเจนวาตองทําอะไรบาง การตัดสินใจกับปญหาลักษณะนี้ จะไมมีเครื่องมือ
3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสราง (Semi structure) เปนการตัดสินใจแบบผสมระหวาง
โครงสรางและไมเปนโครงสราง ปญหาแบบกึ่งโครงสรางนี้จะใชวิธีแกปญหาแบบมาตรฐานและ การ
พิจารณาโดยมนุษยรวมเขาไวดวยกัน คือ มีลักษณะเปนกึ่งโครงสราง แตมีความซับซอนมากขึ้น
ขั้นตอนจึงไมชัดเจนวาจะมีขั้นตอนอยางไร ปญหาบางสวนเขียนเปนแบบจําลองทางคณิตศาสตรได
แตปญหาบางสวนไมสามารถเขียนออกมาในรูปของแบบจําลองได เชน การทําสัญญาทางการคา การ
กําหนดงบประมาณทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑ เปนตน
องคประกอบของการตัดสินใจ
การตัดสินใจมีองคประกอบที่ตองพิจารณามี 4 ประการคือ
1. ผูทําการตัดสินใจ เปนองคประกอบที่สําคัญที่สุด เพราะการตัดสินใจจะดีหรือไม ขึ้นกับ
บุคคลผูตัดสินใจเปนสําคัญ ดังนั้นผูตัดสินใจจําเปนตองมีขอมูล มีเหตุผล มีคานิยมที่ถูกตองสอดคลอง
ตอการบรรลุเปาหมายองคการ แตในบางครั้งถาผูทําการตัดสินใจขาดขอมูลที่ถูกตองขาดเหตุผล และ
มีคานิยมที่มาสอดคลองแลวจะทําใหผลของการตัดสินใจไมดีพอได ผูทําการตัดสินใจบางเรื่องตองมุงสู
การตัดสินใจเปนกลุมบางเรื่องบางกรณีก็ตัดสินใจโดยคนๆ เดียว ดังนั้นผูบริหารจึงตอง วิเคราะห
สถานการณใหถูกตอง
2. ประเด็นปญหาที่ตองตัดสินใจ เปนองคประกอบที่สองที่ตองใหความสําคัญปญหาที่ตอง
ตัดสินใจนั้นจําแนกไดหลายประการ เชน จําแนกตามโรคโครงสรางและระบบงานบกพรอง โรค
23

พฤติกรรมบกพรอง และโรคเทคโนโลยีและวิทยาการบกพรอง เมื่อกําหนดปญหาไดชัดวาเปน ปญหา


เรื่องอะไรก็หาแนวทางแกไขปญหาไดถูกตอง
3. ทางเลือกตาง ๆ ที่บรรลุเปาหมายได เปนองคประกอบที่สามที่ตองคํานึงผูบริ หารตอง
พยายามที่จะคนหาทางเลือกที่ดีกวาอยูเสมอและสรางทางเลือกใหมากกกวา 2ทางเลือก ในปจจุบัน
การบริหารองคการมุงสูการสรางทางเลือกสูการผลิตสินคาและบริการที่ถูกกวามีคุณภาพสูงกวามี
ความรวดเร็วมีการบริการที่ประทับใจมากกวา นอกจากนี้ควรจะสรางทางเลือกเพื่อมุงสูการเรียนรู
และสรางนวัตกรรมดานผลิตภัณฑซึ่งเปนปจจัยที่มีความสําคัญตอองคการอีกดวย
4. สภาวการณที่ทําการตัดสินใจ ในการตัดสินใจจําเปนตองคํานึงถึงสภาวการณที่ทําการ
ตัดสินใจเปนแบบใด ซึ่งมี 3 ประการ ไดแก สภาวการณที่แนนอน เปนสภาวการณที่ผู ทําการตัดสินใจ
ทราบทางเลือกตางๆ และทราบถึงผลที่จะเกิดขึ้นของแตละทางเลือกอยางดีดวย การตัดสินใจดังกลาว
ยอมมีโอกาสถูกตองมากที่สุด เชน ตัดสินใจนําเงินฝากธนาคารยอมคํานวณดอกเบี้ยไดชัดเจนในระยะ
สั้นและยะยาว สภาวการณที่เสี่ยง เปนสภาวการณที่ผูบริหารตัดสินใจทราบทางเลือกตางๆ และทราบ
โอกาส ความนาจะเปนที่เกิดขึ้นผูบริหารจะตัดสินใจเมื่อโอกาสที่จะไดรับผลประโยชน มากกวาเสีย
ประโยชน การตัดสินใจในสภาวการณเสี่ยงผูทําการตัดสินใจตองเรียนรูทําความเขาใจ เรื่องทฤษฏี
ความนาจะเปนและแขนงการตัดสินใจ และสภาวการณที่ไม แนนอน เปนสภาวการณ ที่ผูทําการ
ตัดสินใจอาจทราบทางเลือกตางๆ แตไมทราบผลที่อาจจะเกิดขึ้นในแตละทางเลือกโดยไม สามารถ
คาดคะเนความนาจะเปนของแตละทางเลือกภายใตสภาวการณดังกลาว ผูทําการตัดสินใจ จึงไมควร
ตัดสินใจใดๆ ลงไปจนกวาจะมีขอมูลสารสนเทศที่นาเชื่อถื อมากกวาที่มีอยู
ขั้นตอนในการตัดสินใจ
การตัดสินใจเปนหนาที่ของผูบริหารที่เปนกระบวนการ (Process) และตองมีการพิจารณา
ขอมูลตางๆ อยางรอบคอบ จากนั้นจึงทําการกําหนดทางเลือกและเลือกทางที่ดีที่สุดขึ้นมาและนําไปสู
การปฏิบัติตอไป ซึ่งแนวความคิดของนักวิชาการไดแบงขั้นตอนการตัดสินใจไวมีลักษณะที่ใกลเคียงกัน
โดยทั่วไปกระบวนการตัดสินใจจะมีความแตกตางกันในดานการจัดกลุมของแตละขั้นตอน สําหรับ
กระบวนการตัดสินใจ (ชนงกรณ กุณฑลบุตร, 2547, หนา 50-52) ดังนี้
1. การกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหา สําหรับขั้นตอนแรกของการตัดสินใจจะ
เปนการกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหาใหเกิดความชัดเจนกอน ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นกับ
องคการบางครั้งยากตอการระบุวามาจากสาเหตุใด เชน องคการประสบปญหาเกี่ยวกับตนทุนการ
ผลิตที่สูงขึ้นอาจเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ดังนั้นผูบริหารจึงตองทํา การศึกษาวิเคราะหเพื่อระบุ และ
กําหนดปญหาใหชัดเจนวาเกิดจากสาเหตุอะไร โดยทั่วไปการแบงประเภทของปญหา ไดแก ปญหาที่
เปนมาตั้งแตอดีตและปญหามีแนวโนมรุนแรงมากขึ้นในอนาคต ปญหาที่ทราบลวงหนาวา จะเกิดขึ้น
และควรเตรียมการปองกันหรือปญหาเฉพาะดานเปนปญหาที่ เกิดจากสาเหตุเดียว และ สามารถแกไข
24

สําเร็จไดงาย เปนตน ดังนั้นการกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหาจึงเปน ขั้นตอนที่มี


ความสําคัญมากมากที่สุดตอการตัดสินใจของผูบริหาร
2. การกําหนดทางเลือกตางๆ ที่จะใชแกปญหา เมื่อผูบริหารสามารถกําหนดปญหาได ชัดเจน
แลว โดยจะตองมีการกลั่นกรองขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาทั้งหมด เชน ขอมูลเกี่ยวกับ สภาวะ
แวดลอมภายในและภายนอกองคการเพื่อคนหาปจจัยตางๆ ที่เปนองคประกอบของปญหาที่มี ระดับ
ความรุนแรงแตกตางกัน ขอมูลที่เกี่ยวของทั้งหมดจะถูกนํามากําหนดเปนทางเลือกเพื่ อแกไข ปญหา
ทางเลือกที่กําหนดในขั้นตอนนี้อาจมีหลายทางเลือก เชน ทางเลือกในการแกปญหาตนทุนการผลิตที่
สูงขึ้นอาจเกิดขึ้นไดตั้งแตการปรับวิธีการทํางานของฝายผลิต การฝกอบรมทีมงานเพื่อเพิ่ม ทักษะการ
ผลิต การปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ เปนตน
3. การประเมินผลทางเลือกตางๆ ที่ไดกําหนด หลังจากวิเคราะหปญหาทําการกําหนด
ทางเลือกตางๆ ที่จะใชแกปญหา จากนั้นจึงทําการประเมินผลทางเลือกตางๆ ซึ่งเปนแนวทางการนํา
ปญหาไปสูการแกไข ในขั้นตอนนี้ผูตัดสินใจจะวิเคราะหและประเมินวาทางเลือกใดสามารถแกไข
ปญหา ไดดีที่สุด ทางเลือกใดควรจะดําเนินการกอนและหลัง มีการใชกระบวนการชั่งน้ําหนักเพื่อ
พิจารณาถึงผลดีและผลเสียในแตละทางเลือกดวย นอกจากนี้จะตองพิจารณาดวยวาการตัดสินใจใน
ทางเลือกหนึ่งยอมสงผลกระทบตอปญหาอื่นๆ ตามมาได ดังนั้นควรวิเคราะหและประเมินทางเลือก
อยางรอบคอบสําหรับปญหาที่เกิดขึ้นจะเปนการพิจารณาปญหาจากภายในองคการมากกวาภายนอก
เชน บุคลากร อุปกรณขาดแคลน แนวทางแกไขสามารถทําไดโดยการเพิ่มบุคลากรการจัดซื้ออุปกรณ
เพิ่ม เปนตน
25

ภาพที่ 2.1: ขั้นตอนในการตัดสินใจ

ทีม่ า: ชนงกรณ กุณฑลบุตร. (2547). หลักการจัดการ: องคการและการจัดการแนวคดการ


บริหารธุรกิจในสถานการณปจจุบัน (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

จากภาพ แสดงถึงขั้นตอนในการตัดสินใจ ไดแก ขั้นตอนการกําหนดปญหาและ วิเคราะห


สาเหตุของปญหาการกําหนดทางเลือกตางๆ ที่จะใชแกปญหา การประเมินผลทางเลือกตางๆ ที่ได
กําหนดการตัดสินใจเลือกที่เหมาะสมที่สุด การดําเนินการตามทางเลือกที่ตัดสินใจรวมทั้ง การ
ประเมินผลที่เกิดจากทางเลือกนั้นๆ ตามลําดับ
4. การตัดสินใจเลือกที่เหมาะสมที่สุด เปนการนําเอาทางเลือกตางๆ มาเปรียบเทียบวา
ทางเลือกใดจะเหมาะสมและเปนไปไดมากกวากัน เชน องคการมีเงินทุนไมเพียงพออาจใชทางเลือก ที่
เปนไปไดมากที่สุด คือ การกูยืมจากภายนอก การนําเงินกําไรสะสมมาใช เปนตน
5. ดําเนินการตามทางเลือกที่ตัดสินใจ เปนการเลือกทางเลือกที่ดีสุดและมีความเหมาะสม
มากที่สุด จากนั้นจึงนําผลการตัดสินใจสูการปฏิบัติและประเมินผลตอไป
6. ประเมินผลที่เกิดจากทางเลือกนั้นๆ การประเมินผลเปนการพิจารณาคุณคาของผลงาน
และความแตกตางระหวางผลการปฏิบัติงานกับเกณฑ และมาตรฐานที่ไดเลือกจากทางเลือกที่
ตัดสินใจ ทั้งนี้ผูบริหารตองทําการเปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ และมาตรฐานกอนวามีความแตกตาง
กันหรือไม และความแตกตางนั้นมีความสําคัญมากนอยเพียงใด จะกอใหเกิดความเสียหายหรือไมมาก
26

นอยเพียงใด โดยตีคาของความแตกตางนั้นจากผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นวาเปนผลดีหรือผลเสียตอ
องคการอยางไร
ทฤษฎีเกีย่ วกับการตัดสินใจซื้อของ Kotler (2000, pp. 167-178) อธิบายถึง กระบวนการตัดสินใจ
ซื้อวามีสวนประกอบตางๆ ที่เกี่ยวของดังนี้
1. บทบาทในการซื้อ (Buying Roles) นักการตลาดจะตองทราบวาใครเปนผูซื้อที่แทจริง
ซึ่งในกระบวนการซื้อนั้นจะมีผูที่เกี่ยวของตาง ๆ ดังนี้
2. ผูริเริ่ม (Initiator) เปนบุคคลซึ่งเปนผูเริ่มใหคําแนะนําและแนวคิดเกี่ยวกับสินคา หรือ
การบริการนั้นๆ
3. ผูมีอิทธิผล(Influences) เปนบุคคลผูที่สามารถใหคําแนะนํา และ มีอิทธิพลตัดสินใจซื้อ
4. ผูตัดสินใจ (Decider) เปนผูซึ่งมีสิทธิ์ในการตัดสินใจซื้อวาจะซื้อหรือไม ซื้ออะไรซื้อ
อยางไร และซื้อที่ไหน
5. ผูซื้อ (Buyer) เปนผูที่ทําการซื้อที่แทจริง
6. ผูใชงาน (User) เปนผูบริโภคหรือใชสินคาหรือบริการ
พฤติกรรมการซื้อ(Buying Behavior) การตัดสินใจของผูบริโภคจะตางกันไปตามชนิดของ
การตัดสินใจซื้อ เชน ซื้อยาสีฟน ไมเทนนิส คอมพิวเตอร หรือรถยนตคันใหม ที่มีลักษณะที่แตกตาง
กัน ซึ่งพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคจะแตกตางกัน ตามระดับความเกี่ยวของในการซื้อ (Buyer
Involvement) และระดับความแตกตางกันของตราสินคา (Degree of differences among
brands) ซึ่งแบงออกเปน 3 ประเภท คือ พฤติกรรมการซื้อที่มี ความซับซอน (Complex buying
behavior) จะเปนการซื้อสินคาที่ตองการใชการเกี่ยวของของผูบริโภคในการซื้อมาก และตราสินคามี
ความแตกตางกันอยางชัดเจน เนื่องจากสินคามีราคาแพง การซื้อไมบอย มีความเสี่ยงในการซื้อสูง
และเปนสินคาที่สามารถแสดงถึงตัวผูซื้อได เชน การซื้อเครื่องคอมพิวเตอร รถยนต เปนตน ซึ่งมี
พฤติกรรมการซื้อที่ซับซอนนี้จะประกอบดวย 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ผูซื้อจะสรางความเชื่อมั่นในตัวสินคา หรือบริการ
ขั้นตอนที่ 2 ผูซื้อจะพัฒนาทัศนคติที่มีตอสินคาหรือบริการ
ขั้นตอนที่ 3 ผูซื้อจะใชความคิดในการตัดสินใจเลือกสินคาหรือบริการ
ดังนั้นนักการตลาดจะตองเขาใจถึงพฤติกรรมการเก็บรวบรวมขอมูลและการประเมินสินคา
หรือบริการของผูบริโภคแบบนี้ เพื่อที่จะสรางกลยุทธ เพื่อสนับสนุนใหผูซื้อสามารถเรียนรูถึง คุณคา
และความสําคัญของสินคา หรือบริการ รวมทั้งจะตองสามารถสรางความแตกตางของตราสินคาใหมี
ความโดดเดนเพื่อจูงใจผูซื้อ พฤติกรรมเพื่อเพิ่มความมั่นใจในการตัดสินใจของผูซื้อ (Dissonance -
reducing buyer behavior) เปนพฤติกรรมของผูซื้อที่ตองการความเกี่ยวของในการซื้อสูง แตตรา
สินคามีลักษณะที่ตางกันนอยมาก หรือแทบจะไมตางกันเลย สินคาหรือ บริการจะเปนประเภทที่มี
27

ราคาสูงมีการซื้อ ไมบอยและมีความเสี่ยงในการซื้อ ผูซื้อจะใชเวลาเดินเลือกซื้อของเพื่อเปรียบเทียบ


ราคาและคุณภาพของสินคา และตัดสินใจซื้ออยางรวดเร็ว ภายหลังการซื้อแลว ผูซื้ออาจตองการ
ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับตราสินคาที่ซื้อมา ซึ่งมีผลทําใหผูซื้อมีความเชื่อมั่นและทัศนคติตอราคาสินคา
นั้นๆ ในทางที่ดีขึ้น และมั่นใจวาสิ่งที่ตนเองตัดสินใจนั้นถูกตอง พฤติกรรมการซื้อเปนประจํา
(Habitual buying behavior) เปนการซื้อสินคาที่ไมมีความแตกตางที่สํา คัญระหวางตราสินคาและมี
ระดับความเกี่ยวของในการซื้อต่ํา เชน การซื้อเกลือ ซึ่งตราสินคาไมมีความสําคัญมากนักและผูซื้อไม
ตองใชความ พยายามในการเลือกซื้อ เนื่องจากสินคามีราคาต่ํา ดังนั้น กลยุทธทางการตลาดจะตอง
เนนในดาน การโฆษณาบอยๆ เพื่อสรางความคุนเคยในตราสินคาใหแกผูซื้อ และพยายามเปลี่ยนให
สินคานั้นตองการ การเกี่ยวของในการซื้อสูงขึ้น พฤติกรรมการเลือกซื้อที่หลากหลาย (Variety-
seeking buying behavior) เปนพฤติกรรมการซื้อที่มีการเกี่ยวของในการซื้อต่ําและมีความแตกตาง
ระหวางตราสินคาสูง ผูซื้อ มีอัตราการเปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อระหวางตราสินคาสูง เชน การเลือกซื้อ
คุกกี้ซึ่งใชเวลาในการซื้ออยางรวดเร็ว และประเมินคุณภาพไดขณะบริโภค ซึ่งในครั้งตอไปผูซื้ออาจ
เลือกซื้อตราอื่นเนื่องจากตองการทดลองรสชาติใหม ๆ ดังนั้นการเปลี่ยนตราสินคา (Brand
Switching) มีผลมากจากความหลากหลายของสินคา มิใชมาจากความไมพอใจของผูซื้อ มีขั้นตอน
ของกระบวนการตัดสินใจซื้อ (The Stages of the buying decision process) สรุปไดวา การ
ตัดสินใจซื้อของ คอทเลอร (อดุลย จาตุรงกุล.2550: 13-26 อางอิงจาก Kotler. 2003) ประกอบดวย
กระบวนการตัดสินใจ 5 ขั้นตอน (Five-Stage Model of the Consumer Buying Process) คือ
1. การรับรูปญหาหรือความจําเปน (Problem or Need Recognition) ไมพอใจ หมายถึง
การที่บุคคลรับรูความตองการของตนเองซึ่งเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากสิ่งกระตุน ความตองการเมื่อเกิดถึง
ระดับ 31 หนึ่งจะเปนสิ่งกระตุนบุคคลเรียนรูถึงวิธีที่จะจัดการกับสิ่งกระตุนจากประสบการณในอดีต
ทําใหเขารูวาจะตอบสนองอยางไร
2. การแสวงหาขอมูล (Information Search) เมื่อความตองการถูกกระตุนมากพอและสิ่งที่
สามารถตอบสนองความตองการอยูใกลผูบริโภคจะดําเนินการเพื่อตอบสนองความตองการทันทีแตถา
ความตองการไมสามารถตอบสนองความตองการจะถูกจดจําไวเมื่อความตองการที่ถูกกระตุนไดสะสม
ไวมากพอ
3. การประเมินทางเลือก (Evaluation of Alternatives) เมื่อผูบริโภคไดขอมูลจากขั้นที่ 2
ตอไปผูบริโภคจะเกิดการเขาใจและประเมินทางเลื อกตางๆ
4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) จากการประเมินผลทางเลือกในขั้นตอนที่ 3
ผูบริโภคจะตองตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑที่เขาชอบมากที่สุด ปจจัยตางๆ ที่เกิดขึ้นระหวางการประเมินผล
และการตัดสินใจซื้อ
28

5. พฤติกรรมภายหลังการซื้อ (Postpurchase Feeling) เปนความรูส กึ พอใจหรือไมพอใจ


ภายหลังการซื้อผลิตภัณฑไปใชแลว
สรุปจากการศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจเพื่อนํามาใชประโยชนในการจัดสรางโครงการ
ธุรกิจรีสอรท ไดทราบถึงพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกของผูบริโภคเพื่อนํามาใชในการดําเนินงานใน
การดําเนินงาน

2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการ
ความสําคัญของการบริการ
การบริการเปนสิ่งสําคัญยิ่งในงานดานตางๆ เพราะบริการคือการใหความชวยเหลือ หรือการ
ดําเนินการที่เปนประโยชนตอผูอื่น ไมมีการดําเนินงานใดๆ ที่ปราศจากบริการ ทั้งในภาคราชการ และ
ภาคธุรกิจเอกชน การขายสินคา หรือผลิตภัณฑใดๆ ก็ตองมีการบริการรวมอยูดวยเสมอยิ่งธุรกิจ
บริการ ตัวบริการนั่นเองคือ สินคา การขายจะประสบความสําเร็จได ตองมีบริการที่ดี ธุรกิจการคาจะ
อยูไดตองทําใหเกิดการขายซ้ําคือ ตองรักษาลูกคาเดิมและเพิ่มลูกคาใหม การบริการที่ดีจะชวยรักษา
ลูกคาเดิมไวได ทําใหเกิดการขายซ้ําอีก และชักนําใหมีลูกคาใหม ๆ ตามมา
ความหมายของการบริการ
ราชบัณฑิตยสถาน (2525, หนา 463) ใหความหมายของการบริการไววา หมายถึง การ
ปฏิบัติรับใช การใหความสะดวกตาง ๆ เชน ใหบริการ ใชบริการ การบริการ คือ กิจกรรมหรือ
กระบวนการในการดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งของบุคคลหรือองคกร เพื่อตอบสนองความตองการ
ของบุคคลอื่นใหไดรับความสุข และความสะดวกสบายหรือเกิดความพึงพอใจจากผลของการกระทํา
นั้น โดยมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง ไมสามารถจับตองได ไมสามารถครอบครองเปนเจาของใน
รูปธรรม และไมจําเปนตองรวมอยูกับสินคาหรือผลิตภัณฑอื่นๆ ทั้งยังเกิดจากความเอื้ออาทร มีน้ําใจ
ไมตรี เปยมดวยความปรารถนาดีชวยเหลือเกื้อกูลใหความสะดวกรวดเร็ว ใหความเปนธรรมและความ
เสมอภาค (อรุณทิพย วรชีวัน, 2545, หนา 11) หลักในการใหบริการนั้น ตองตอบสนองความตองการ
ของบุคคลสวนใหญโดยดําเนินการไปอยางตอเนื่องสม่ําเสมอเทาเทียมกันทุกคนทั้งยังใหความ
สะดวกสบายไมสิ้นเปลืองทรัพยากร และไมสรางความยุงยากใหแกผูใชบริการมากจนเกินไป (กุลธน
ธนาพงศธร อางใน ธีระ อัมพรพฤติ , 2542, หนา 10) การใหบริการที่ มีประสิทธิภาพและเปน
ประโยชนตอผูรับบริการมากที่สุด คือ การใหบริการที่ไม คํานึงถึงตัวบุคคลหรือเปนการใหบริการที่
ปราศจากอารมณไมมีความชอบพอ
Kotler (2000, p. 29) ไดกลาวถึงการบริการวา การบริการเปน กิจกรรม ผลประโยชน หรือ
ความพึงพอใจที่สนองความตองการแกลูกคา การบริการมีลักษณะสําคัญ 4 ประการ ดังนี้
1. ลักษณะของการใหบริการ
29

1.1 ไมสามารถจับตองได (intangibility) บริการไมสามารถจับตองได ดังนั้น กิจการ


ตองหาหลักประกันที่แสดงถึงคุณภาพและประโยชนจากบริการไดแก
1.1.1 สถานที่ (Place) ตองสามารถสรางความเชื่อมั่น และความสะดวก
ใหกับผูมาติดตอ
1.1.2 บุคคล (People) พนักงานบริการตองแตงตัวใหเหมาะสม บุคลิกดี
พูดจาดี เพื่อใหลูกคาเกิดความประทับใจและเกิดความเชื่อมั่นวาบริการจะดีดวย
1.1.3 เครื่องมือ (Equipment) อุปกรณที่เกี่ยวของกับการใหบริการ ตองมี
ประสิทธิภาพ ใหบริการรวดเร็วและใหลูกคาพอใจ
1.1.4 วัสดุสื่อสาร (Communication Material) สื่อโฆษณา และเอกสาร
การโฆษณาตาง ๆ จะตองสอดคลองกับลักษณะของ การบริการที่เสนอขาย และลักษณะของลูกคา
1.1.5 สัญลักษณ (Symbols) ชื่อ หรือ เครื่องหมายตราสินคาที่ใชในการ
บริการเพื่อใหผูบริโภคเรียกไดถูกตอง และสื่อความหมายได
1.1.6 ราคา (Price) การกําหนดราคา ควรเหมาะสมกับระดับการใหบริการ
ที่ ชัดเจน และงายตอการจําแนกระดับบริการที่แตกตางกัน
1.2 ไมสามารถแบงแยกการใหบริการ (Inseparability) การใหบริการเปนทั้งการ
ผลิตและการบริโภคในขณะเดียวกัน ผูขายแตละรายจะมีลักษณะเฉพาะตัว ไมสามารถใหคนอื่น
ใหบริการแทนได เพราะตองผลิตและบริโภคในเวลาเดียวกัน ทําใหการขายบริการอยูในวงจํากัดใน
เรื่องของเวลา
1.3 ไมแนนอน (Variability) ลักษณะของการบริการไมแนนอน ขึ้นอยูกับวาผูขาย
บริการจะเปนใคร จะใหบริการเมื่อใด ที่ไหน อยางไร
1.4 ไมสามารถเก็บไวได (Perishability) บริการไมสามารถเก็บไวไดเหมือนสินคา
อื่น ๆดังนั้นถาลักษณะความตองการไมแนนอน จะทํา ใหเกิดปญหาหรือบริการไมทันหรือไมมี ลูกคา
2. เครื่องมือทางการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ (Marketing tolls for services) Kotler
(2000) ไดกลาวถึง ธุรกิจบริการจะใชสวนประสมการตลาด หรือ เครื่องมือทางการตลาดที่สําคัญคือ
7Ps ไดแก
2.1 ผลิตภัณฑ (Product) การพิจารณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑบริการ จะตองพิจารณา
ถึงขอบเขตของบริการ คุณภาพของบริการ ระดับชั้นของบริการ ตราสินคา สายการบริการ การ
รับประกันและการบริการหลังการขาย ถาเปนการบริการดานพัสดุ ควรจะพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพ
ของพัสดุ คุณสมบัติของพัสดุ ความทันสมั ย ความเปนมาตรฐาน ฯลฯ
2.2 ราคา (Price) การพิจารณาดานราคา จะตองรวมถึงระดับราคา เนื่องจากราคามี
สวนในการทําใหบริการตาง ๆ มีความแตกตางกัน และมีผลตอผูบริโภคในการรับรูถึงคุณคาที่ไดรับ
30

จากการบริการ โดยเทียบระหวางราคาและคุณภาพของบริการ เชน ราคาของพัสดุ ราคาคาขนสง


ฯลฯ
2.3 การจัดจําหนาย (Place) ที่ตั้งของผูใหบริการและความยากงายในการเขาถึง
เปนอีกปจจัยที่สําคัญของการตลาดบริการ ทั้งนี้ความยากงายในการเขาถึงบริการนั้นมิใชแตเฉพาะ
การเนนทางกายภาพเทานั้น แตยังรวมถึงการติดตอสื่อสารดังนั้นประเภทของชองทางการจัดจําหนาย
และความครอบคลุมจะเปนปจจัยสําคัญตอการเขาถึงบริการอีกดวย เชน ความหลากหลายของวิธีที่ใช
ในการติดตอสื่อสารกับสถาบัน ความสะดวกในการเดินทางมายังสถานที่ตั้ง ความสะดวกในการเบิก
พัสดุ ความสะดวกในการรับพัสดุ ฯลฯ
2.4 การสงเสริมการตลาด (Promotion) การสงเสริมการตลาดรวบรวมวิธีการที่
หลากหลาย ของการสื่อสารกับตลาดตางๆ ไมวาจะผานการโฆษณา กิจกรรมการขายโดยบุคคล
กิจกรรมสงเสริมการขายและรูปแบบอื่น ทั้งทางตรงสูสาธารณะและทางออมผานสื่อ เชน การ
ประชาสัมพันธใหรับทราบขอมูลพัสดุ ความทั่วถึงของการประชาสัมพันธ ฯลฯ
2.5 บุคคล (People) บทบาทของบุคลากร สําหรับธุรกิจบริการ ผูใหบริการ
นอกจากจะทําหนาที่ผลิตบริการแลว ยังตองทําหนาที่ขายผลิตภัณฑบริการไปพรอม ๆ กันดวย การ
สรางความสัมพันธกับลูกคามีสวนจําเปนอยางมาก สําหรับการบริการดานการพัสดุ บทบาทของ
บุคลากร ไดแกการใหบริการแกผูมาติดตอ ดวยความรวดเร็ว มีความถูกตอง และทันเวลา ตอความ
ตองการของผูรับบริการ
2.6 ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) มีธุรกิจบริการจําวนวนไมมากนัก
ที่นําลักษณะทางกายภาพเขามาใชใ นการกําหนดกลยุทธการตลาดแมวาลักษณะทางกายภาพจะเปน
สวนประกอบที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาหรือผูใชบริการสําหรับการบริการดานพัสดุลักษณะทาง
กายภาพคอนขางจะมีรายละเอียดมากเชนดานอุปกรณในการอํานวยความสะดวกในการใหบริการ ไม
วาจะเปนคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย เครื่องถายเอกสาร อุปกรณสํานักงานที่จําเปนที่จะบริการ
ใหแกผูมาติดตอใหไดรับความสะดวก รวดเร็ว
2.7 กระบวนการ (Process) ในกลุมธุรกิจบริการ กระบวนการในการสงมอบบริการ
มีความสําคัญเชนเดียวกับเรื่องทรัพยากรบุคคล แมวาผูใหบริการจะมีความสนใจดูแ ลลูกคาอยางดีก็ไม
สามารถแกปญหาลูกคาไดทั้งหมด เชนการเขาแถวรอ ระบบการสงมอบบริการ จะครอบคลุมถึง
นโยบายและกระบวนการที่นํามาใช สําหรับการบริการดานพัสดุ สวนใหญจะเปนกระบวนการที่มี
รายละเอียดเกี่ยวกับ ขั้นตอน วิธีการ ความสะดวกในการใหบริการแกพนักงาน เชน การบริการดาน
การจัดซื้อจัดหา การเบิกพัสดุ การจายพัสดุ ความเสมอภาคในการบริการ การแจงขอมูลพัสดุ ฯลฯ
31

3. งานของธุรกิจบริการ Kotler (2000, p. 436) ไดกลาวถึง งานที่สําคัญของธุรกิจบริการมี


3 ประการคือ
3.1 การบริหารความแตกตางจากคูแขงขัน (Managing competitive
differentiation) งานการตลาดของผูขายบริการจะตองทําใหผลิตภัณฑแตกตางจากคูแขงขัน เปน
การลําบากที่จะสรางใหเห็นขอแตกตางของการบริการอยางเดนชัด ในความรูสึกของลูกคา การพัฒนา
คุณภาพ การใหบริการที่เหนือกวาคูแขงขัน สามารถทําไดคือ คุณภาพการใหบริการ (Service
Quality) สิ่งสําคัญสิ่งหนึ่งในการสรางความตางของธุรกิจการใหบริการ คือ การรักษาระดับการ
ใหบริการที่เหนือกวาคูแขงขันโดยเสนอคุณภาพการใหบริการตามที่ลูกคาคาดหวังไว ขอมูลตาง ๆ
เกี่ยวกับคุณภาพการใหบริการที่ลูกคาตองการจะไดจากประสบการณในอดีต จากการพูดปากตอปาก
ฯลฯ นักการตลาดตองทําการวิจัยเพื่อใหทราบสิ่งที่ลูกคาตองการ (What) เขาตองการเมื่อใด (When)
และสถานที่ที่เขาตองการ (Where) ในรูปแบบที่ตองการ (How) โดยนักการตลาดตองทําการวิจัย
เพื่อใหทราบถึงเกณฑการตัดสินใจซื้อบริการของลูก คา โดยทั่วไปไมวาธุรกิจแบบใดก็ตามลูกคาจะใช
เกณฑตอไปนี้พิจารณาถึงคุณภาพของการใหบริการ ดังนั้น การสรางความแตกตางในดานการบริการ
ไดแก
3.1.1 บริการที่เสนอ (Offer) โดยพิจารณาจากความคาดหวังของลูกคาซึ่ง
ประกอบดวย 2 ประการคือ
การใหบริการพื้นฐานเปนชุด (Primary service package) ซึ่งไดแกสิ่งที่
ลูกคาคาดวาจะไดรับจากกิจการ เชน สถาบันการศึกษา ลูกคาคาดหวังวาจะมีการเรียนการสอนที่ดี มี
อาจารยผูสอนที่มีความสามารถ ฯลฯ
ลักษณะการใหบริการเสริม (Secondary service features) ซึ่งไดแก
บริการที่กิจการมีเพิ่มเติมใหนอกเหนือจากบริการพื้นฐานทั่วไป เชน สถาบันการศึกษามีชมรมเสริม
ทักษะดานตางๆแกนักศึกษามีทุนการศึกษาสนับสนุนนักศึกษา
3.1.2 การสงมอบบริการ (Delivery) การสงมอบบริการที่มีคุณภาพอยาง
สม่ําเสมอไดเหนือกวาคูแขง โดยการตอบสนองความคาดหวัง ในคุณภาพการใหบริการของผูบริโภค
ความคาดหวังเกิดจากประสบการณในอดีต คําพูดของการโฆษณาของธุรกิจ ลูกคาเลือกธุรกิจ
ใหบริการโดยถือเกณฑภายหลังจากการเขารับการบริการ เขาจะเปรียบเทียบบริการที่รับรูกับบริการที่
คาดหวัง ถาบริการที่รับรูต่ํากวาบริการที่คาดหวังไวลูกคาจะไมสนใจ ถาบริการที่รับรูสูงกวาความ
คาดหวังของเขา ลูกคาจะใชบริการนั้นซ้ํา
3.1.3 ภาพลักษณ (Image) การสรางภาพลักษณ สําหรับบริษัทที่ใหบริการ
โดยอาศัยสัญลักษณ (Symbols) ตราสินคา (Brand) โดยอาศัยเครื่องมือการโฆษณาและ
ประชาสัมพันธ และการสื่อสารการตลาดอื่น ๆ
32

3.2 การบริหารคุณภาพการใหบริการ (Managing Service Quality) เปนการเปรียบเทียบ


ระหวางการบริการที่คาดหวัง และบริการที่ไดรับ ถาบริการที่ไดรับต่ํากวาความคาดหวัง ลูกคาจะรูสึก
วาบริการไมไดคุณภาพ แตถาบริการที่ไดรับสูงกวาความคาดหวัง ลูกคาจะรูสึกวาบริการที่ไดรับมี
คุณภาพ ซึ่งคุณภาพการบริการก็จะไดมาตรฐาน ดังนั้นจึงมีนักวิจัยไดคนพบตัวกําหนดคุณภาพของ
บริการที่มีความสําคัญ ไดแก
3.2.1 ความนาเชื่อถือ (Reliability) ความสามารถในการบริการ ที่ทําใหมั่นใจใน
บริการที่ไววางใจได และถูกตองแนนอน
3.2.2 ความเต็มใจและความพรอม (Responsiveness) ความเต็มใจที่จะชวยเหลือ
ลูกคาและเตรียมความพรอมในการบริการ
3.2.3 การรับประกัน (Assurance) ความรู และความสุภาพของลูกจาง และ
ความสามารถของลูกจางในการถายทอด ความเชื่อถือ และความเชื่อมั่น
3.2.4 การเอาใจใส (Empathy) การจัดหา ดูแล เอาใจใสเฉพาะรายแกลูกคาทุกราย
3.2.5 การสัมผัสได (Tangibles) การปรากฏของสิ่งอํานวยความสะดวกทางวัตถุ
เครื่องมือ บุคลากร วัตถุทางการสื่อสาร
3.3 การบริหารประสิทธิภาพในการใหบริการ (Managing Productivity) ในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพของการใหบริการ ธุรกิจบริการสามารถทําได 7 วิธีคือ
3.3.1 การใหพนักงานทํางานมากขึ้นหรือมีความชํานาญสูงขึ้นโดยจายคาจางเทาเดิม
3.3.2 เพิ่มปริมาณการใหบริการโดยยอมสูญเสียคุณภาพบางสวนลง
3.3.3 เปลี่ยนบริการใหเปนแบบอุตสาหกรรมโดยเพิ่มเครื่องมือเขามาชวยสราง
3.3.4 การใหบริการที่ไปลดการใชบริการ หรือสินคาอื่นๆ
3.3.5 การออกแบบบริการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.3.6 การใหสง่ิ จูงใจลูกคาใหใชแรงงานของเขาแทนแรงงานของบริษทั
3.3.7 การนําเทคโนโลยีมาใชในการบริการดีขึ้น
Parasuraman, Zeithesel & Berry (1985, 1990) ไดใหความหมายของคุณภาพการ
บริการวาหมายถึง ความแตกตางระหวางความคาดหวังของลูกคาที่มีตอการบริการและการรับรูที่มีตอ
การบริการจริง โดยไดสรางเครื่องมือ ที่เรียกวา “SERVQUAL (Service Quality)” พบวา เกณฑใน
การประเมินคุณภาพการบริการในมุมมองของลูกคา เปนสิ่งสิ่งสําคัญในการสรางความแตกตางของ
ธุรกิจใหบริการ คือการรักษาระดับการใหบริการที่เหนือกวาคูแขง โดยเสนอคุณภาพใหบริการตามที่
ลูกคาคาดหวังไวขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพการใหบริการที่ลูกคาตองการจะไดประสบการณอดีต
จากการพูดปากตอปากจากการโฆษณาของธุรกิจใหบริการ ลูกคาจะพอใจถาเขาไดรับในสิ่งที่เขา
ตองการ (What) เมื่อเขามีความตองการ (When) ในรูปแบบที่ตองการ (How) ดังนั้นจึงตองคํานึงถึง
33

คุณภาพของการใหบริการ โดยการบริการที่จะประสบความสําเร็จไดนั้น จะตองประกอบดวย


คุณสมบัติสําคัญตาง ๆ ดังนี้ประกอบดวยองคประกอบ 10 ประการ คือ
1. ความเชื่อถือได (Reliability) ประกอบดวย
1.1 ความสม่ําเสมอ (Consistency)
1.2 ความพึ่งพาได (Dependability)
2. การตอบสนอง (Responsive) ประกอบดวย
2.1 ความเต็มใจที่จะใหบริการ
2.2 ความพรอมที่จะใหบริการ
2.3 มีการติดตออยางตอเนื่อง
2.4 ปฏิบัติตอผูใชบริการเปนอยางดี
3. ความสามารถ (Competency) ประกอบดวย
3.1 สามารถในการสื่อสาร
3.2 สามารถในการใหบริการ
3.3 สามารถในความรูวิชาการที่จะใหบริการ
4. การเขาถึงบริการ (Access) ประกอบดวย
4.1 ผูใชบริการเขาใชหรือรับบริการไดสะดวก ระเบียบขั้นตอนไมควรมากมาย
ซับซอนเกินไป
4.2 ผูบริการใชเวลารอคอยไมนาน
4.3 เวลาที่ใหบริการเปนเวลาสะดวกสําหรับผูใชบริการ
4.4 อยูในสถานที่ที่ผูใชบริการติดตอไดสะดวก
5. ความสุภาพออนโยน (Courtesy) ประกอบดวย
5.1 การแสดงความสุภาพตอผูใชบริการ
5.2 ใหการตอนรับที่เหมาะสม
5.3 ผูใหบริการมีบุคลิกภาพที่ดี
6. การสื่อสาร (Communication) ประกอบดวย
6.1 มีการสื่อสารชี้แจงขอบเขตและลักษณะงานบริการ
6.2 มีการอธิบายขั้นตอนใหบริการ
7. ความซื่อสัตย (Credibility) คุณภาพของงานบริการมีความเที่ยงตรงนาเชื่อถือ
8. ความมัน่ คง (Security) ประกอบดวย ความปลอดภัยทางกายภาพ เชน เครื่องมืออุปกรณ
9. ความเขาใจ (Understanding) ประกอบดวย
9.1 การเรียนรูผูใชบริการ
34

9.2 การแนะนําและการเอาใจใสผูใชบริการ
10. การสรางสิ่งที่จับตองได (Tangibility) ประกอบดวย
10.1 การเตรียมวัสดุ อุปกรณใหพรอมสําหรับใหบริการ
10.2 การเตรียมอุปกรณเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชบริการ
10.3 การจัดสถานที่ใหบริการสวยงาม
หลังจากนั้นไดมีการวิจัยตาง ๆ มากมาย เกี่ยวกับ ปจจัย หรือเกณฑในการประเมิน
คุณภาพบริการของลูกคา ซึ่งพบวาแตละเกณฑมีความสัมพันธที่ใกลเคียงกันมาก และบางเกณฑ
สามารถรวมเขาไวเปนเกณฑเดียวกันได จนกระทั่งในป ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) เกณฑการประเมิน
คุณภาพบริการตาม แนวคิดของพาราสุรามาน ตัวแปรหลัก 10 ตัวแปรเหลือเพียง 5 ประการ คือ
1. ความเปนรูปธรรมของการบริการ (Tangibles) หมายถึง ลักษณะของสิ่งอํานวยความ
สะดวกทางกายภาพที่สามารถจับตองได เชน เครื่องมือและอุปกรณที่ใหบริก าร เจาหนาที่ผูใหบริการ
และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เนื่องจากการบริการเปนสิ่งที่จับตองไมได การประเมินจึงตอง
ประเมินจากสภาพแวดลอมทางกายภาพที่มีตัวตน ซึ่งอยูรอบ ๆ การใหบริการ โดยการประเมินจะเนน
ใน 2 สวน คือ
1.1 เนนที่อุปกรณ และเครื่องอํานวยความสะดวกทางวัตถุ เชน โตะใหบริการ เกาอี้
สําหรับนั่งรอ ชั้นวางของ ปายหรือสัญลักษณ ฯลฯ
1.2 เนนที่พนักงาน และวัสดุที่ใชในการติดตอสื่อสาร เชน การแตงกายของพนักงาน
โดยประเด็นที่ใชประเมิน ไดแก บริษัทมีอุปกรณที่ทันสมัย ลูกคาสามารถสังเกตเห็นสิ่งอํานวยความ
สะดวกตางๆ ของบริษัทไดงาย พนักงานของบริษัทมีความสุภาพ เรียบรอย และสิ่งอํานวยความ
สะดวกที่มีนั้นสอดคลองกับการใหบริการของบริษัท
2. ความนาเชื่อถือไววางใจในการบริการ (Reliability) หมายถึง ความสามารถในการ
ใหบริการไดตามที่ไดใหสัญญาไวกับลูกคาอยางนา เชื่อถือ ถูกตอง และสม่ําเสมอโดยประเด็นที่ใช
ประเมิน ไดแก
- บริษัทไดใหบริการตามที่ไดสัญญาไว
- เมื่อลูกคามีปญหา บริษัทแสดงออกถึงความจริงใจในการแกปญหานั้น
- บริษัทใหการบริการที่ถูกตองเหมาะสม ตั้งแตการใหบริการในครั้งแรก
- บริษัทไดใหบริการตรงตามเวลาที่ไดสัญญาไว
- บริษัทไมมีประวัติในเรื่องความผิดพลาดในการใหบริการ
3. การตอบสนองตอลูกคา (Responsiveness) หมายถึง ความมุงมั่นเต็มใจที่จะชวยเหลือ
ลูกคา การใหบริการอยางรวดเร็ว ฉับไว และพรอมใหบริการเสมอ ซึ่งสะทอนถึงการเตรียมการของ
บริษัทในการใหการบริการแกลูกคา โดยประเด็นที่ใชประเมิน ไดแก
35

- พนักงานไดแจงใหลูกคาทราบวาจะไดรับบริการเมื่อใด
- พนักงานมีความพรอมที่จะใหบริการลูกคาไดทันทวงที
- พนักงานเต็มใจที่จะชวยเหลือลูกคา
- พนักงานไมยุงเกินไปที่จะตอบสนองตอคํารองขอของลูกคา
4. การใหความมั่นใจแกลูกคา (Assurance) หมายถึง การที่ผูใหบริการตองมีความรู ทักษะ
ความสามารถ ความซื่อสัตย และมีสัมมาคาราวะ สรางความเชื่อมั่นใหกับลูกคาที่มาใชบริการ โดย
ความมั่นใจในการบริการประกอบดวย 3 องคประกอบ คือ ความสามารถของพนักงาน ซึ่งหมายถึง
ความรู และทักษะในงานบริการของ พนักงาน เพื่อนําความเชื่อถือ และความมั่นใจมาสูลูกคามารยาท
ของพนักงานที่แสดงออกในขณะที่ใหบริการ โดยพนักงานตองสุภาพ มีความเปนมิตร ใหความสนใจใน
การดูแลลูกคารวมถึงทรัพยสินของลูกคา ความปลอดภัยเมื่อมาใชบริการ พนักงานตองทําใหลูกคา
รูสึกถึงความปลอดภัย จากอันตราย ความเสี่ยง และความกังวล เมื่อมาใชบริการ ซึ่งประเด็นที่ใช
ประเมินในเรื่องการใหความเชื่อมั่นแกลูกคา ไดแก
- พนักงานใหบริการโดยแสดงออกใหลูกคารูสึกมั่นใจในการไดรับบริการ
- ลูกคารูสึกปลอดภัยเมื่อมาใชบริการ
- พนักงานมีมารยาทที่ดีตอลูกคาทุกครั้งที่มาใชบริการ
- พนักงานมีความรู ความสามารถที่จะตอบคําถามของลูกคา
5. ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) หมายถึง การดูแลเอาใจใส การใหความสนใจ และ
ใหบริการแกลูกคาแตละคนซึ่งมีความตองการแตกตางกัน โดยประเด็นที่ใชในการประเมิน ไดแก
- บริษัทใหความเอาใจใสแกลูกคาเปนรายบุคคล
- บริษัทเปดใหบริการในเวลาที่สะดวกแกการมาใชบริการของลูกคา
- พนักงานของบริษัทใหความเอาใจใสลูกคาเปนรายบุคคล
- บริษัทยึดหลักความสนใจของลูกคาเปนหัวใจสําคัญ
- พนักงานเขาใจความตองการที่เฉพาะเจาะจงของลูกคา
ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย (2548, หนา 187-192 และ วีระรัตน กิจเลิศไพโรจน, 2549, หนา
274 ) เกณฑที่ใชในการประเมินคุณภาพการบริการทั้ง 5 ประการนี้ ถูกนําไปประยุกตใชในการวัด
คุณภาพการบริการในธุรกิจตางๆ มากมาย เพื่อที่บริษัทจะไดทราบถึงการรับรูคุณภาพการบริการใน
มุมมองของลูกคา และนํามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการบริการใหตรงตามความ
ตองการ ความคาดหวังของลูกคา
1 ความเปนรูปธรรมของบริการ (Tangibility) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพที่ปรากฏให
เห็นถึงสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ อันไดแก สถานที่ บุคลากร อุปกรณ เครื่องมือ เอกสารที่ใชในการ
ติดตอสื่อสารและสัญลักษณ รวมทั้งสภาพแวดลอมที่ทําใหผูรับบริการรูสึกวาไดรับการดูแล หว งใย
36

และความตั้งใจจากผูใหบริการบริการที่ถูกนําเสนอออกมาเปนรูปธรรมจะทําใหผูรับบริการรับรูถึงการ
ใหบริการนั้นๆ ไดชัดเจนขึ้น
2 ความเชื่อถือไววางใจได (Reliability) หมายถึง ความสามารถในการ ใหบริการตรงกับ
สัญญาที่ใหไวกับผูรับบริการ บริการที่ใหทุกครั้งจะต องมีความถูกตองเหมาะสม และไดผลออกมา
เชนเดิมในทุกจุดของบริการ ความสม่ําเสมอนี้จะทําใหผูรับบริการรูสึกวาบริการที่ไดรับนั้นมีความ
นาเชื่อถือ สามารถใหความไววางใจได
3 การตอบสนองของลูกคา (Responsiveness) หมายถึง ความพรอมและความเต็มใจทีจะ
ใหบริการ โดยสามารถตอบสนองความตองการของผูรับบริการไดอยางทันทวงที ผูรับบริการสามารถ
เขารับบริการไดงาย และไดรับความสะดวกจากการใชบริการ รวมทั้งจะตองกระจายการใหบริการไป
อยางทั่วถึง รวดเร็ว
4 การใหความเชื่อมั่นตอลูกคา (Assurance) หมายถึง ความสามารถในการสรางความ
เชื่อมั่นใหเกิดขึ้นกับผูรับบริการ ผูใหบริการจะตองแสดงถึงทักษะความรู ความสามารถในการ
ใหบริการแบบตอบสนองความตองการของผูรับบริการดวยความสุภาพ นุมนวล มีกริยามารยาทที่ดี
ใชการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและใหความมั่นใจวาผูรับบริการจะไดรับบริ การที่ดีที่สุด
5 การรูจักและเขาใจลูกคา (Empathy) หมายถึง ความสามารถในการ ดูแลเอาใจใส
ผูรับบริการ ตามความตองการที่แตกตางของผูรับบริการแตละคน
กุลธน ธนาพงศธร (2537, หนา 34) ไดใหความเห็นในเรื่องหลักการใหบริการที่ดีไววา มี
หลักการดังตอไปนี้
1. ใหบริการที่สอดคลองกับความตองการของสวนใหญ
2. ใหบริการโดยยึดหลักความสม่ําเสมอ
3. ใหบริการโดยยึดหลักความเสมอภาค
4. ใหบริการโดยยึดหลักประหยัด
5. ใหบริการโดยยึดหลักความสะดวก
จากการพิจาณาแนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการแสดงใหเห็นวา เปาหมายของการใหบริการนั้น
คือ การสรางความพึงพอใจแกผูใชบริการ ดังนั้นการที่จะวัดวาการใหบริการบรรลุเปาหมายหรือไมวิธี
หนึ่ง คือการวัดความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการ เพราะการวัดความ พึงพอใจนี้ เปนการตอบ
คําถามวาหนวยงานมีหนาที่ใหบริการมีความสามารถสนองตอบตอความตองการของประชาชนได
หรือไม เพียงใด อยางไร พอสรุปความหมายของการบริการไดวา เปนการปฏิบัติรับใชเพื่อตอบสนอง
ความตองการและความจําเปนของลูกคา บริการเปนสิ่งที่ไมสามารถสัมผัสจับตองไดหรือแสดงความ
เปนเจาของได แตสามารถที่จะถูกรับรูในเชิงความพึงพอใจ และสามารถชวยรักษาลูกคาไวได
37

ลักษณะสําคัญของการบริการ
Parasuraman, Zeithesel & Berry (1985, 1990 กลาวไววา การบริการมีลักษณะสําคัญ 4
ประการ ซึ่งมีอิทธิพลตอการกําหนดกลยุทธของการตลาดดังนี้
1. ไมสามารถจับตองได (Intangibility) เปนลักษณะที่สําคัญของการบริการซึ่งไมสามารถ
มองเห็น รับรูรสชาติ รูสึก ไดยินหรือไดกลิ่นกอนที่จะทําการซื้อ (Armstrong & Kotler. 2003, p.
G7) ดังนั้น ผูซื้อตองพยายามวางกฎเกณฑ เกี่ยวกับคุณภาพและประโยชนจากการบริการที่จะไดรับ
วัสดุที่ใชในกาติดตอสื่อสาร สัญลักษณ ราคา สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ผูขายบริการ จะตองจัดหา เพื่อเปน
หลักประกันใหผูซื้อสามารถตัดสินใจซื้อไดเร็วขึ้น ไดแก
1.1 สถานที่ (Place) ตองสามารถสรางความเชื่อมั่น และความสะดวกใหกับ ผูที่มา
ติดตอ
1.2 บุคคล (People) พนักงาน ที่ใหบริการตอง มีการแตงตัวที่ เหมาะสม บุคลิกดี
หนาตายิ้มแยม แจมใส พูดจาไพเราะเพื่อใหลูกคาเกิดความประทับใจ และเกิดความเชื่อมั่นวาบริการ
ที่ซื้อจะดีดวย
1.3 เครื่องมืออุปกรณ (Equipment) อุปกรณภายในสํานึกจะตองทันสมัยมี
ประสิทธิภาพมีการใหบริการที่รวดเร็ว เพื่อใหลูกคาพึงพอใจ
1.4 เครื่องมือในการติดตอสื่อสาร (Communication Material) สือ่ โฆษณา และ
เอกสารการโฆษณาตางๆ จะตองสอดคลอง กับลักษณะของบริการที่เสนอขาย และลักษณะของลูกคา
1.5 สัญลักษณ(Symbols) คือ ชื่อตราสินคา หรือเครื่องหมายตราสินคาที่ใชในการ
ใหบริการ เพื่อใหผูบริการ เรียกชื่อไดถูก ควรสื่อถึงความหมายที่ดีเกี่ยวกับบริการที่เสนอขาย
1.6 ราคา (Price) การกําหนดราคาการใหบริการควรมีความเหมาะสมกับระดับการ
ใหบริการ ชัดเจน และงายตอการจําแนกระดับบริการที่แตกตางกัน
2. ไมสามารถแบงแยกการใหบริการ (Inseparability) เปนลักษณะที่สําคัญของการบริการ
ซึ่งมีการผลิตและการบริโภค ในเวลาเดียวกัน และไมสามารถแบงแยกบริการจากผูใหบริการได ไมวา
ผูใหบริการจะเปนบุคคล หรือ เครื่องจักรก็ตาม (Armstrong & Kotler, 2003, p. G7) กลาวคือ
ผูขายหนึ่งรายสามารถใหบริการลูกคาในขณะนั้นได หนึ่งราย เนื่องจากผูขายแตละรายมีลักษณะ
เฉพาะตัวไมสามารถใหคนอื่นใหบริการแทนได เพราะตองผลิตและบริโภคในเวลาเดียวกัน ทําใหการ
ใหบริการมีขอจํากัดในเรื่องของเวลา
3. ไมแนนอน (Variability หรือ Service Variability) เปนลักษณะที่สําคัญของการบริการ
ซึ่งคุณภาพจะผันแปรไปตาม โดยขึ้นอยูกับผูที่ใหบริการ และขึ้นกับวาเปนการใหบริการเมื่อไหร ที่ไหน
และอยางไร (Armstrong & Kotler, 2003, p. G7) ซึ่งผูซื้อบริการจะตองรูสึกถึงความไมแนนอน ใน
38

การบริการและสอบถามผูอื่นกอนที่เลือกรับบริการ การควบคุมคุณภาพในการใหบ ริการของผูขาย


บริการทําได 2 ขั้นตอนคือ
3.1 การตรวจสอบ คัดเลือก และฝกอบรมพนักงานที่ใหบริการรวมทั้งมนุษยสัมพันธ
ของพนักงานที่ใหบริการ เชน ธุรกิจโรงแรม และธนาคาร ตองเนนในดานการฝกอบรมพนักงาน
ใหบริการที่ดี
3.2 ตองสรางความพอใจใหลูกคา โดยการรับฟ งคําแนะนําและขอเสนอแนะของ
ลูกคาการสํารวจขอมูลลูกคา และการเปรียบเทียบ เพื่อนําขอมูลที่ไดรับไปใชในการแกไขปรับปรุง
บริการใหดีขึ้น
4. ไมสามารถเก็บไวได (Perris ability) เปนลักษณะของการบริการซึ่งจะมีอยูในชวงสั้นๆ
และไมสามารถเก็บไวได (Etzel, Walker & Standton, 2001, p. G-9) หรือเปนลักษณะที่สําคัญของ
การบริการ ซึ่งไมสามารถเก็บไว เพื่อขายหรือใชในภายหลังได (Armstrong & Kotler, 2003, p. G7)
บริการไมสามารถผลิตเก็บไวเหมือนสินคาอื่น ถาความตองการมีสม่ําเสมอ การใหบริการก็จะไมมี
ปญหา และลักษณะความตองการไมแนนอน จะทําใหเกิดปญหา คือใหบริการไมทันหรือไมมีลูกคา
องคประกอบของระบบการบริการ
จิตตนันท เดชะคุปต (2544, หนา 29-35) ไดกลาวถึง ระบบการบริการที่มีประสิทธิภาพ
จําเปนตองคํานึงถึง องคประกอบที่เปนสวนสําคัญ 5 ประการ ไดแก
1. ผูรับบริการ ลูกคาหรือผูรับบริการ เปนผูที่มีบทบาทสําคัญยิ่งในกระบวนการบริการ
เพราะความพอใจของลูกคาคือเปาหมายหลักของการบริการ หากกิจการใดใหบริการที่ดีทําใหลูกคา
พอใจ ยอมสามารถรักษาลูกคาไวใหกลับมาใชบริการนั้นตอๆ ไปอีก หรืออาจจะแนะนําลูกคาใหมให
ดวย ลักษณะการรับรูของผูรับบริการ แบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ
1.1 การรับรูจากประสบการณที่ไดรับ เปนการรับรูที่เกิดจากการที่ลูกคาไดรับบริการ
แลวเกิดความรูสึกหรือภาพพจนเกี่ยวกับผลิตภัณฑบริการที่ไดรับ และวิธีปฏิบัติในกระบวนการ
ใหบริการ วามีคุณภาพมากนอยเพียงใด
1.2 การรับรูจากความคาดหวัง เปนการรับรูที่เกิดจากขอมูลที่ลงโฆษณาภาพพจนที่
สื่อใหเห็น การไดยินผูอื่นวิจารณ และความตองการของลูกคาเอง ประเภทของผูรับบริการ จําแนกได
2 ลักษณะ คือ
1.2.1 ยึดพฤติกรรมของผูรับบริการเปนหลัก ตามที่ Stone (1954, pp.
36-43) ศึกษาลักษณะของลูกคาและจําแนกลูกคาที่มารับบริการออกเปน 4 ประเภท คือ
- ประเภทลงทุนคุมคา(Economizing Customer) เปนลูกคาที่เนนคุณคาของการ
บริการโดย คํานึงถึงเวลา แรงงานและเงินที่สูญเสียไป มักเปนลูกคาที่ชอบเรียกรองและเปลี่ยนใจงาย
39

- ประเภทเห็นอกเห็นใจผูอื่น (Ethical Customer) เปนลูกคาที่ใหความสําคัญกับการ


ทําประโยชนเพื่อสังคมสวนรวมขององคการ
- ประเภทนิยมตนเอง (Personalizing Customer) เปนลูกคาที่ชอบใหผูอื่นเห็นวาตน
สําคัญและตองการยกยองใหเกียรติ
- ประเภทชอบความสะดวก (Convenient Customer) เปนลูกคาที่ใชชีวิตเรียบงาย
และยินดีจายเงินสําหรับบริการที่ชวยอํานวยความสะดวกตางๆ
1.2.2 ยึดเกณฑการพิจารณา อัตราคาบริการ และคุณภาพของบริการ เปน
หลัก ตามที่ Blumberg (1991, pp. 84-85) ไดระบุประเภทของลูกคาที่มาใชบริการเปน 4 ประเภท
คือ
- พิจารณาอัตราคาบริการเปนสําคัญ (Price-Sensitive Customer) เปนลูกคาที่นิยม
ความประหยัดไมสนใจวาบริการจะมีคุณภาพเพียงใด
- พิจารณาอัตราคาบริการและคุณภาพเปนสําคัญ (Price-Quality Customer) เปน
ลูกคาที่ตัดสินใจดวยเหตุผล รูจักเปรียบเทียบความคุมคาของเงินกับการบริการที่ไดรับ
- พิจารณาคุณภาพเปนสําคัญ (Quality-Sensitive Customer) เปนลูกคาที่ตองการ
บริการที่ถูกใจแมวาจะตองจายเงินมากขึ้นก็ตาม
- ใชอัตราคาบริการเปนตัวกําหนดคุณภาพบริการ (Price-Surrogate Customer)
เปนลูกคาที่ใหปจจัยภายนอกชวยการตัดสินใจดวยความเชื่อวา ถาคาบริการสูงแสดงวาเปนบริการที่ดี
2. ผูปฏิบัติงานบริการ Cowell (1986, p. 204) ไดจําแนกผูใหบริการตามระดับของการ
ปฏิสัมพันธและการปรากฏตัวกับลูกคาขณะใหบริการตอลูกคา โดยแบงเปน 4 ประเภท คือ
2.1 ประเภทที่ตองปฏิสัมพันธและปรากฏตัวกับลูกคา เชน พนักงานเสิรฟอาหาร
พนักงานตอนรับของโรงแรม เปนตน
2.2 ประเภทที่ไมตองปฏิสัมพันธแตตองปรากฏตัวกับลูกคา เชน พนักงานจัด
เครื่องดื่ม พนักงานควบคุมคอมพิวเตอร เปนตน
2.3 ประเภทที่ตองปฏิสัมพันธแตไมตองปรากฏตัวกับลูกคา เชน พนักงานรับ
โทรศัพท นักบิน
2.4 ประเภทที่ไมตองปฏิสัมพันธและไมตองปรากฏตัวกับลูกคา เชน พนักงาน ทํา
ความสะอาด นักบัญชี นับเปนการยากที่จะกลาววา ผูปฏิบัติงานบริการ หรือผูใหบริการประเภทใด
ใหบริการที่ดีที่สุด เพราะลักษณะของการบริการแตละประเภท มีวิธีการใหบริการที่แตกตา งกัน
อยางไรก็ตาม ทัศนคติ ทักษะ ความรูความสามารถ ตลอดจนพฤติกรรมการแสดงออกของบุคลากรที่
ปฏิบัติงานบริการลวนมีอิทธิพลตอการสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาขณะรับบริการทั้งสิ้น
40

3. องคการบริการ เปาหมายขององคการธุรกิจทุกแหง จะมุงความสนใจ ไปที่ความตองการ


ของลูกคาเสมอ เพื่อผลิตสินคาและบริการใหถูกตองตรงตามความตองการของผูบริโภคทั้งนี้ผูบริหาร
การบริการในองคการบริการจําเปนตองคํานึงถึงปจจัยตางๆ ดังนี้
3.1 นโยบายการบริการ องคการจะตองมีการกําหนดนโยบายการใหบริการ
(วัตถุประสงค และเปาหมายรวม) ที่ชัดเจนและแจงใหพนักงานทุกคนในองคการยึดมั่นในนโยบาย
ดังกลาวพรอมทั้งคอยสอดสองดูแลใหพนักงานทุกคนปฏิบัติตามนโยบายโดยพรอมเพรียงกัน
3.2 การบริหารการบริการ การกําหนดโครงสรางองคการ และกลยุทธการบริหาร
การบริการที่ดีใหความสําคัญกับลูกคา และพนักงานบริการทุกระดับ ตลอดจนกําหนดแผน การ
บริการและฝกอบรมพนักงานบริการ ใหมีทักษะเชิงมโนภาพควบคูกับทักษะเชิงพฤติกรรมซึ่งจะทําให
การดําเนินงานบริการเปนไปดวยดี
3.3 วัฒนธรรมการบริการ การเสริมสรางความรวมมือรวมใจ ความเชื่อถือและความ
จริงใจตอกันใหเกิดทั่วองคการรวมทั้งการใหคุณคาของการใหบริการซึ่งกันและกันจะชวยกระตุน
จิตสํานึก และทัศนคติตองานบริการของผูที่เกี่ยวของในอันที่จะสงผลใหการบริการลูกคาเปนไปอยางมี
คุณภาพ
3.4 รูปแบบของการบริการ องคการจะตองพิจารณา ออกแบบระบบ หรือวิธีการ
ใหบริการลูกคาที่สอดคลองกับนโยบายการบริการเชนนโยบายใกลชิดลูกคา นโยบายอํานวย ความ
สะดวกรวดเร็ว
3.5 คุณภาพของการบริการการควบคุมมาตรฐานคุณภาพการใหบริการอยางจริงจัง
ดวยการตรวจสอบและประเมินผลความพึงพอใจของลูกคาและปญหาขอบกพรองตางๆ เปนระยะๆ
จะชวยใหสามารถ ปรับปรุง และพัฒนางานบริการไดตรงกับความตองการของลูกคา อันนํามาซึ่ง
คุณภาพของการบริการที่เปนเลิศได
4. ผลิตภัณฑบริการ ผลิตภัณฑบริการ นับเปนกุญแจสําคัญ ของการบริการที่จะสนองความ
ตองการของลูกคาหรือผูมาใชบริการเพื่อใหบรรลุเปาหมายของการสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา
ทั้งนี้องคการจะเปนผูกําหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑบริการที่จะนําเสนอ (Service offer) แกลกู คา
โดยคํานึงถึงองคประ กอบของผลิตภัณฑบริการรูปแบบการใหบริการ และภาพลักษณของการบริการ
การนําเสนอผลิต ภัณฑบริการที่ตรงกับความตองการของลูกคาจะตองเริ่มตนจากการสํารวจ
พฤติกรรมของลูกคาหรือ
ความหมายของคุณภาพบริการ
Parasuraman, Berry & Zeithaml (1983) ไดใหความหมายของ คุณภาพบริการ (Service
Quality) เกิดจากประสบการณที่คลายกันในแงดีและแงรายของผูมารับบริการในทุกๆกลุม พบวา
คุณภาพบริการจะมีคาสูงหรือต่ําขึ้นอยูกับวาผูมารับบริการรับรูตอบริการที่ไดรับเปนอยางไรตรงกับที่
41

คาดหวังไวหรือไม ดังนั้น คําวา คุณภาพบริการ หมายถึง คุณภาพบริการตามการรับรูและความ


คาดหวังของผูมารับบริการ
Webster’s Dictionary (1988, p. 1099) ใหความหมายวา คุณภาพหมายถึง ระดับความ
เปนเลิศหรือสิ่งที่ดีกวาสิ่งอื่นๆ
Feigenbam (1997, p. 7) ใหความหมายของคุณภาพบริการวาเปนการตัดสินใจของลูกคา
มิใชผูใหบริการ ตลาดหรือผูบริหาร แตขึ้นกับผูรับบริการที่ไดรับประสบการณเกี่ยวกับสินคาหรือ
บริการอยางไร โดยคุณภาพบริการวัดไดจากความตองการหรือความคาดหวังของผูรับบริการ
Brown (1991, p. 9) ไดกลาวไววา คุณภาพบริการนั้นยากที่จะใหความหมาย เพราะวาเปน
นามธรรมที่มีการจัดบริการใหอีกฝายหนึ่งซึ่งเปนผูรับ คําวาคุณภาพนั้นมีความหมายแตกตางกัน
ระหวางบุคคลหนึ่งกับอีกบุคคลหนึ่ง และจากสถานการณหนึ่งสูอีกสถานการณหนึ่ง วิจิตรา
จงวิศาล (2537, หนา 1) ไดใหความหมายของคุณภาพวา คือ ลักษณะตางๆ ของผลิตภัณฑหรือการ
บริการที่ตรงตามความตองการของผูบริโภค ผูรับบริการหรือทําใหผูบริโภค หรือผูรับบริการมีความ
พอใจ
จิรุตม ศรีรัตนบัลล (2537, หนา 171) ไดใหความหมายของคุณภาพบริการในแนวคิดทาง
การตลาดวา คือ ความสามารถในการสนองความตองการของผูมารับบริการ นั่นคือเปนไปตามความ
ตองการของผูใชหรือลูกคา ซึ่งเปนผูไดรับประโยชนจากสินคาหรือบริการนั้นๆ เนื่องจากคุณสมบัติของ
บริการ 4 ประการ คือ บริการไมมีตัวตน มีความหลากหลายในตัวเอง ไมสามารถถูก แบงแยกได และ
เก็บรักษามาได ทําใหคุณภาพของบริการถูกประเมินจากทั้งกระบวนการใหบริการและผลลัพธที่
เกิดขึ้นจากการบริการนั้น โดยเฉพาะการมีปฏิสัมพันธระหวางผูใหบริการและผูรับบริการ
วีระวัฒน ปนนิตามัย (2538, หนา 234) ไดใหความหมายของคุณภาพบริการวา หมายถึง
คุณสมบัติ คุณลักษณะทั้งที่จับตองไดและจับตองไมไดของบริการ ที่ผูรับบริการ รับรูวามีความโดดเดน
ตรงหรือเกินกวาความคาดหวังเปนที่นาประทับใจ จากการที่ผูรับบริการไดจายเงินแลกเปลี่ยนสัมผัส มี
ประสบการณ ทดลองใช เปนตน
เพ็ญจันทร แสนประสาน (2539, หนา 1) ไดกลาวไววา คุณภาพบริการคือการที่ทําใหลูกคา
ไดรับความพึงพอใจ เปนบริการที่สอดคลองกับความตองการของลูกคาตลอดจนขั้นตอนของบริการ
นั้น ๆ จนถึงภายหลังการบริการดวย ทั้งนี้ตองตอบสนองตอความตองการเบื้องตนตลอดจนครอบคลุม
ไปถึงความคาดหวัง ของผูรับบริการ ยอมทําใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจมากขึ้น
วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน (2539, หนา 14) ไดใหความหมายของคุณภาพบริการ คือ ความ
สอดคลองกับความตองการของผูรับบริการ ระดับความสามารถของบริการในการบําบัดความตองการ
ของผูรับบริการ ระดับความพึงพอใจของผูรับบริก ารหลังจากไดรับบริการไปแลว
42

ปณนิกา วนากมล (2545, หนา 11) ไดใหความหมายคุณภาพบริการ หมายถึง ระดับความ


สอดคลองระหวางสิ่งที่ผูรับบริการคาดหวังและการรับรูตอบริการนั้น บริการที่ผูรับบริการไดรับจริงใน
สถานการณนั้นเทากับหรือมากกวาบริการที่ผูรับบริการคาดหวัง ทําใหผูรับบริการพึงพอใจประทับใจ
และกลับมาใชบริการอีก และจะเปนผูรับบริการประจําและเปนผูบอกกลาวแกผูอื่นจากปากตอปาก
ตอไป
Zeithaml (1990, pp. 18-20) คุณภาพบริการ จะมีคาสูงขึ้นหรือต่ําลงขึ้นกับวาผูรับบริการ
ประเมินการรับรูบริการไดจริงวาตรงกับที่คาดหวังไวหรือไม และยังมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอความ
คาดหวังของผูรับบริการที่จะทําใหความคาดหวังตางกันออกไปในแตละบุคคลปจจัยนี้ไดแก คําบอก
เลาปากตอปาก(Word-of-mouth Communication) ความตองการสวนบุคคล(Personal need)
ประสบการณในอดีตที่ผานมา(Past Experience) และการสื่อสารสูภายนอกจากผูใหบริการ
(External Communication to Customers)
เบญจพร พุฒคํา (2547, หนา 16) ไดใหความหมายของคุณภาพบริการไววา คุณภาพบริการ
ตามการรับรูและความคาดหวังของผูมารับบริการ จากความหมายดังกลาว สามารถสรุปไดวา
คุณภาพบริการ หมายถึง ระดับความสามารถของบริการในการตอบสนองความตองการของ
ผูรับบริการ ซึ่งเปนความสอดคลองระหวางสิ่งที่ผูรับบริการคาดหวังและรับรูตอบริการนั้น
องคประกอบของคุณภาพบริการ
Omachonu (1990) กลาววาองคประกอบของคุณภาพประกอบดวย 2 สวน คือ คุณภาพ
ตามความเปนจริงและคุณภาพตามการรับรู (ปณนิกา วนากมล 2545, หนา 12)
1. คุณภาพตามความเปนจริง เปนสิ่งที่ผูใหบริการไดปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดขึ้น
ประกอบดวยสวนสําคัญ 3 ประการ คือ
1.1. มาตรฐานเชิงโครงสราง (Structure Standard) เปนมาตรฐานที่เกี่ยวของกับ
การกําหนดคุณลักษณะของระบบบริหาร และระบบบริการ รวมทั้งทรัพยากรตางๆ ไดแกปรัชญา
วัตถุประสงค นโยบาย การจัดองคกร อัตรากําลัง บุคลากร งบประมาณ อุปกรณเครื่องมือเครื่องใช
อาคารสถานที่โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพ คือ ขั้นตอนการบริการที่จะใหงานบรรลุเปาประสงคที่วางไว
และคํานึงถึงประสิทธิผล คือประหยัดเวลา แรงงานและคาใชจาย
1.2. มาตรฐานเชิงกระบวนการ (Process Standard) เปนมาตรฐานที่กลาวถึง
วิธีการใหบริการที่ตอบสนองความตองการและปญหาของผูรับบริการแตละบุคคล ทั้งดานรางกาย
จิตใจและสังคม โดยใชความรูความสามารถความถูกตองอยูในกรอบจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.3.
มาตรฐานเชิงผลลัพธ (Outcome Standard) เปนมาตรฐานเชิงผลลัพธที่เกิดจากกิจกรรมการ
พยาบาล เปนการวัดผลของการดูแลผูรับบริการ มักจะบอกในรูปการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ
ผูรับบริการ ไดแก ผูรับบริการสามารถปรับตัวไดทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และสังคมที่เกิดจาก
43

ผลกระทบของความเจ็บปวยและความตองการพื้นฐานของบุคคล ผูรับบริการปลอดภัยจากอันตราย
ตางๆ ทั้งทางดานรางกาย จิตใจและสังคมที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติการพยาบาลและมีความพึง
พอใจในการบริการที่ไดรับมาตรฐานเชิงผลลัพธนี้มักจะได รับความสนใจมาก เมื่อมีการกลาวถึงการ
ประกันคุณภาพการพยาบาลและในองคกรที่มีกิจกรรมการประกันคุณภาพ มักจะมุงความสนใจไปที่
มาตรฐานเชิง ผลลัพธเปนอันดับแรก
2. คุณภาพตามการรับรู เปนสิ่งที่ผูรับบริการไดรับจากผูใหบริการ เปนประสบการณจริง
ดังนั้นการประเมินคุณภาพบริการตามการรับรูสามารถประเมินไดจากผูใหบริการและผูรับบริการ
หลักพื้นฐานสูความสําเร็จของการบริการที่มีคุณภาพ
หลักพื้นฐานที่เปนหัวใจนําไปสูความสําเร็จของการบริการที่มีคุณภาพ โดยนําเอาคําวา
“บริการ” ที่ตรงกับภาษาอังกฤษวา “SERVICE” มาแยกตัวอักษรแตละตัวเปนคําขึ้นตนของ
องคประกอบของความสําเร็จในการบริการ ดังนี้

ภาพที่ 2.2: หลักพื้นฐานของความสําเร็จในการบริการ

ทีม่ า: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). จิตวิทยาการบริการ (หนวยที่ 1-7) (พิมพครั้งที่ 2).


กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ.

จะเห็นไดวาคุณภาพบริการคือหัวใจสําคัญของธุรกิจยุคใหม ซึ่งมีการแขงขันที่เขมขนและมี
การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว การบริการที่มีคุณภาพทําใหเกิดขอไดเปรียบ เนื่องจากลูกคาจะเกิด
ความภักดีกับองคกร ที่สามารถใหการบริการที่มีคุณภาพ และขอไดเปรียบในดานคุณภาพ ซึ่ง จะสราง
44

ผลกําไรที่เติบโตอยางตอเนื่องใหแกธุรกิจหรืองคกร ในทางตรงกันขามบริการที่ไมมีคุณภาพก็จะนํา
ความเสียหายมาสูธุรกิจหรือองคกรเปนอันมาก
สรุปจากการศึกษาทฤษฎีดานการบริการ เพื่อทราบถึงการบริการที่ผูบริโภคตองการและ
ลักษณะการบริการที่ถูกตองเพื่อนําไปใช เปนความรูในการจัดทําโครงการธุรกิจประเภทที่พักรีสอรท

2.4 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาคาดหวัง
Parasuraman, et al., (1998 ) ไดกลาววาความคาดหวังหมายถึงทัศนคติที่เกี่ยวกับความ
ปรารถนาหรือความตองการของผูบริโภค ที่พวกเขาคาดหมายวาจะเกิดขึ้นในการบริการนั้นๆลูกคาซื้อ
สินคาหรือบริการเพื่อตอบสนองความตองการที่เฉพาะเจาะจง และลูกคาจะประเมินผลของการซื้อ
โดยมีพื้นฐานจากสิ่งที่คาดหวังวาจะไดรับ ความตองการคือสิ่งที่ถูกฝงลึกอยูในจิตใตสํานึกของมนุษย
เปนผลสืบเนื่องมาจากชีวิตความเปนอยูและสถานะภาพของแตละบุคคล เมื่อรูสึกวามีความตองการ
พวกเขาจะมีแรงจูงใจที่จะทําใหความตองการไดรับการตอบสนององคประกอบที่ทําใหเกิดความ
คาดหวังซึ่งเกิดกับลูกคาเองนั้นมี 3 องคประกอบ คือ คําบอกเลาปากตอปาก (Word of Mouth
Communication) ความตองการสวนบุคคล (Personal Needs) และประสบการณในอดีต (Past
Experience) และอีกองคประกอบหนึ่งเกิดขึ้นจากผูใหบริการ ซึ่งก็คือ การสื่อสารหรือการ
ประชาสัมพันธไปสูลูกคา (External Communication to Customers) องคประกอบเหลานี้มีผลตอ
ความคาดหวังของลูกคาตอการบริการที่ไดรับ (Zeithaml, Parasuraman & Berry 1990, p. 20)
ความคาดหวังของลูกคานี้แบงไดเปน 2 ระดับ ซึ่งแตกตางกันระหวางระดับบริการที่ปรารถนาและ
ระดับบริการที่เคยไดรับ ในระดับแรกเกิดจากลูกคาหวังไววาควรจะไดรับหรือควรจะเปน สวนใน
ระดับที่สองลูกคาไดรับบริการเหมือนที่ผา นมาในครั้งกอนๆ ก็จะยอมรับบริการนี้ได Zeithaml, et al.
(1990, p. 19) ไดระบุถึงปจจัยหลักที่มีผลตอความคาดหวังของผูรับบริการแบงออกเปน 5 ประการ
ไดแก
1. การไดรับการบอกเลา คําแนะนําจากบุคคลอื่น
2. ความตองการของแตละบุคคล
3. ประสบการณในอดีต
4. ขาวสารจากสื่อ และจากผูใหบริการ
5. ราคา
ความคาดหวังของผูบริโภคของผูรับบริการเปนสวนประกอบสําคัญในการวัดระดับความ
พอใจซึ่งระดับความพอใจไดจากความแตกตางระหวางผลที่มองเห็นหรือเขาใจ (Perceived
Performance) กับความคาดหวังของบุคคล ผลลัพธที่เกิดขึ้นได 3 แบบดวยกันคือ หากการทํางาน
ของขอเสนอไมตรงกับระดับความคาดหวังผูมารับบริการยอมเกิดความไมพอใจ (Dissatisfied) ถาการ
45

ทํางานของขอเสนอตรงกับความระดับความคาดหวังผูมารับ บริการยอมพอใจ (Satisfied) แตถาเกิน


ความคาดหวังผูมารับบริการก็จะยิ่งมีความพอใจมากขึ้นหรือประทับใจ (Delight) วีรพงษ
เฉลิมจิระรัตน (2539, หนา 21) ไดกลาวไววา ความคาดหวังของลูกคาเกิดขึ้นจากปจจัย 7 ประการ
ดังนี้
1. ชื่อเสียงภาพพจนขององคกร รวมทั้งคําร่ําลือตาง
2. ตัวของพนักงานผูใหบริการ เชน การแตงตัว รูปราง
3. ตัวสินคาหรือบริการ เชน ประเทศที่ผลิต ยี่หอ
4. ราคาของบริการนั้น
5. สภาพแวดลอมในขณะนั้น
6. มาตรฐานคุณภาพของลูกคาเอง
7. คูแขงของสถานบริการนั้น
โดยในบางครั้งในความคาดหวังของลูกคายังมีการรับรูของลูกคาปะปนมาดวย โดยสามารถที่
จะอธิบายถึงขอแตกตางไดวาขอมูลที่ลูกคาไดรับ ผนวกกับสถานการณแวดลอมในเวลานั้นทําใหลูกคา
เกิดความเขาใจไปเองวาผูใหบริการตองสามารถใหบริการไดอยางดีจึงทําใหลูกคาเกิดความคาดหวังที่
สูงหรือเกินกวาความปกติจากความเปนจริง เมื่อไดรับบริการตามมาตรฐานปกติก็อาจรูสึกไมพอใจได
เชน ในกรณีของการใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ผูใชบริการมักที่จะคาดหวังใหระบบสามารถที่จะใช
ติดตอไดอยางตอเนื่อง ราคาถูก มีการบริการหลังการขายที่ดี รวมทั้งบริษัทผูใหบริการติดตามให
ความสําคัญกับลูกคาอยางตอเนื่อง และเมื่อโทรศัพทพื้นฐานที่ใชอยูสามารถตอบสนองไดตามความ
คาดหวัง ลูกคาก็จะเกิดความพอใจและบอกตอไปยังคนใกลชิดใหมาใชบริการ
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความคาดหวังของลูกคา (Factors Influencing Expectations)
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความคาดหวังของผูบริโภค 4 ปจจัย ดังตอไปนี้
ปจจัยที่ 1 การสื่อสารแบบปากตอปาก (Word of Mouth Communication) เปนสิ่งที่
ผูบริโภคไดยินปากตอปากจากบุคคลอื่น ซึ่งมีผลตอการกําหนดความคาดหวังขึ้นในจิตใจ
ปจจัยที่ 2 ความตองการสวนบุคคล (Personal Needs) คือ ความคาดหวังของผูบริโภคแต
ละคนที่แตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล และพฤติกรรมของผูบริโภคแต
ละคนดวย ซึ่งจะทําใหความตองการของแตละคนแตกตางกันออกไป
ปจจัยที่ 3 ประสบการณในอดีต (Past Experience) เปนประสบการณในอดีตที่เกิดขึ้นจาก
การใชบริการที่มีอิทธิพลตอระดับความคาดหวังของผูบริโภค
ปจจัยที่ 4 การติดตอสื่อสารออกไปภายนอกสูผูบริโภค (Market Communication) คือการ
ติดตอสื่อสารจากภายนอกซึ่งมีอิทธิพลตอผูบริโภค เกิดจากผูใหบริการที่สรางความคาดหวังใหแก
ลูกคา เชน การโฆษณาผานสื่อ (Parasuraman, et al., 1988)
46

ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการประเมินความคาดหวังของลูกคาที่มาใชบริการ ทฤษฎีที่สําคัญและ
เปนที่ยอมรับ ไดแก ทฤษฎี Conceptualization of Expectations (Parasuraman, et al., 1988)
โดย Parasuraman, Zeithaml & Berry (1993) ไดอธิบายแนวคิดในเรื่องของความคาดหวังตอ
บริการวา เปนความตั้งใจที่จะวัดความคาดหวังสามัญของลูกคาเพื่อจะเปนสิ่งที่แทน
มาตรฐานการบริการที่ดี จึงไดพยายามศึกษาโดยนําแนวความคิดในอดีตมารวมกับสิ่งที่ศึกษาคนควา
แลวนํามาสรางตัวแบบที่สมบูรณแบบของความคาดหวังในบริการของลูกคา ซึ่งประกอบดวยความ
คาดหวัง 2 ระดับ ที่ลูกคาใชเปนมาตรฐานการเปรียบเทียบเพื่อประเมินคุณภาพบริการ ไดแก
1. บริการที่ตองการ (Desired Service) คือ ระดับบริการที่ลูกคาเชื่อวาผูใหบริการควรจะทํา
และสามารถทําได
2. การบริการที่เพียงพอ (Adequate Service) คือ ระดับบริการต่ําที่สุดที่ลูกคาจะยอมรับได
ดังนั้น ชวงตางระหวางบริการที่ตองการและบริการที่เพียงพอ จะเรียกวา “เขตของความอดทน
(Zone of Tolerance)” ซึ่งใชแทนระดับบริการที่ลูกคาคิดวาพอใชไดดังนั้น ความแตกตางในระหวาง
2 ระดับนี้ จะเปนชวงที่ลูกคาพิจารณาวานาพอใจหรือพอทนได (Tolerance) แสดงในแบบจําลอง
ความคาดหวังของลูกคาในการบริการ (Nature and Determinants of Customer Expectations
of Service) ดังภาพ
47

ภาพที่ 2.3: แบบจําลองความคาดหวังของลูกคาในการบริการ

ทีม่ า: Parasuraman, A., Berry, L. L., & Zeithaml, V. A. (1991). Refinement and
reassessment of the SERVQUAL scale. Journal of Retailing, 67(4), 420-50.

เมื่อนําเอาเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพ 22 ขอ ที่ใชเปนเครื่องมือในการวัดคุณภาพงานบริการ


(SERVQUAL) มาใชรวมกับความคาดหวัง ทําใหสามารถเปรียบเทียบมาตรฐานคุณภาพบริการจาก
ความคาดหวัง โดยใชมาตรฐาน 2 ระดับ ประกอบดวย
1. การวัดบริการระดับสูง (Measure of Service Superiority or MSS) แสดงถึงชองวาง
ระหวางบริการที่รูสึกได (Perceived Service) กับบริการที่ตองการ (Desired Service)
2. การวัดบริการระดับที่เพียงพอ (Measure of Service Adequate of MSA) แสดงถึง
ความแตกตางระหวางบริการที่รับรูได (Perceived Service) กับการบริการที่เพียงพอ
(AdequateService)
48

สรุปจากการศึกษาทฤษฎีการบริการที่ลูกคาคาดหวัง ไดทราบถึงสิ่งสําคัญที่ผูบริโภคตองการ
จากการใชบริการเพื่อนําใชในการดําเนินงานเพื่อตอบสนองใหตรงความคาดหวังของผูบริโภคให
ไดมากที่สุด

2.5 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาไดรับ
Zeithaml & Bitner (1996) ไดรวบรวมปจจัยตาง ๆ ซึ่งจะมีอิทธิพลหรือสงผลกระทบตอ
การรับรูเกี่ยวกับการบริการของลูกคา โดยปจจัยเบื้องตน 4 ประการซึ่งจะมีอิทธิพลตอการรับรูของ
ลูกคา นั้นคือการติดตอระหวางผูใหบริการและลูกคา (Service Encounter) หลักฐานของการ
ใหบริการ (Evidence of Service) ภาพพจน (Image) และราคา (Price) ปจจัยเหลานี้ถือเปน
หลักฐานหรือประจักษพยานซึ่งผูใหบริการจําเปนตองยอมรับและมีความเขาใจเพื่ อจะนําไปสูการ
วางแผนและการกําหนดกลยุทธเพื่อชวยในการจัดการรูปแบบการรับรูของลูกคาเกี่ยวกับการบริการ
ใหอยูบนพื้นฐานเกี่ยวกับการเพิ่มคุณภาพ ความพึงพอใจและคุณคาของการบริการปจจัยที่มีอิทธิพล
ตอการรับรูเกี่ยวกับบริการของลูกคา ประกอบดวยการติดตอระหวางผูใหบริการและลูกคา(Service
Encounter) การติดตอใหบริการระหวางผูใหบริการ หมายถึง การสรางกรอบการรับรูของลูกคา เมื่อ
ลูกคามีการติดตอกับผูใหบริการ ลูกคาเหลานี้จะกลายเปนสวนหนึ่งและอยูในชวงเวลา ณ ขณะนัน้
(Moment of Truth) โดยทั่วไปการติดตอระหวางผูใหบริการและลูกคาแบงออกไดเปน 3 ประเภท
ประกอบดวย การติดตอในสถานที่หางไกล การติดตอผานทางโทรศัพทและการติดตอโดยตรงกับ
ลูกคา การนําเอาเทคนิคตาง ๆ เขามาใชสามารถชวยใหลูกคาเกิดความพอใจและเกิดความไมพึงพอใจ
ได
หลักฐานของการบริการ (Evidence of Service) เนื่องจากลักษณะของการบริการที่จับตอง
ไมได ลูกคามักจะมองหาหลักฐานอื่นๆเกี่ยวกับการ บริการทุกครั้งที่ลูกคาทําการประเมินและตัดสินใจ
กอนที่จะเขามาใชบริการ ตัวอยางเชน เมื่อคุณไปตางจังหวัดและตองการเขารานเสริมสวยหรือ
รับประทานอาหารในภัตตาคารแหงหนึ่ง คุณอาจจะตองพิจารณาวารานหรือภัตตาคารมีการตกแตง
อยางไร มีความสะอาดหรือไม พนักงานบริการมีพฤติกรรมอยางไร เปนตน
1. ภาพพจน (Image) หมายถึง “การรับรูของผูบริโภคเกี่ยวกับตัวองคกรซึ่งจะสะทอนและฝง
ตรึงอยูในความทรงจําของผูบริโภค” (Zeithaml, & Bitner, 1996, p. 114) ภาพพจนเกี่ยวกับองคกร
จะกระทําตัวเสมือนตัวกลั่นกรองซึ่งจะมีอิทธิพลตอการรับรูของลูกคาเมื่อลูกคาเขามาใชบริการ
ราคา (Price) ยุทธดานราคามักจะถูกนํามาใชเปนดัชนีชี้วัดสําหรับคุณภาพการบริการ โดย
ลูกคาอาจจะทําการประเมินคุณภาพของบริ การที่พวกตนจะเขาไปใชโดยพิจารณาจากราคาคาบริการ
ทีแ่ สดงไว ดังนั้นราคาคาบริการจะมีอิทธิพลตอระดับของการรับรูของลูกคาเกี่ยวกับคุณคาของการ
บริการ
49

Zeithaml & Bitner (1996) ไดแบงองคประกอบที่ผูรับบริการจะใชวัดคุณภาพการสงมอบ


บริการของผูใหบริการไวทั้งหมด 5 ขอ ไดแก
1. สิ่งที่สัมผัสได (Tangibles) หมายถึง สภาพแวดลอมทั่วไป ณ บริเวณสถานที่ที่การสง
มอบการบริการนั้น ๆ เกิดขึ้น ไมวาจะเปน การตกแตง บรรยากาศ ที่จอดรถ ของสถานที่นั้น ๆ ยัง
รวมไปถึงการแตงกาย และบุคลิกภาพของพนักงานที่ทําการสงมอบบริการนั้นดวย
2. ความเชื่อถือและไววางใจได (Reliability) หมายถึง ผูรับบริการมีความเชื่อถือ และ
ไววางใจผูใหบริการ วาสามารถที่จะการตอบสนองความตองการของผูรับบริการได ซึ่งความนาเชื่อถือ
และไววางใจของผูใหบริการแตละคนยอมไมเทากัน ซึ่งวัดไดจากประสบการณที่เคยลองใชบริการ
หรืออาจวัดจากความรูสึกที่สัมผัสไดครั้งแรกของผูรับบริการ
3. ความรวดเร็ว (Responsiveness) หมายถึงชวงเวลาที่ผูใหบริการสามารถที่จะตอบสนอง
ความตองการของผูรับบริการความรวดเร็วคือความตั้งใจที่จะบริการ โดยที่ผูใหบริการ บริการอยาง
กระตือรือรนซึ่งสวนใหญการบริการที่รวดเร็วมาจากความพรอมของพนักงาน และกระบวนการ
บริหารการบริการจากภายในองคกร
4. การรับประกัน (Assurance) หมายถึง การที่สถานบริการนั้นมีหลักประกันวาสามารถสง
มอบบริการที่มีคุณภาพแกผูรับบริการได โดยพนักงานมีความรู ความสามารถ ไมกาวราว และยังรวม
ไปถึงมาตรฐานตาง ๆ ของสถานที่บริการ การรับประกันผูรับบริการอาจจะวัดคุณภาพจากรางวัล
ตางๆที่ทางผูใหบริการเคยไดรับ อยางเชน TAXI ในอนาคตผูขับจะตองมีประสบการณขับรถมาอยาง
นอย 5 ป และตองมีใบอนุญาตขับขี่ ถือเปนการรับประกันอยางหนึ่ง ผูรับบริการจะรูสกึ ถึงความ
ปลอดภัย
5. การเอาใจใสลูกคาเปนรายบุคคล (Empathy) หมายถึง การที่ผูรับบริการตองการไดรับ
ความรูสึกวา ตนนั้นมีความสําคัญในสถานบริการ และผูใหบริการดูแลเอาใจผูรับบริการอยางตั้งอก
ตั้งใจ สามารถบริการ แกปญหาตางๆ ใหแกผูรับบริการไดเปนรายบุคคลและมีการสื่อสารกับลูกคาได
เปนอยางดี
สิ่งสําคัญควรเอาใจใสตอผูรับบริการแตละคนเทาๆกันชวงเวลาในการสรางการบริการที่มี
คุณภาพชวงเวลาที่ผูรับการบริการสามารถรับรูและสัมผัสถึงคุณภาพของการบริการที่ผูใหบริการสง
มอบใหนั้น เปนชวงเวลาที่ผูใหบริการจะตองสรางคุณภาพตาง ๆ ของการบริการ ใหเปนที่ประจักษแก
ผูรับบริการวา สามารถที่จะแกปญหา และสนองตอบความตองการของผูรับบริการไดอยางแทจริง ซึ่ง
ชวงเวลาดังกลาว สามารถแบงไดออกเปน 3 ชวงกอนการใหบริการ หมายถึง ชวงเวลากอนที่ลูกคาจะ
เขามาใชบริการเปนครั้งแรก เถือไดวาเปนชวงเวลาแหงการดึงดูดใจ สรางความเชื่อมั่นวาสามารถ
ตอบสนองความตองการได ผูใหบริการตางๆจึงเนนที่จะนําเอาสวนประสมทางการตลาด (Marketing
Mix) เขามาใชในการดึงดูดใจ ใหลูกคาที่จะเขามาใชบริการเปนครั้งแรก จึงควรมีการสื่อสารไปยัง
50

ผูรับบริการที่มีประสิทธิภาพชวงเวลานี้จะกอใหเกิดความคาดหวังในใจของผูรับบริการขณะใหบริการ
หมายถึง ชวงเวลาที่สําคัญที่สุดที่จะกอใหเกิดคุณภาพของการบริการ จนสามารถทําใหผูรับบริการมี
ความรูสึกวา ผูใหบริการสามารถตอบสนองความตองการได คุมคาเงินที่เสียไป และคุมคาที่ตัดสินใจ
ใชบริการ ทางกลับกันอาจเปนชวงเวลาที่ผูรับบริการผิดหวัง ถึงขั้นเลิกใชบริการเลยก็ได ชวงเวลาขณะ
ใหบริการสงผลใหเกิดความพึงพอใจ และความจงรักภักดีของลูกคาตอผูใหบริการ
ชวงเวลานี้ วีระพงษ เฉลิมจิระรัตน (2543) และ Zeithaml & Bitner (1996) เรียกวาเปน
ชวงแหงการสรางความประทับใจ (Moment of Truth, MOT) โดยการสรางความประทับใจแก
ผูรับบริการจะตองเกิดจากการรวมมือของทุกฝายภายในสถานที่ที่มีการสงมอบบริการนั้นเกิดขึ้นหลัง
บริการ หมายถึง ชวงเวลาที่ติดตามผลความพึงพอใจ และปญหาตาง ๆ ของผูรับบริการที่เกิดขึ้น วา
เหตุใดผูรับบริการจึงเกิดความพึงพอใจ หรือไมพอใจอยางไรกับการบริการเพื่อนํามาปรับปรุงแกไขให
รูปแบบของการบริการนั้นสามารถสนองความตองการของผูรับบริการไดมากขึ้นตอไป ใหผูรับบริการ
อยากที่จะกลับมาใชบริการอีกครั้ ง และใชบริการตอไปเรื่อย ๆ เปนชวงเวลาที่อาจนําสวนประสมทาง
การตลาด (Marketing Mix) มาใชอีกครั้ง และจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หากเสนอรูปแบบของสวน
ประสมทางการตลาดใหตรงกับความตองการของผูรับบริการ
Grönroos (1990) ไดนิยามการบริการ คือ กิจกรรมหรือชุดของกิจกรรมซึ่งอาจอยูในสถานที่
มีตัวคนหรือไมก็ตามเกิดขึ้นขณะที่ผูใหบริการมีปฏิสัมพันธกับลูกคา หรือผูใหบริการมีปฏิสัมพันธกับ
ระบบของการบริการ ซึ่งจัดเตรียมไวเพื่อแกปญหาหรือความตองการของลูกคาแบบจําลองคุณภาพที่
รับรูได (Perceived Quality Model) Grönroos (1988) เปนนักวิจัยคนแรกที่ใชแบบจําลองความ
พอใจ/ ความไมพอใจของลูกคา (Customer Satisfaction/ Dissatisfaction or CS/ D Model) เพื่อ
อธิบายวา ลูกคามีความพึงพอใจในคุณภาพบริการหรือไม กลาวถึง คุณภาพบริการที่รับรูไดวาเปน
“ผลลัพธของกระบวนการประเมิน ซึ่งลูกคาไดเปรียบเทียบความคาดหวังในบริการกับการรับรูใน
บริการที่ไดรับจริง”นอกจากนั้นเขายังไดสรางแบบคุณภาพ ที่ประกอบดวยกัน 2 ดาน ดังนี้
1. คุณภาพทางเทคนิค (Technical Quality) คือ สิ่งที่ลูกคาจะไดรับจากการบริการซึงสามารถ
วัดไดอยางคอนขางชัดเจน
2. คุณภาพในหนาที่ (Functional Quality) คือ วิธีการในการใหบริการ ซึ่งวัดคุณภาพใน
หนาที่ไดยาก อันเนื่องมาจากมีความหลากหลายและเปลี่ยนแปลงไดมาก คุณภาพในหนาที่จะ
เกี่ยวของกับปฏิกิริยาดานจิตวิทยาระหวางผูขายซึ่งรับรูไดทางจิตใจตอมาจึงไดนําเสนอแบบคุณภาพ
บริการใหม โดยแบงออกเปน 3 ดาน คือ คุณภาพทางเทคนิค คุณภาพดานหนาที่ และภาพลักษณ
(Corporate Image) โดยคุณภาพในดานภาพลักษณ(Corporate Image Dimension of Quality)
เปนผลลัพธที่ไดจากการรับรูของลูกคา ซึ่งสรางขึ้นไดจากคุณภาพทางเทคนิครวมกับคุ ณภาพดาน
51

หนาที่ และเกิดเปนการรับรูในทายที่สุดการเสนอบริการ (The Service Offering) เปนแนวความคิดที่


ประกอบดวย
1. ชุดบริการพื้นฐาน อาทิเชน สิ่งที่ลูกคาจะไดรับจากการบริการหลักที่มีความสะดวกสบาย
เปนตน
2. สิ่งที่เพิ่มเติมในกระบวนการบริการ และความสัมพันธระหวางลูกคากับบริษัทซึ่งไป
กลาวถึง การบริการที่มีประสิทธิภาพ (ความพรอมของบุคลากร ความชํานาญ) ความสัมพันธอันดี
ระหวางพนักงานกับลูกคา ระหวางทรัพยากรกับลูกคา ระหวางระบบกับลูกคา และทั้งลูกคากับบริษัท
ดวย รวมถึงการรับรูของลูกคาในกระบวนการบริการการบริการโดยทั่วไป จึงมีคุณลักษณะที่สําคัญอยู
4 ประการ
1. การบริการเปนเรื่องที่สัมผัสจับตองไดยาก
2. การบริการเปนกิจกรรมหรือกระบวนการตอเนื่องของกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูใหบริการกระทํา
เพื่อสงมอบแกผูรับบริการ
3. การบริการเกิดขึ้นและถูกบริโภคในขณะเดียวกันเลยหรื อเกือบจะในเวลาเดียวกันเลย
4. ลูกคาหรือผูรับบริโภคใหความสําคัญกับ “กิจกรรม” หรือ “กระบวนการบริการ” หรือ
“พฤติกรรม” ของผูใหบริการมากกวาสิ่งอื่น ๆ และรับรูดวยความรูสึกทางใจมากกวาดังนั้นคําวา
“ความประทับใจ” จึงมีความสําคัญเหนือสิ่งอื่นใดตอผูรับบริการ ความประทับใจมักจะเกิดขึ้นใน
ขณะที่ผูรับบริการสัมผัสกับการบริการ ที่เราเรียกกันวา “วินาทีแหงความเปนจริง” หรือ “ชวงเวลาใน
ขณะที่ลูกคาไดสัมผัสการบริการ” (Moment of Truth) คุณภาพของการบริการ (Quality service)
จึงเกิดขึ้นที่จุดที่ลูกคาไดสัมผัสหรือรับบริการหนึ่ง ๆ นั่นเอง Moment of Truth จึงเปนจุดแรกที่ผู
ใหบริการมีโอกาสแสดงถึง “คุณภาพของการบริการ” ใหผูรับบริการไดสัมผัสหรือรับรู (อาจรวมถึง
เวลาที่ใหบริการและสถานที่ใหบริการดวย)จุดนี้จึงมีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอการบริหารงานบริการ
ความประทับใจในการบริการจึงมีความสัมพันธกับ “คุณภาพของการบริการ” อยางยิ่งคุณภาพของ
การบริการ (Service Quality) คือ ความสอดคลองกับความตองการของลูกคาหรือระดับของ
ความสามารถของการบริการในการบําบัดความตองการของลูกคาหรือ ระดับความพึงพอใจของลูกคา
หลังจากที่ไดรับบริการไปแลว (วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน, 2543, หนา 14-15)
วัดคุณภาพของการบริการที่ ดัชนีความพึงพอใจ หรือ CSI (Customer Satisfaction Index)
ของลูกคาหลังจากไดรับบริการนั้น ๆ ไปแลวในการประเมินระดับคุณภาพของบริการนั้น เราอาจใช
ปจจัย หรือองคประกอบของบริการในลักษณะตาง ๆ ซึ่งสามารถตรวจสอบ/ ตรวจวัด/ ทดสอบ/
ประเมินคา หรือเกรด หรือนับจํานวน หรือใหหนวยคะแนน หรือระดับความรูสึกพึงพอใจไดใน
ลักษณะที่ผูอื่นสวนมากยอมรับได (วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน, 2543, หนา 15-16)
52

ดังนั้น ในการประเมินคุณภาพของบริการของสถานบริการตาง ๆ จึงตองพิจารณาระดับความ


พึงพอใจ ที่ลูกคาไดรับจากปจจัยคุณภาพ (Service Characteristics and Attributes) ตาง ๆตลอด
ระยะเวลาที่ใชบริการอยูนั้น จนเสร็จสิ้นกระบวนการรับบริการหนึ่ง ๆ หรือเสร็จวงจรบริการหนึ่ง ๆ
(ที่เรียกวา Service Cycle) ปจจัยคุณภาพบริการปจจัยคุณภาพบริการ มักประกอบดวยคํา 2 คํา มี
ความหมายแตกตางกันเล็กนอย กลาวคือ (วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน, 2543, หนา 16-22) คุณลักษณะ
ของคุณภาพการบริการ (Characteristics of Service Quality) หมายถึงลักษณะทางคุณภาพของ
บริการ มุงเนนถึงหนวยวัด หรือประเด็นเปรียบเทียบ หรือมาตราวัดทั่วไปที่ใชวัดเปรียบเทียบระดับ
คุณภาพบริการของหนวยงานบริการ 2 แหง อาทิ ความรวดเร็ว ความแมนยํา ความสะอาด ฯลฯ ถือ
วาเปน Attribute Factor ของคุณภาพบริการ ในที่นี้ขอเรียกรวม ๆ กันวา ปจจัยคุณภาพบริการ
คุณลักษณะการบริการ (Service Characteristics) จากงานวิจัย Zeithaml, Parasuraman &
Berry (1985) ไดทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของงานบริการเพื่อคนควาวา ปจจัยอะไร ที่จัดวา
เปนตัวตัดสินระดับคุณภาพของบริการ ในสายตาของผูใชบริการหรือลูกคาโดยสรุปแลวมีปจจัยที่
ลูกคามักอางอิงถึงอยู 10 ปจจัย คือ
1. ความนาเชื่อถือ (Reliability) หรือความเชื่อถือไดในคุณลักษณะหรือมาตรฐานการ
ใหบริการ
2. การตอบสนอง (Responsiveness) การสนองตอบตอความตองการหรือความรูสึกของ
ลูกคา
3. ความสามารถ (Competence) สมรรถนะในการใหบริการอยางรอบรู ถูกตองเหมาะสม
และเชี่ยวชาญรูจริง (มือถึง)
4. การเขาถึง (Access) การเขาถึงงาย การใชบริการไดอยางไมยุงยาก
5. ความมีมารยาท (Courtesy) หรือความสุภาพ เคารพนบนอบ ความออนนอมใหเกียรติ
และมีมารยาทที่ดีของบริกร
6. การสื่อสาร (Communication) ความสามารถและสมบูรณในการสื่อความและสัมพันธ
กับลูกคา ทําใหลูกคาทราบเขาใจและไดรับคําตอบในขอสงสัย หรือความไมเขาใจตาง ๆ ไดอยาง
กระจางชัด
7. ความนาศรัทธา (Creditability) หรือความเชื่อถือได ความมีเครดิตของผูใหบริการ
8. ความมั่นคงปลอดภัย (Security) ความอบอุนสบายใจของลูกคาในขณะใชบริการ
9. ความเขาอกเขาใจในลูกคา (Customer Understanding) เอาใจลูกคามาใสใจตน
10. ลักษณะทางกายภาพ (Tangibles) หรือ สวนที่สัมผัสได และรับรูไดทางกายภาพของ
ปจจัยการบริการ
53

สรุปจากการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวกับการบริการที่ลูกคาไดรับ เพื่อทราบถึงสิ่งที่ควรจะใชในการ
บริการผูบริโภความีปจจัยใดที่ผูบริโภคใหความสําคัญและตองจากการไดรับบริการและหลักการวัดผล
ที่ชัดเจนวาผูบริโภคมีความพึ่งพอใจกับการไดรับหรือไม

2.6 ทฤษฎีความตองการ (Need Theories)


ทฤษฎีลําดับความตองการ (Hierachy of Needs Theory)
เปนทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นโดย อับราฮัม มาสโลว (Abrahum Maslow) นักจิตวิทยาแหง
มหาวิทยาลัยแบรนดีส เปนทฤษฎีที่รูจักกันมากที่สุดทฤษฎีหนึ่ง ซึ่งระบุวาบุคคลมีความตองการ
เรียงลําดับจากระดับพื้นฐานที่สุดไปยังระดับสูงสุด กรอบความคิดที่สําคัญของทฤษฎีนี้มีสามประการ
คือ
1. บุคคลเปนสิ่งมีชีวิตที่มีความตองการ ความตองการมีอิทธิพลหรือเปนเหตุจูงใจตอ
พฤติกรรม ความตองการที่ยังไมไดรับการสนองตอบเทานั้นที่เปนเหตุจูงใจ สวนความตองการที่ไดรับ
การสนองตอบแลวจะไมเปนเหตุจูงใจอีกตอไป
2. ความตองการของบุคคลเปนลําดับชั้นเรียงตามความสําคัญจากความตองการพื้นฐาน ไป
จนถึงความตองการที่ซับซอน
3. เมื่อความตองการลําดับต่ําไดรับการตอบสนองอยางดีแลวบุคคลจะกาวไปสูความตองการ
ลําดับสูงขึ้นตอไป มาสโลวเห็นวาความตองการของบุคคลมี 5กลุมจัดเปน5ระดับจากระดับต่ําไปสูง
เพื่อความเขาใจมักจะแสดงลําดับของความตองการเหลานี้โดยภาพ ดังนี้

ภาพที่ 2.4: แสดงลําดับความตองการของมนุษยตามแนวคิดของมาสโลว

1. ความตองการทางรางกาย (Physiological Needs) เปนความตองการลําดับต่ําสุดและ


เปนพื้นฐานของชีวิต เปนแรงผลักดันทางชีวภาพ เชน ความตองการอาหาร นา อากาศ ที่อยู อาศัย
54

หากพนักงานมีรายไดจากการปฏิบัติงานเพียงพอ ก็จะ สามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยมีอาหารและที่พัก


อาศัย เขาจะมีกําลังที่จะทํางานตอไป และการมี สภาพแวดลอมการทํางานที่เหมาะสม เชน ความ
สะอาด ความสวาง การระบายอากาศที่ดี การ บริการสุขภาพ เปนการสนองความตองการในลําดับนี้
ได
2. ความตองการความปลอดภัย (Safety Needs) เปนความตองการที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่
ความตองการทางรางกายไดรับการตอบสนองอยาง ไมขาดแคลนแลว หมายถึงความตองการ
สภาพแวดลอมที่ปลอดจากอันตรายทั้งทางกายและจิตใจ ความมัน่ คงในงาน ในชีวิตและสุขภาพ การ
สนองความตองการนี้ตอพนักงานทําไดหลายอยาง เชน การประกันชีวิตและสุขภาพ กฎระเบียบ
ขอบังคับที่ยุติธรรม การใหมสี หภาพแรงงาน ความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เปนตน
3. ความตองการทางสังคม (Social Needs) เมื่อมีความปลอดภัยในชีวิตและมั่นคงในการ
งานแลว คนเราจะตองการความรัก มิตรภาพ ความใกลชิดผูกพัน ตองการเพื่อน การมีโอกาสเขา
สมาคมสังสรรคกับผูอื่น ไดรับการยอมรับเปน สมาชิกในกลุมใดกลุมหนึ่งหรือหลายกลุม
4. ความตองการทางสังคม (Social Needs) เมื่อมีความปลอดภัยในชีวิตและมั่นคงในการ
งานแลว คนเราจะตองการความรัก มิตรภาพ ความใกลชิดผูกพัน ตองการเพื่อน การมีโอกาสเขา
สมาคมสังสรรคกับผูอื่น ไดรับการยอมรับเปน สมาชิกในกลุมใดกลุมหนึ่งหรือหลายกลุม
5. ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) เมื่อความตองการทางสังคมไดรับการ
ตอบสนองแลว คนเราจะตองการสรางสถานภาพของ ตัวเองใหสูงเดน มีความภูมิใจและสรางการนับ
ถือตนเอง ชื่นชมในความสําเร็จของงานที่ทํา ความรูสึกมั่นใจในตัวเองแลเกียรติยศ ความตองการ
เหลานี้ไดแก ยศ ตําแหนง ระดับเงินเดือนที่สูง งานที่ทาทาย ไดรับการยกยองจากผูอื่น มีสว นรวมใน
การตัดสินใจในงาน โอกาสแหงความกาวหนา ในงานอาชีพ เปนตน
6. ความตองการเติมความสมบูรณใหชีวิต (Self-actualization Needs) เปนความตองการ
ระดับสูงสุด คือตองการจะเติมเต็มศักยภาพของตนเอง ตองการ ความสําเร็จในสิ่งที่ปรารถนาสูงสุด
ของตัวเอง ความเจริญกาวหนา การพัฒนาทักษะความสามารถ ใหถึงขีดสุดยอด มีความเปนอิสระใน
การตัดสินใจและการคิดสรางสรรคสิ่งตางๆ การกาวสูตําแหนง ที่สูงขึ้นในอาชีพและการงาน เปนตน
มาสโลวแบงความตองการเหลานี้ออกเปนสองกลุม คือ ความตองการที่เกิดจากความขาด
แคลน (Deficiency Needs) เปนความตองการระดับต่ํา ไดแกความตองการทางกายและความ
ตองการความปลอดภัย อีกกลุมหนึ่งเปนความตองการกาวหนาและพัฒนาตนเอง (Growth Needs)
ไดแกความตองการทางสังคม เกียรติยศชื่อเสียง และความตองการเติมความสมบูรณใหชีวิต จัดเปน
ความตองการระดับสูง และอธิบายวา ความตองการระดับต่ําจะไดรับการสนองตอบจากปจจัย
ภายนอกตัวบุคคล สวนความตองการระดับสูงจะไดรับการสนองตอบจากปจจัยภายในตัวบุคคลเอง
ตามทฤษฎีของมาสโลว ความตองการที่รับการตอบสนองอยางดีแลวจะไมสามารถเปน เงื่อนไขจูงใจ
55

บุคคลไดอีกตอไป แมผลวิจัยในเวลาตอมาไมสนับสนุนแนวคิดทั้งหมดของมาสโลว แต ทฤษฎีลําดับ


ความตองการของเขา ก็เปนทฤษฎีที่เปนพื้นฐานในการอธิบายองคประกอบของ แรงจูงใจ ซึ่งมีการ
พัฒนาในระยะหลังๆสรุปจากการศึกษาทฤษฎีความตองการของมนุษยเพื่อนํามาใชในการจัดสราง
โครงการธุรกิจที่พักรีสอรทและสิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญตอความตองการของผูบริโภคนํามาใช
เปนแนวคิดในการสรางนวัตกรรมใหมใหผูบริโภคเกิดความพึ่งพอใจ

2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยว
การทองเที่ยวเปนกิจกรรมอยางหนึ่งของมนุษย ซึ่งกระทําเพื่อผอนคลายความตึงเครียด จาก
กิจการงานประจํา โดยปกติการทองเที่ยวจะหมายถึง การเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ ง โดยไม
คํานึงวาระยะทางนั้นจะใกลหรือไกล และการเดินทางนั้นจะมีการคางแรมหรือไม
1. เดินทางจากที่อยูปกติไปยังที่อื่นเปนการชั่วคราวแตไมใชไปตั้งรกรากอยูประจํา
(temporary)
2. การเดินทางนั้นเปนไปดวยความสมัครใจ หรือความพึงพอใจของผูเดินทางเอง ไมใช เปน
การถูกบังคับ (Voluntary)
3. เปนการเดินทางที่ไมไดมีวัตถุประสงค เพื่อเขามาหารายได แตมาเพื่อการพักผอนหยอน
ใจ หรือเขามาเพื่อการศึกษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม หรือเขามาเพื่อประชุมสัมมนา องคการ
สหประชาชาติไดใหคํานิยามของการทองเที่ยวไววา หมายถึง กิจกรรมที่มีเงื่อนไขที่เกี่ยวของอยู 3
ประการคือ
3.1 ตองมีการเดินทาง
3.2 ตองมีสถานที่ปลายทางที่ประสงคจะไปเยี่ยมเยือน
3.3 ตองมีจุดมุงหมายของการเดินทางสําหรับจุดมุงหมายของการเดินทางเพื่อการ
ทองเที่ยวตองมิใชเพื่อการประกอบอาชีพ และไปอยูประจํา แตเปนไปเพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยาง
หนึ่งหรือหลาย ๆ อยางตอไปนี้ (โครงการศึกษาวิจัยจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม และสถาบันดํารงราชานุภาพกระทรวงมหาดไทย, 2541)
1.เพื่อพักผอนในวันหยุด
2.เพื่อวัฒนธรรมหรือศาสนา
3.เพื่อการศึกษา
4.เพื่อการกีฬาและบันเทิง
5.เพื่อชมประวัติศาสตรและความสนใจพิเศษ
6.เพื่องานอดิเรก
7.เพื่อเยี่ยมเยือนญาติมิตร
56

8.เพื่อวัตถุประสงคทางธุรกิจ
9.เพื่อเขารวมประชุมหรือสัมมนา
จากการศึกษางานวิจัยของ กรุณา เดชาติวงศ ณ อยุธยา (2537) ซึ่งมีนักวิจัยหลายทานได
อธิบายศัพท “การทองเที่ยว” (Tourism) ไววาเปนคําที่มีความหมายคอนขางกวางขวาง เพราะมิได
หมายความแตเฉพาะเพียงการเดินทางเพื่อพักผอนหยอนใจ หรือเพื่อความสนุกสนานบันเทิง เริงรมย
ดังที่คนสวนมากเขาใจกัน การเดินทางเพื่อการประชุมสัมมนา เพื่อศึกษาหาความรู เพื่อการ กีฬา เพื่อ
การติดตอธุรกิจ ตลอดจนการเยี่ยมเยียนญาติพี่นอง นับวาเปนการทองเที่ยวทั้งสิ้น
การทองเที่ยวเปนการนันทนาการ (Recreation) รูปแบบหนึ่งที่เกิดขึ้นระหวางเวลาวาง
(Leisure time) ที่มีการเดินทางเขามาเกี่ยวของ โดยเปนการเดินทางจากที่หนึ่ง ที่มักหมายถึงที่อยู
อาศัย ไปยังอีกที่หนึ่งที่ถือเปนแหลงทองเที่ยว เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศและสิ่งแวดลอม โดยมีแรง
กระตุนจากความตองการในดานกายภาพ ดานวัฒนธรรม ดานการปฏิสัมพันธ และดานสถานะหรือ
เกียรติคุณ (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2542)
จากการศึกษางานวิจัยของ ตุย ชุมสาย, ม.ล. (2527) ซึ่งมีนักวิจัยหลายทานใหคําจํากัด
ความเรื่องการทองเที่ยวไดดังนี้การทองเที่ยว (Tourism) หมายถึงเปนความสัมพันธเบ็ดเสร็จ และ
ปรากฏการณทั้งหลาย ทั้งสวนที่เกี่ยวโยงกับการพักอาศัยอยูอยางชั่วคราวของคนตางถิ่นที่พักอยูทั้งนี้
มีเงื่อนไขมิใชเปนการตั้งหลักฐานเพื่อประกอบอาชีพ เปนการชั่วคราว หรือถาวรทําใหเกิดผล กําไร
1. สิ่งดึงดูดใจ (Attraction) สิ่งดึงดูดใจเกิดจากการที่มนุษยมีประสาทสัมผัสที่ดีเยี่ยมเปน
ปจจัยสําคัญในการกระตุนใหมนุษยเกิดการรับรูใ นแหลงทองเทีย่ ว ประกอบกับในปจจุบันมีความ
เจริญทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ไดพัฒนาใหเกิดความกาวหนาทางดานการขนสง การสื่อสาร
สื่อมวลชนและสิ่งอํานวยความสะดวกในการเดินทาง สิ่งเหลานี้เปนปจจัยสําคัญใหมนุษยเกิดการ รับรู
และตองการทองเที่ยวมากขึ้น สิ่งดึงดูดใจในดานการทองเที่ยว มีองคประกอบที่สําคัญ 4 ประการ
ไดแก
1.1 แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติทุก ๆ พื้นที่ มีแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติที่
สวยงาม ประทับใจ ซึ่งเกิดจากลักษณะของธรรมชาติ เชน อาว แหลม เกาะ หนาผา โขดหิน
ภูมิอากาศ และ ความสวยงามตามธรรมชาติ ฯลฯ สภาพธรรมชาติเหลานี้เปนสิ่งดึงดูดใจใหมนุษย
เดินทางทองเที่ยว ไปยังสถานที่ทองเที่ยวตาง ๆ ภายใตเงื่อนไขของแหลงทองเที่ยวอาจเกิดขึ้นได 2
ประการคือ สถานที่นาสนใจ และเหตุการณนาสนใจ ในบางฤดูกาลจะมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ ขึ้น
เพื่อให สอดคลองกับประเพณี วัฒนธรรมของแตละทองถิ่น กิจกรรมนั้นก็กลายเปนเหตุการณที่
นาสนใจ ดึงดูดคนมาทองเที่ยว ภูมิอากาศ เปนสิ่งดึงดูดใจอยางหนึ่งในการทองเที่ยว และเปนมนต
ขลังเกิดความ ประทับใจ และกลับไปเยือนอีกครั้งที่ตั้งของแหลงทองเที่ยวเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งใน
การตัดสินใจเดินทางของ นักทองเที่ยว ถาที่ตั้งหางไกล และขาดสิ่งอํานวยความสะดวกในการเขาไป
57

ถึง ความตองการ เดินทางของประชาชนก็ลดนอยลง แมวาสถานที่ทองเที่ยวจะมีความประทับใจก็


ตาม
1.2 วัฒนธรรม วัฒนธรรมแตละพื้นที่คือ วิถีชีวิตของคนในเขตพื้นที่นั้น ๆ อาจ
เหมือนกัน หรือแตกตางกัน วัฒนธรรมอาจแสดงออกในรูปแบบของศาสนา สถานที่สําคัญทาง
ประวัติศาสตรวิถีชีวิตของประชาชน จารีตประเพณี ทั้งอดีตและปจจุบัน
1.3 ชาติพันธุ เหตุผลอยางหนึ่งในการเดินทางทองเที่ยวของประชาชนก็เพื่อตองการ
เยี่ยมเพื่อน และญาติมิตร คนมีความตองการที่จะกลับไปเยี่ยมเยียนแผนดินของตนเอง ในระยะแรก ก็
ตองการเยี่ยมญาติ การกระทําดังกลาวแลวในชวงอายุคนตอมา เมื่อญาติมิตร หางเหินออกไป ก็
กลายเปนประเพณีในการเดินทางมาเยี่ยมบานเกิดของบรรพบุรุษ เชนเดียวกับคนจีนในประเทศไทย
ตองการเดินทางไปเมืองจีน เหตุผลอยางหนึ่งคือ ตองการเยี่ยมเยียนมาตุภูมิเดิม
1.4 แหลงบันเทิง นักทองเที่ยวตองการเดินทางไปยังสถานที่ทองเที่ยว ก็เพราะมี
แหลง บันเทิง สําหรับพักผอนหยอนใจจัดไวให แหลงบันเทิง มิใชหมายถึง สถานเริงรมย ยามราตรี
เพียง อยางเดียว แตอาจหมายถึง สวนสัตว สวนสาธารณะ สนามกีฬา ฯลฯ แหลงบันเทิงที่ดีควรให
ประชาชนมีสวนรวมในกิจกรรมที่จัดขึ้นดวย มิใชเปนฝายนั่งชมเพียงอยางเดียว เชน ใหรวมกิจกรรม
กับการแสดงของสัตวซึ่งจัดขึ้นในสวนสัตว ซึ่งพิจารณาแลววาปลอดภัย
2. สิ่งอํานวยความสะดวก (Facilities) สิ่งดึงดูดใจทางดานการทองเที่ยวไดนําประชาชนไป
ยังแหลงทองเทีย่ ว เมื่อนักทองเที่ยวไปถึงสถานที่ดังกลาวแลว จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมี การ
อํานวยความสะดวก และบริการตาง ๆ เพราะวานักทองเที่ยวยามเดินทางหางไกลจากบาน ตองการ
สิ่งจําเปนหลายอยางในการตอบสนองความตองการของชีวิต สิ่งอํานวยความสะดวกที่ สําคัญในการ
ทองเทีย่ วมี 4 ประการคือ
2.1 ที่พัก (Lodging) เปนสิ่งสําคัญในเดินทาง นักทองเที่ยวอาจพักกับญาติ หรือ
เพื่อน แตอีกสวนหนึ่งก็ตองการที่พักซึ่งตองเชาอาศัยอยูชั่ว คราวในแหลงทองเทีย่ ว
2.2 รานอาหารและเครื่องดื่ม นักทองเที่ยวจะใชจายเปนคาอาหาร และเครื่องดื่ม
มากกวาปกติ เมื่อเดินทางทองเที่ยว การจัดอาหารในแหลงทองเที่ยว ตองมีทั้งอาหารประจําชาติ ของ
นักทองเที่ยวและอาหารทองถิ่น เพราะอาหารทั้งสองประเภทเปนสิ่งที่นักทองเที่ยวตองการ ใน
ปจจุบัน ธุรกิจรานอาหารไดขยายตัวอยางรวดเร็ว เพื่อตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว และ
ประชาชนในทองถิ่น
2.3 สถานบริการ เชน รายขายของที่ระลึก รานซักรีด สถานที่นันทนาการ ฯลฯ เปน
สิ่งสําคัญอยางหนึ่งในการอํานวยความสะดวกสบายใหแกนักทองเที่ยว ซึ่งแหลงทองเทียวตองจัดขึ้น
ใหเพียงพอกับความตองการ การลงทุนกิจกรรมดานนันทนาการบางอยางก็ลงทุนไมมากนัก จึง นับวา
58

เปนการสรางงานและการกระจายรายไดอยางหนึ่งใหแกบุคคลในทองถิ่นในดานรานขายของที่ ระลึก
นอกจากเปนการฟนฟูศิลปวัฒนธรรมแลว ยังเปนการสรางรายไดใหเกิดขึ้นแกประเทศชาติ ดวย
2.4 ปจจัยพื้นฐานทางการทองเที่ยว (Infrastructure) ที่สําคัญไดแก ระบบการ
สื่อสาร การคมนาคม สาธารณูปโภค ในแหลงทองเที่ยวมีความจําเปนอยางยิ่งทั้งนี้เพราะทําใหเกิด
ความ สะดวกในการจองที่พัก การติดตอกับครอบครัว ความสะดวกสบายในการเดินทาง ความ
เพลิดเพลิน ในการพักผอน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความประทับใจในการทองเที่ยว นอกจากอํานวยความ
สะดวกสบาย
3.การขนสง (Transportation) การทองเที่ยวเกิดจากการที่ประชาชนตองการเดินทาง ไปสู
สถานที่ซึ่งมีความแตกตางในดาน วัฒนธรรม ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ เพื่อสัมผัสสิ่งที่แปลก ออกไป
จากประสบการณเดิม ดังนั้น การขนสงจึงเปนสิ่งสําคัญในการนํานักทองเที่ยวไปยังแหลง ทองเที่ยว
อยางรวดเร็ว สะดวกสบาย และปลอดภัย การเดินทางของประชาชน มิไดวัดในรูปแบบ ของระยะทาง
แตวัดดวยเวลาของการเดินทางถึง แมวา ระยะทางจะไกล แตถาประหยัดเวลาในการ เดินทาง
ประชาชนก็พรอมที่จะเดินทางไปยังแหลงทองเที่ยว
4.การตอนรับ (Hospitality) เปนสิ่งสําคัญมาก ทั้งนี้เพราะนักทองเที่ยวที่ตองการกลับไปยัง
สถานที่เดิมเกิดจากความประทับใจในการต อนรับของประชาชน หรือพนักงานบริการในพื้นที่มากกวา
สภาพธรรมชาติของแหลงทองเที่ยว
สรุปจากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยว ไดทราบถึงการพัฒนาของการทองเที่ยวการ
ขยายเครือขายของการทองเที่ยวรวมถึงปจจัยสําคัญและสถานที่ที่ตอบสนองความตองการของ
ผูบริโภคเพื่อนําไปปรับใชและเปนความรูในการดําเนินธุรกิจประเภทที่พักรีสอรทตอไป

2.8 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและธรรมชาติ
จากแนวคิดของศ.นายแพทยอวยเกตุสิงหผูกอตั้งโรงเรียนอายุรเวททาน ศ.นายแพทยอวย เกตุ
สิงห ไดใหหลัก และแนวคิด ในการดําเนินชีวิต เปน แนวทางอยางนาสนใจคือการแพทยแผนไทยมี
ความแตกตางจากการแพทยแผนปจจุบัน ตรงที่การแพทยแผนไทย เนนการดูแล สุขภาพแบบองค
รวมไมแยกสวนแบบแผนปจจุบัน ดังนั้น การดูแลจึงเปนไปในทุกมิติ ไมเพียงแตเรื่องของรางกาย
ความเจ็บปวย แตจะพิจารณาถึงความเปนอยู อาหารการกิน การนอนหลับพักผอน การ ใช
ชีวิตประจําวันใน อิริยาบถ อยางไร รวมถึงภาวะ จิตใจ ความเศราโศก เสียใจ อารมณความรูสึกของผู
นั้น ประกอบดวย เพื่อวินิจฉัย ถึงสาเหตุของ การเกิดโรค สิ่งเหลานี้ทางการแพทยแผนไทย ให
ความสําคัญ พอพอกับการใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตร เพื่อตรวจวิ นิจฉัย พยาธิสภาพของผูปวย เมื่อ
เราจะดูแลสุขภาพของทุกคน ไมวาจะเจ็บปวย หรือไมเจ็บปวย การดูแลเนนการ บําบัดรักษา การ
ฟนฟู และที่สุด คือ การปองกัน ก็จะใชทฤษฎี การดูแลแบบองครวมเขามาเปนแนวทาง ในการปฏิบัติ
59

ยอมทําใหผูไดรับการดูแล มีความสุขทั้งในดานจิ ตใจ พรอมกับการบําบัดทางรางกายไปพรอมกัน คือ


รางกาย จิตใจ และสภาพแวดลอม การแพทยแผนไทยที่ไมแยกจิตออกจากกาย เปนการแพทย
องครวม และเปนวิถีชีวิตไทย วิชา ธรรมนามัย เปนวิชาที่วาดวยเรื่อง สุขภาพแบบองครวม ทั้งจิต กาย
และสิ่งแวดลอม ซึ่ง ศ.นพ. อวย เกตุสิงห เปนผูคิดคน ทานไดใหแนวคิดที่นาสนใจวา เราสามารถทํา
ใหการแพทยองครวมกลับคืนได โดยระบบวัฒนธรรมของเรา คือ ใชพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่นนํามา
ประยุกตใชไดคือหลัก3ประการหลักของวิชาธรรมนามัยไดแก
1. กายนามัย คือ การปองกันกอนปวย เมื่ ออายุเกิน 30 ปขน้ึ ไป ในทางการแพทยแผน
ไทยถือวาธาตุทั้ง 4 เสื่อจําเปนตองดํารงชีวิตดวยความไมประมาท คือ บํารุงชีวิตดวยอาหาร กินอยาง
มีสติ การกินที่จะมุงจรรโลงวิถีชีวิตอยางไร เพื่อไมใหเกิดความเจ็บปวดดวยการกินอยางพอดี กินใหถูก
กับโรค ใชหลักมัชฌิมาปฏิปทาในการกิน ตามทฤษฎีการแพทยแผนไทย คือ กินใหหลากหลายใน
รสชาติ กินปลาเปนหลัก กินผักเปนพื้น กินพอดีพออิ่ม นอกจากนี้ยังมีการออกกําลังกายแบบไทย คือ
การบริหารแบบไทยทาฤาษีดัดตนกายานามัยคือการปรับปรุงกายใหสมดุลในเรื่องของธาตุ 4คือดินน้ํา
ลมไฟ
2. จิตตานามัย เปนเรื่องการฝกจิต โดยใชการนั่งสมาธิเพื่อใหจิตเขมแข็ง จิตมีพลังเกิด
ปญญา เกิดความสุขสบายจะทําใหความตานทานโรคดีขึ้น มีพฤติกรรมที่สงเสริมสุขภาพ ไมตามใจ
ตัวเองดวยกิเลส และความอยาก คือ ตัณหา วัดจึงเปนที่พักจิตใจไดอยางดียิ่ง เปนที่ฝกจิต ฝกสมาธิ
การเขาหาธรรมะเปนทางออก เมื่ออยูในสถานการณที่บีบบังคับทางกายใจ หลัก ธรรมนามัยมิไดกีด
กั้นศาสนาอื่นเราสามารถใชหลักการพัฒนาจิตของศาสนาอื่นมาใชในขอนี้ได
3. ชีวิตานามัย คือ การดําเนินชีวิตชอบดานทางสายกลาง มีอาชีพสุจริต ผูที่มีอาชีพสุจริต
ยอมมีชีวิตที่มีความสุข ผูที่ดําเนินดวยทุจริต ยอมหวั่นไหวตลอดเวลา จิตไมสงบ มีความกังวลใจ ชีวิตา
นามัยจึงอยูในหลักธรรมะ ซึ่งทุกชาติทุกศาสนาลวนแตสอนใหคนปฏิบัติดี มีศีลธรรม คือ การดําเนิน
ชีวิตชอบ นอกจากนี้ยังรวมถึงการทําชีวิตใหอยูในธรรมชาติชอบ คือ การปรับธาตุ 4 ภายนอก สราง
สิ่งแวดลอมที่ดีงาม ดานการปลูกตอนไมไมผล หรือพืชกินได เพื่อนํามาทําเปนอาหาร ผูที่มีเวลาวาง
ควรปลูกตนไม เพื่อชวยกันสรางอาหารใหสังคมโลก ความชุมชื้น ความรมเย็นจะกลับคืนมา เราจึงควร
ดําเนินชีวิตที่มีสิ่งแวดลอมที่ดี และสะอาดของบานเรือน เครื่องแตงกายที่ สะอาด การขจัดสิ่งปฏิกูล
การดูแลแมน้ําลําธาร การปลูกตนไม และมีวิชาชีพที่เหมาะสมคือการดําเนินชีวิตชอบดวยหลักชีวิตา
นามัย
4. หลักของธาตุทั้งสี่ : รางกายของมนุษยกอกําเนิดจากธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ จิตคือ
นามธรรมที่จับตองไมได แตเรารูสึกไดดวยสัมผัสที่จับตองไมไดเชนกัน ดังนั้นจิตจึงเปนตัวกําหนด
พฤติกรรมของมนุษยที่มีสมองเปนตัวสั่งการ ดังนั้นการยอมสมรรถภาพของธาตุทั้งสี่จึงเกิดจาก
พฤติกรรมของมนุษยเปนหลัก
60

สรุปจากการศึกษาแนวคิดดานสุขภาพ ไดทราบถึงการดูแลสุขภาพที่ดีและสุขภาพที่ดีนั้นตอง
อาศัยปจจัยใดเพื่อนําใชประโยชนใหสอดคลองตอการดําเนินธุรกิจโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพที่ผูวิจัย
ไดดําเนินการศึกษา

2.9 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.9.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของในประเทศ
จารุลกั ษณ งามลักษณ (2540) ไดศึกษาปจจัยทางการตลาดที่มีผลตอการเลือกใชบริการ
โรงแรมในจังหวัดเชียงใหมมีวัตถุประสงคในการเขาพักโรงแรมไดแก ติดตอมาที่โรงแรมโดยตรง การ
สงเสริมการตลาดของโรงแรม แตสวนมากที่ใชในการตัดสินใจเขาพัก ไดแก การประชาสัมพันธ ของ
โรงแรม สือ่ โฆษณา การสงเสริมการขายที่ใชมากที่สุด คือ การลดราคาหองพัก สําหรับปจจัย ดาน
ผลิตภัณฑ ที่มีผลตอการเลือกใชโรงแรม ไดแก ทําเล ที่ตั้งไปมาสะดวก ความปลอดภัย พนักงาน
ใหบริการดี สถานที่จอดรถ ปจจัยดานการบริการ ไดแก สิ่งอํานวยความสะดวกภายใน หองพัก ความ
ปลอดภัย ปจจัยดานราคา ไดแก ราคาหองพัก ราคาคาอาหารและเครื่องดื่มสําหรับปญหาในการเขา
ใชบริการโรงแรมในจังหวัดเชียงใหมที่พบมากที่สุดไดแกราคาคาหองพักไมแนนอน รองลงมา ไดแก
สถานที่จอดรถไมเพียงพอ ราคาหองพักสูง ราคาคาอาหารและเครื่องดื่มสูง ตามลําดับ
เพ็ญศรี เจริญวานิช และสมจิตร จึงสงวนพรสุข (2540) ไดศกึ ษา การบริการของโรงแรมตอ
ผูใชบริการ ศึกษาเปรียบเทียบโรงแรมในประเทศ (หนองคาย) และในสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว (เวียงจันทร) ไดผลการวิจัยที่สําคัญดังนี้
1. พฤติกรรมการใชบริการโรงแรมตอผูใชบริการพบวาพฤติกรรมการใชบริการโรงแรมที่
หนองคายและเวียงจันทร คลายคลึงกัน กลาวคือ บริการดานหองพัก หองอาหาร และสถานบันเทิง
และการมาใชบริการในชวงของป และชวงเดือนที่ไมแนนอน แตนิยมมาใชบริการในวันสุดสัปดาห
2. มูลเหตุจูงใจและปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจใชบริการโรงแรม พบวามูลเหตุจูงใจใน
การใชบริการโรงแรมที่หนองคายและเวียงจันทรคลายคลึงกัน กลาวคือ ทําเลที่ตั้งสะดวกปลอดภัย
บรรยากาศดีราคาเหมาะสม และมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจใชบริการคลายคลึงกัน คือให
ความสําคัญมากในเรื่องบรรยากาศภายใน การบริการดี พนักงานกริยาวาจาสุภาพ และระบบความ
ปลอดภัยแตการตัดสินใจใชบริการโรงแรมเวียงจันทร ใหความสําคัญเรื่องความปลอดภัยมากกวา
3. เปรียบเทียบการใชบริการและระดับความพอใจในการใชบริการ พบวา คาเฉลี่ยจํานวน
ครั้งที่มาใชบริการไมแตกตางกัน มีการใชบริการคลายคลึงกัน คือ หองพัก หองอาหาร กลุม
ผูใชบริการมีอาชีพที่คลายคลึงกัน แตกลุมผูใชบริการโรงแรมแตกตางกัน โดยโรงแรมหนองคาย
ผูใชบริการเปนชาวไทยสวนโรงแรมเวียงจันทรเปนชาวตางประเทศที่ไมใชชาวลาว และเมื่อ
61

เปรียบเทียบและมีความพอใจใชบริการที่หนองคายมากกวาที่เวียงจันทร โดยเฉพาะเรื่องบรรยากาศ
ทําเลที่ตั้งและความปลอดภัย
กฤษฎิ กาญจนกิตติ์ (2541) ไดศกึ ษา ปจจัยที่มีผลตอการเลือกใชโรงแรมในอําเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา ชาวไทยใหความสําคัญตอปจจัยดานอัตราราคาหองพักเปน
ประการสําคัญในการเลือกใชบริการจากโรงแรม ขณะที่ชาวตางประเทศใหความสําคัญกับสภาพ
หองพักมากกวาปจจัยดานอื่น ปจจัยดานอายุของชาวไทยไมแตกตางกันในการใหความสําคัญตอ
ปจจัยดานอัตราคาหองพักในการเลือกใชโรงแรม สวนชาวตางประเทศที่อายุต่ํากวา 25 ป ให
ความสําคัญกับหองพักเปนปจจัยสําคัญที่สุด สวนกลุมอายุตั้งแต 25 – 55 ปและ 55 ปขึ้นไป ให
ความสําคัญกับสภาพหองพักเปนสําคัญยิ่งปจจัยทางดานอาชีพพบวาชาวไทยทุกประเภทให
ความสําคัญดานอัตราหองพักเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการเลือกใชโรงแรม สวนชาวตางประเทศมีความ
คิดเห็นแตกตางกันบางในบางกลุม อาชีพ เชน ผูที่ประกอบธุรกิจสวนตัว ใหความสําคัญกับสภาพหอง
เปนสําคัญ แตผูที่ทํางานประเภทรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ใหความสําคัญกับระบบความปลอดภัย สวน
กลุมอื่น ๆ ใหความสําคัญกับ ปจจัยดานอัตราหองพักเมื่อเลือกใชโรงแรม ปจจัยทางดานรายได พบวา
ชาวไทยทุกระดับรายไดตางใหความสําคัญดานอัตราหองพักสําคัญประการแรกสวนชาวตางประเทศที่
มีรายไดต่ํากวา 3,000 เหรียญสหรัฐฯ ตอเดือน ให ความสําคัญดานอัตราหองพักอันดับแรก สวนผูที่มี
รายไดมากกวา 3,000 เหรียญสหรัฐฯ ขึ้นไป เห็น ความสําคัญของสภาพหองพักมากกวาปจจัยอื่น
อัญมณี ขํากรม (2543) ไดศกึ ษา ปจจัยที่มีผลตอการเลือกใชบริการโรงแรมขนาดใหญผล
การศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเพศชาย อายุระหวาง 30 – 40 ป การศึกษาระดับปริญญาตรี
อาชีพขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ และรายได 10,000 – 20,000 บาท ปจจัยสวนประสมการตลาดที่มีผล
ตอการเลือกใชบริการโรงแรมขนาดใหญ ไดแก ดาน การบริการ ดานราคา ดานทําเลที่ตั้ง และดาน
การสงเสริมการตลาด เรียงตามลําดับ ดานการบริการที่มีผลตอการใชบริการในระดับมาก ไดแก
หองพักสะอาด สะดวกสบาย ที่จอดรถสะดวก กิริยามารยาทของพนักงาน มีบริการดานอื่น ๆ ครบ
ครัน และความหรูหราความ ทันสมัย ตามลําดับ
เทิดศักดิ เต็มทรัพยอนันต (2544) ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอลูกคาในการตัดสินใจ เลือกใช
บริการของโรงแรมกานตมณีพาเลส ผลการศึกษาพบวาในกลุมผูที่มาใชบริการของโรงแรมกานตมณี
พาเลสสวนใหญมาพักโรงแรมในขณะมาทําธุรกิจและดวยเหตุผลเพราะทําเลสถานที่ตั้งของโรงแรม
โดยเปนผูที่ใชบริการเพศชายมากกวาเพศหญิง และอายุในชวงวัยทํางานขึ้นไป ซึ่งจะมี อาชีพและ
รายไดที่มั่นคงและจะเปนพนักงานเอกชนและมีภูมิลําเนาอยูในตางจังหวัดเปนสวนใหญและผูมาใช
บริการมีความพึงพอใจตอปจจัยดานอาคารสถานที่หองพัก การบริการของพนักงานและราคาหองพัก
อยูในระดับมาก สวนดานโปรโมชั่นอยูในระดับปานกลางเทานั้น และความแตกตางใน กลุมอาชีพ
62

และรายไดก็มีผลตอความพึงพอใจปจจัยดานอาคารสถานที่หองพัก การบริการของพนักงาน ราคา


หองพักและแผนสงเสริมการตลาดโดยรวม
วิวัฒน จันทรกิ่งทอง (2547) ไดศกึ ษา การใหความสําคัญตอสวนประสมทางการตลาดของผู
เขาพักโรงแรม วัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับการใหความสําคัญตอสวนประสมทางการตลาดของผูเขา
พักโรงแรม ชาวไทยในจังหวัดสงขลา เพื่อเปรียบเทียบระดับการใหความสําคัญตอสวนประสมทาง
การตลาดของ ผูเขาพักโรงแรม ระหวางปจจัยสวนบุคคลคือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได
สถานภาพ ทางครอบครัว ภูมิลําเนาและตามปจจัยการเขาพักโรงแรม คือ วัตถุประสงคในการเดินทาง
พาหนะ ที่ใชในการเดินทาง จํานวนครั้งในการเขาพักตอป การเลือกเขาโรงแรมเดิม หรือเปลี่ยน
โรงแรม จํานวนคนที่เขาพัก จํานวนวันในการเขาพักและปญหาที่พบในการเขาพัก โรงแรม รวมถึง
ความตองการเพิ่มเติมในการเขาพักโรงแรมผูเขาพักโรงแรมมีระดับการใหความสําคัญตอสวนประสม
ทางการตลาดดานผลิตภัณฑ(Product) โดยใหความสําคัญกับสิ่งอํานวยความสะดวกในหองพัก
พนักงานของโรงแรมทําเลที่ตั้งที่จอดรถในระดับสูง เพศหญิงใหความสําคัญตอสวนประสมทาง
การตลาดดานผลิตภัณฑ คือ การบริการสิ่งอํานวย ความสะดวกในหองพักผูเขาพักโรงแรมที่มีรายได
สูงจะใหความสําคัญตอสวนประสมทางการตลาดดานผลิตภัณฑคือสิ่งอํานวยความสะดวกในหองพักที่
เพียบพรอม และสะดวกสบาย การบริการที่ดีจากพนักงานของโรงแรมทําเลที่ตั้งของโรงแรมมากกวาผู
เขาพักที่มีรายไดนอยผูเขาพักในหองพักที่มีราคาสูงจะใหความสําคัญกับการบริการตางๆ ของโรงแรม
สิ่งอํานวย ความสะดวกในหองพักสิ่งอํานวยความสะดวกภายในบริเวณโรงแรมปญหาในการเขาพัก
โรงแรมเกี่ยวกับความสะอาด และสิ่งอํานวยความสะดวกภายในหองพัก พบวาหองพักในโรงแรม
จํานวนมากบริเวณหองพักและหองนา โดยเฉพาะพื้นหองจะมีคราบสกปรก ติดอยูภายในหองพักจะมี
กลิ่นอับของใชภายในหองพัก เชน ผาเช็ดตัว ผาปูที่นอน ปลอกหมอนยัง มีคราบสกปรก และมีกลิ่น
อับ สวนสิ่งอํานวยความสะดวกภายในหองพัก เชน ทีวี ตูเย็น พัดลม เครื่องทํานาอุน มีความชํารุดไม
สามารถใชงานได ในเรื่องของความสะอาด ถึงแมวา ทางโรงแรมจะมีแมบา นในการทําความสะอาด
หองพักและซักผาแลวก็ตาม ผูประกอบการโรงแรมควรมีการตรวจเช็ค ความสะอาด และสิ่งอํานวย
ความสะดวกภายในหองพักอยางสม่ําเสมอใหพรอมสําหรับการใชงานม ความแข็งแรง และดูใหม
อาจจะทาสีฝาผนัง ทัง้ ในและนอกโรงแรม รวมถึงปูกระเบื้องพื้นใหมทั้งใน บริเวณโรงแรมและ
ภายนอกหองพัก หรืออาจจะปูดวยพรม เพื่อใหเกิดความสวยงามแกผูพบเห็น ทําใหเห็นถึงความใหม
และสะอาดยิ่งขึ้น
กอพงษ บุญยการ (2550) พฤติกรรมและปจจัยในการตัดสินใจของนักทองเที่ยวในการ
เลือกใชบริการที่พักใน อําเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ จากผลการศึกษาในสวนของขอมูล
ทั่วไปและพฤติกรรมของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญพบวาโดยสวนมากกลุมตัวอยางจะมีการเลือกที่
พักโดยสอบถามจากคนรูจักหรือเพื่อนมากที่สุดดังนั้นผูประกอบธุรกิจหรือผู บริหารโรงแรมจึงนาจะให
63

ความสําคัญกับความประทับใจของผูเขาพักมากขึ้น ผลการศึกษาทางดานปจจัยที่มีอิทธิพลตอการ
เลือกใชบริการโรงแรม พบวาปจจัยทางดานการบริการเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชบริการที่
พักของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวในอําเภอปราณบุ รี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ดังนั้น
ผูประกอบการสถานที่พักจึงตองใสใจกับการใหบริการนักทองเที่ยวเพื่อสรางความพึงพอใจใหแก
นักทองเที่ยวและทําใหเกิดการยอนกลับมาทองเที่ยวที่ปราณบุรีอีก ผลการศึกษาทางดานปจจัยที่มี
อิทธิพลตอการเลือกใชบริการโรงแรม พบวาป จจัยดานการสงเสริมการขาย เปนปจจัยที่ผูประกอบการ
ธุรกิจสถานที่พักควรใหความสนใจ เนื่องจาก แหลงทองเที่ยวที่ปราณบุรีนั้นก็มีความสวยงาม เมื่อ
เปรียบเทียบกับแหลงทองเที่ยวอื่นๆในพื้นที่ใกลเคียง เชน ชะอํา หัวหิน เปนตน ซึ่งหากผูประกอบการ
ธุรกิจสถานที่พักมีแผนการตลาดดานการสงเสริมการขายที่ดี จะทําใหนักทองเที่ยวสนใจที่จะมา
พักผอนที่ปราณบุรีมากขึ้น ผลการศึกษาในดานความพึงพอใจของนักทองเที่ยว พบวา นักทองเที่ยวมี
ความพึงพอใจดานของฝากและของที่ระลึกในระดับนอย หนวยงานที่เกี่ยวของจึงควรคิดคนหา
ผลิตภัณฑที่เปนเอกลักษณของปราณบุรี ในสวนของความสะอาดของสถานที่ทองเที่ยว และดานการ
บริการตางๆภายในอําเภอปราณบุรี ที่มีระดับความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง ดังนั้น หนวยงาน
ราชการจึงควรเขามาปรับปรุงดานตางๆขางตน เพื่อที่จะทําใหระดับความพึงพอใจโดยรวมของ
นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น
โชติพัฒน ศรีธนิตเกียรติ (2548) พฤติกรรมการเลือกใชบริการโรงแรมของนักทองเที่ยวชาว
ไทยในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ผูใชบริการโรงแรมจะเลือกเขาพักในโรงแรมใดสวนใหญจะทําการ
สอบถามจากคนรูจักหรือเพื่อนกอนที่จะทําการเลือกโรงแรม ทางดานอินเตอรเน็ ตหรือเว็บไซตนั้นจะมี
ผลตอผูอยูในชวงอายุากว
ต า 40 ปเปนเพราะเทคโนโลยีที่เพิ่งเขามาไดไมนานทําให ผูที่มีอายุ 41 ปขึ้น
ไปไมคอยมีความรูในการใชอินเตอรเน็ตจึงไมมีการเลือกเขาพักโรงแรมโดยวิธีนี้ และเปนที่นาสังเกตอีก
วาชวงอายุที่เลือกโรงแรมจากบริษัทนําเที่ยวเปนชวงอายุประมาณ 41 – 50 ป ขึ้นไป เปนเพราะคน
กลุมนี้นิยมมาทองเที่ยวจังหวัดเชียงใหมเปนหมูคณะโดยการซื้อแพกเกจทัวร จากบริษัทนําเที่ยวเปน
สวนมาก
วรรัช จันทรภัทร (2547) ไดทําการศึกษาถึงพฤติกรรมการเลือกใชบริการโรงแรมของ
นักทองเที่ยวชาวตางประเทศ ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม จากการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวชาว
ตางประเทศมีวัตถุประสงคในการเดินทางมายังจังหวัดเชียงใหม เพื่อการทองเที่ยว หรือพักผอนมาก
ที่สุดคือรอยละ 70 และเคยมาจังหวัดเชียงใหมมากกวา 1 ครั้งคิดเปนรอยละ 52 สวนปจจัยที่มี
อิทธิพลตอการเลือกใชบริการโรงแรมของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศพบวารายไดเฉลี่ยตอเดือน มี
อิทธิพลตอการเลือกใชบริการโรงแรมของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ
คือ ถารายไดเฉลี่ยตอเดือนเพิ่มขึ้น มีโอกาสทําใหการเลือกใชบริการโรงแรมที่มีระดั บราคาตั้งแต
1,000 บาทขึ้นไปของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศเพิ่มขึ้นเชนเดียวกับปจจัยทางดานการตกแตงที่มี
64

อิทธิพลตอการเลือกใชบริการโรงแรมที่มีระดับราคาตั้งแต 1,000 บาทขึ้นไป ณ ระดับนัยสําคัญทาง


สถิติ ซึ่งเปนไปตามที่สมมติฐานตั้งไว สวนระยะเวลาหรือจํานวนวัน ในการเขาพักโรงแรมที่ลดลง มี
โอกาสทําใหการเลือกใชบริการโรงแรมที่มีระดับราคาตั้งแต 1,000 บาทขึ้นไปของนักทองเที่ยวชาว
ตางประเทศเพิ่มขึ้น ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ และปจจัยดานราคาหองพักที่เพิ่มขึ้น มีโอกาสทําให
การเลือกใชบริการโรงแรมที่มีระดับราคาตั้งแต 1,000 บาทขึ้นไปของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ
ลดลง ณ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ
เอกรัฐ วงศวีระกุล (2553) ปจจัยการตัดสินใจเลือกใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับธนาคาร
พาณิชย ของคนทํางานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง
20-39 ป มีสถานภาพสมรส / อยูดวยกัน มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเปนพนักงาน
บริษัทเอกชน มีสถานที่ทํางานอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และรายไดเฉลี่ยตอเดือน ต่ํากวา
15,000 บาท กลุมตัวอยางสวนใหญ มีประเภทที่อยูอาศัยคือทาวนเฮาส , ทาวนโฮม มีราคาที่อยู
อาศัยต่ํากวา 1 ลานบาท มีวัตถุประสงคในการถือครองที่อยูอาศัยเพื่ออยูอาศัยเทานั้น มีวัตถุประสงค
การขอสินเชื่อเพื่อซื้อ สิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนโดยรอบที่อยูอาศัยที่จําเปน คือ สถานศึกษา,
ตลาดสด , หางสรรพสินคา / รานสะดวกซื้อ และสถานีรถประจําทาง มีการรั บรูขอมูลขาวสารสินเชื่อ
เพื่อที่อยูอาศัยจากสื่อโทรทัศนมากที่สุด และปจจุบันไมไดใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับธนาคาร
พาณิชย
ผลการวิเคราะหปจจัยการตัดสินใจเลือกใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับธนาคารพาณิชยพบวา
โดยรวมอยูในระดับที่มีผลตอการตัดสินใจมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูตอบแบบสอบถามให
ความสําคัญมากที่สุด คือวงเงินกูสูงสุดที่ธนาคารใหได รองลงมาคืออัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการผอน
ชําระ การใหบริการที่ดีของพนักงาน ความรวดเร็วในการดําเนินการ คาธรรมเนียมในการใหบริการ
การสนับสนุนวงเงินอื่นๆ การไมบังคับทําประกันคุมครองเงินกู ความสะดวกในการติดตอกับธนาคาร
และสื่อประชาสัมพันธ กลุมตัวอยางที่มี เพศ อายุ สถานภาพ ที่แตกตางกัน มีปจจัยการตัดสินใจ
เลือกใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับธนาคารพาณิชยไมแตกตางกัน กลุมตัวอยางที่มี ระดับการศึ กษา
อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน ที่แตกตางกัน มีปจจัยการตัดสินใจเลือกใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับ
ธนาคารพาณิชยแตกตางกัน กลุมตัวอยางที่มี ประเภทที่อยูอาศัย ราคาที่อยูอาศัย วัตถุประสงคในการ
ถือครองที่อยูอาศัย และวัตถุประสงคในการขอสนับสนุนสินเชื่อ ที่แตกตางกัน มีปจจัยการตัดสินใจ
เลือกใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับธนาคารพาณิชยไมแตกตางกัน
2.9.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของตางประเทศ
Kang (2004) ทําการศึกษาเรื่องคุณภาพบริการ และ ผลกระทบของคุณภาพบริการที่มีตอ
ความพึงพอใจและ พฤติกรรมความตัง้ ใจของผูใ ช บริการ : กรณีศกึ ษาโรงแรมและเรียวกัง (โรงแรม
แบบดั้งเดิม) ในญี่ปุนพบวาคุณภาพบริการที่นักทองเที่ยวรับรูมีอิทธิพลมาจากประเภทของที่พัก (ใน
65

ที่นี้ไดแกที่พักประเภทโรงแรมและที่พักประเภทเรียวกังซึ่งแบงยอยตามระดับราคาเขาพักตอคืน ) และ
ปจจัยหลักที่ผลกระทบตอความพึงพอใจและพฤติกรรมความตั้งใจของผูใชบริการมากที่สุดมี 4 ดาน
ไดแก
1) ดานกายภาพ (Physical Aspect )
2) ผลของการติดตอและความสัมพันธที่เกิดขึ้น (Contact Performance)
3) ผลของบริการที่ไดรับจริงจากพนักงาน (Encounter Performance)
4) ความคิดริเริ่มสรางสรรค (Creativeness)
ปจจัยที่สําคัญที่สุดไดแกปจจัยดานกายภาพในที่นี้หมายถึงลักษณะที่พักแบบพิเศษ คือการ
พักแรมเพียงคืนเดียว (one-night stay) โดยปจจัยทั้ง 4 ดานนี้สามารถอธิบายความพึงพอใจไดถึง 87
เปอรเซ็นต ซึ่งเปนที่นาสนใจวาในการศึกษานี้ปจจัยดา นคุณภาพบริการที่สงผลกระทบอยางมากตอ
ความพึงพอใจของผูใชบริการลวนเปนปจจัยในมิติของผลที่ตามมาจากการไดรับบริการ นอกจากนี้
Sung-sook Kang และคณะ ยังทําการศึกษาความสัมพันธระหวางความพึงพอใจในคุณภาพบริการ
โดยรวมกับ การบอกเลาตอใหผูอื่น (Word of mouth) กับความตั้งใจในการกลับมาใชบริการ พบวา
ความพึงพอใจโดยรวมมีความเกี่ยวของอยางมากในการที่ผูใชบริการจะนําไปบอกตอใหผูอื่นและการ
กลับมาใชบริการซ้ําอีก
Fernandez & Bedia (2004) ทําการศึกษาวา ระบบการแบงระดับของโรงแรมเปนตัวบงชี้
ถึงคุณภาพของโรงแรมหรือไม (กรณีศกึ ษาในสเปน) ในการศึกษานี้ทําการวิเคราะหวาการแบงระดับ
ขั้นโรงแรมตามระบบการแบงดาวนั้นสามารถเปนตัวบงชี้ ถึงระดับคุณภาพบริการของโรงแรมไดจริง
หรือไม ผูวิจัยทําการศึกษาคุณภาพบริการของโรงแรมในสเปน 5 กลุมตามระดับดาว (1 ดาว ถึง 5
ดาว) โดยใชเครื่องมือ SERVQUAL ในการวัดคุณภาพบริการของโรงแรมในแตละกลุม จากการศึกษา
พบวาคุณภาพบริการไมไดหมายความวาจะตองหรูหรา แตคุณภาพบริการเกี่ยวของกับการจัดหา
บริการที่ลูกคาตองการใหไดนอกจากนี้ยังพบวาระดับคุณภาพบริการไมไดสัมพันธกับระดับขั้นของ
โรงแรมเลย ซึง่ ในกลุม โรงแรมทุกระดับทําการศึกษา โรงแรม 1 ดาวเปนกลุมโรงแรมที่สามารถ
ใหบริการที่เกินความคาดหวังมากที่สุด (Exceeded Expectation) โดยระดับของคุณภาพบริการที่วัด
ไดในกลุม 1 ดาวนี้ ยังมีระดับสูงกวาโรงแรมในกลุมอื่นๆอยางมีนัยสําคัญอีกดวยโดยสรุปแลวผลของ
การศึกษาแสดงใหเห็นวาระดับคุณภาพบริการของโรงแรมไมได สัมพันธกับการแบงกลุมโรงแรมตาม
ระดับดาวเลย
Lau (2005) ทําการศึกษาเรื่องคุณภาพบริการของโรงแรมระดับ 4 และ 5 ดาวในมาเลเซีย
โดยนําเครื่องมือ SERVQUAL ที่ปรับปรุงแลวมาใช เพื่อศึกษาวามสัมพันธระหวางระดับความพึงพอใจ
โดยรวมของผูใชบริการโรงแรมและปจจัยที่สงผลตอคุณภาพบริการทั้ง 5 ดานของ SERVQUAL ซึ่งผล
จากการวิจัยพบวาการรับรูคุณภาพบริการของผูใชบริการโรงแรมระดับ 4 และ 5 ดาวในมาเลเซียยัง
66

ต่ํากวาระดับความคาดหวังในคุณภาพบริการ และชองวางระหวางความคาดหวังในคุณภาพบริการ
ของลูกคาผูมาใชบริการโรงแรมกับการรับรูคุณภาพบริการ ยังตางกันอยางมีนัยสําคัญ
บทที3่
ระเบียบวิธีวิจัย

ในการจัดสรางรีสอรทเพื่อสุขภาพ (Mush Clay House Resort) ผูวิจัยกําหนดแนวทาง


การศึกษาโดยการใชการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจาก
การศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของการสัมภาษณผูประกอบการดานการทํา ธุรกิจที่พัก และวิจัยเชิง
ปริมาณ (Quantitative Research) โดยใชแบบสอบถามในการเก็บขอมูลดังนี้
การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เปนการวิจัยที่ใชขอมูลเปนตัวเลขและวิธีการ
ทําสถิติเพื่อวิเคราะหขอมูล (Statistical Analysis) การวิจัยประเภทนี้มักใชตัวเลขหรือสถิติ ยืนยัน
แสดงผลการวิจัยในเชิงปริมาณวามีคามากนอยเพียงใดหรือเปนจํานวนเทาไรเพื่ออธิบายสิ่งที่ตองการ
ศึกษาคือ วิจัยเชิงปริมานในดานการทองเที่ยวและการทํารีสอรท การศึกษาพฤติกรรมในการตัดสินใจ
เลือกที่พักและการใสใจดูแลสุขภาพสํารวจความคิดเห็น ทัศนคติ หรือความพึงพอใจของนักทองเที่ยว
ในเรื่องตางๆ
การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เปนการวิจัยที่ใชขอมูลที่ไดมาจาก การ
สัมภาษณ การสนทนา การสังเกต หรือการจดบันทึก เพื่อมาอธิบายปรากฏการณ เหตุการณ หรือ
สภาพแวดลอมตางๆ ทางสังคม ขอมูลของการวิจัยไม เปนตัวเลขหรือสถิติ แตจะเปนลักษณะของการ
อธิบายหรือบรรยายสิ่งที่ตองการศึกษา ในดานการทําธุรกิจประเภทนี้และดานการบริการตางๆจาก
ผูประกอบการและผูที่มีความรูและประสบการณในธุรกิจที่ศึกษา เพื่อนํามาวิเคราะหรวมกับแนวคิด
และทฤษฎีตางๆรวบรวมมาเปนแนวทางในการในการทําธุรกิจ “รีสอรทเพื่อสุขภาพ” (Mush Clay
House Resort) ไดอยางสอดคลองและสามารถสรางเพื่อดําเนินธุรกิจไดจริงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว
โดยลายละเอียดของระเบียบการวิจัยสามารถแบงออกไดดังนี้
3.1ประชากรในการวิจัย
3.2กลุมตัวอยางและขนาดตัวอยาง
3.3เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
3.3.1 แบบสอบถาม
3.3.2 แบบสัมภาษณ
3.4 วิธีการเก็บขอมูล
3.4.1 ขอมูลที่ใชในการประกอบการศึกษา
3.4.2 วิธีการเก็บขอมูล
3.4.3 การวิเคราะหขอมูล
68

3.1 ประชากรในการวิจัย
ประชากร (Population) ที่กําหนดสําหรับการศึกษาทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากประชากร
คือ นักทองเที่ยวที่เดินทางมา เขาใหญ ซึ่งไมทราบจํานวนประชากรที่แนนอน

3.2 กลุมตัวอยางและขนาดตัวอยาง
นักทองเที่ยวระดับพรีเมียมที่เขาพักทีโ่ รงแรมในเขาใหญ ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ
ในชวงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2557 จํานวน 385 คน ซึ่งสามารถกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง โดยใช
สูตรกําหนดตัวอยาง สูตร Cochran (1953) ดังนี้

p(1 − p)z 2
สูตร n=
d2

n แทน จํานวนกลุมตัวอยางที่ตองการ
P แทน สัดสวนของประชากรที่ผูวิจัยตองการ (0.5)
Z แทน ความมั่นใจที่ผูวิจัยกําหนดไวที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ
Z แทน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 มีคาเทากับ 1.96 (มัน่ ใจ 95%)
d แทน สัดสวนของความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหเกิดขึ้นได (0.05)
แทนคาในสูตร
0.5(1 − 0.5)(1.96) 2
n =
( 0.05) 2

n = 0.25( 3.8416)
0.0025
n = 0.9604
0.0025
n = 384.16 ~ n = 385
ดังนั้นจึงใชกลุมตัวอยางจากนักทองเที่ยวที่เดินทางมา เขาใหญ ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ
385 ตัวอยาง
69

3.3 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล คือ แบบสอบถามคือใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถามเปน
รายบุคคลเพื่อทําใหทราบขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเขาใหญ โดย
เนื้อหาประกอบดวย 4 สวน ดังนี้
3.3.1 แบบสอบถาม (Questionnaire Method)
สวนที่1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ สัญชาติ ระดับการศึกษา
รายไดเฉลี่ยตอเดือน และวัตถุประสงคในการใชบริการลักษณะแบบสอบถามแบบปลายปด ชนิดตอบ
เพียงคําตอบเดียว
สวนที่2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยสวนผสมทางการตลาดของธุรกิจรีสอรทที่พักในเขาใหญ
ประกอบดวย ดานผลิตภัณฑ ดานราคา ดานสถานที่การใหบริการ ดานสงเสริมการตลาด เปน
คําถามปลายปดแบงเปนขอมูลใหผูตอบคําถามตอบเพียงคําตอบเดียวและใช การวัดระดับความ
คิดเห็น ดังนี้
คะแนน 1 หมายถึง นอยที่สุด
คะแนน 2 หมายถึง นอย
คะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 4 หมายถึง มาก
คะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด
สวนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยสวนผสมทางการตลาดที่ผลตอการเลือกใชบริการรี
สอรทเพื่อสุขภาพ (Mushroom clay house resort ) ประกอบดวย ดานผลิตภัณฑ ดานราคา
ดานสถานที่การใหบริการ ดานสงเสริมการตลาด เปนคําถามปลายปดแบงเปนขอมูลใหผูตอบคําถาม
ตอบเพียงคําตอบเดียวและใช การวัดระดับความคิดเห็น ดังนี้
คะแนน 1 หมายถึง นอยที่สุด
คะแนน 2 หมายถึง นอย
คะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 4 หมายถึง มาก
คะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด
สวนที่4 เปนคําถามปลายเปด ไดแก ขอเสนอแนะใหแสดงความคิดเห็น
3.3.2 ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ
การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ไดสราง แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งได
ดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้
70

1. ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของรวมทั้งหลักการ และวิธีการสรางแบบสอบถามเพื่อการ
วิจัย ตลอดจนกําหนดกรอบแนวความคิดการวิจัย โดยไดรับคําแนะนําจากอาจารยที่ปรึ กษา
2. ศึกษาขอมูลจากหนังสือ เอกสาร บทความและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อนํามาใชเปน
แนวทางในการสรางขอคําถาม
3. กําหนดประเด็นและขอบเขตของคําถามใหมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคแนวคิดและ
ทฤษฎีที่ใชในงานวิจัย
4. ดําเนินการสรางแบบสอบถามฉบับรางนําแบบสอบถามที่สรา งขึ้นเสนอกับอาจารยที่
ปรึกษาเพื่อตรวจสอบและเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อนําไปปรับปรุงในสวนที่ยังไมสมบูรณ
5. ทําการปรับปรุงแบบสอบถามใหสมบูรณตาม ที่อาจารยที่ปรึก ษาไดเสนอแนะนํา
แบบสอบถามที่ไดปรับปรุงแกไขเรียบรอยแลวไปใหผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา
(Content Validity) ปรังปรุงแบบสอบถามตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญนําเสนออาจารยที่ปรึกษา
เพื่อทําการตรวจสอบอีกครั้งแลวนํามาแกไขใหสมบูรณกอนนําไปใชในการเก็ บรวบรวมขอมูลตอไป
6. นําแบบสอบถามที่ผานการปรับปรุงแกไขตามที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะแลวทดลองใช (Try-
out) กับกลุมที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยางที่จะศึกษา จํานวน 30 คน โดยนําแบบสอบถามที่
ผานการวิเคราะห จําแนกแลวมาวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยหา สัมประสิทธิ์อัลฟา
ของครอนบัด (Cronbach’s alpha coefficient) การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือผูวิจัยไดนํา
แบบสอบถามที่สรางขึ้น
7. ผลการทดสอบการหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของมาตรวัด มีคาเทากับ 0.842 > 0.70
ซึ่งเกินเกณฑจึงนําแบบสอบถามนําไปจัดพิมพเพื่ อใชเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล จึงนํา
แบบสอบถามไปใชในการศึกษากับกลุมตัวอยางจริง จํานวน 385 ตัวอยาง
3.3.3 แบบสัมภาษณ (Interview Method)
การสัมภาษณเปนการเก็บรวบรวมขอมูลแบบเผชิญหนา (Face-to-face Contract) อาศัย
การสนทนาซักถามระหวางผูสัมภาษณและผูถูกสัมภาษณ โดยใชวิธีการสัมภาษณโดยใชแบบ
(Structured Interview) เปนการสัมภาษณตามแบบที่ไดสรางขึ้นไวลวงหนาเรียบรอยแลว โดยจะ
สัมภาษณบุคคลที่เปนเจาของธุรกิจประเภทเดียวกัน

3.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
3.4.1 ขอมูลที่ใชในการประกอบการศึกษา จําแนกออกเปน 2 ประเภท
3.4.1.1 ขอมูลปฐมภูมิ เปนขอมูลที่ไดจากการสํารวจและสัมภาษณกลุมตัวอยางใน
พื้นที่โดยใชแบบสอบถาม เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล
71

3.4.1.2 ขอมูลทุติยภูมิ เปนขอมูลที่ไดจากหนังสือ เอกสาร วารสาร บทความทาง


วิชาการ งานวิจัยตางๆ และขอมูลทางอินเตอรเน็ต
3.4.2 วิธีเก็บรวบรวมขอมูล
3.4.2.1 ศึกษาและรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับศักยภาพและกลยุทธสวนประสมทาง
การตลาดทองเที่ยว และคุณภาพการใหบริการจากตําราเอกสารงานวิจัย รายงานบทความทาง
วิชาการ และระบบอินเตอรเน็ต
3.4.2.2 การเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม (Questionnaire) ผูศึกษานํา
แบบสอบ ถามที่สรางขึ้นไปเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางที่ตองการศึกษา โดยขอหนังสือจากคณะ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เพื่อแนะนําผูศึกษาและวัตถุประสงคในการศึกษาครั้งนี้ จากนั้นนําแบบสอบถาม
ใหกลุมตัวอยาง โดยอธิบายวัตถุประสงคและวิธีการทําแบบสอบถามใหชัดเจนเพื่อความสมบูรณของ
คําตอบ
3.4.2.3 นําเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลออกใชสํารวจโดยคณะผูทําการวิจัยดวย
ตนเองโดยใชวิธีการสุมแบบบังเอิญ
3.4.2.4 นําแบบสอบถามที่รวบรวมจากกลุมตัวอยางทั้งหมด มาตรวจสอบความ
เรียบรอยวาคําตอบมีความสมบรูณทุกขอ
3.4.2.5 นําแบบสอบถามที่ไดมาวิเคราะหในขั้นตอนตอไปดวยโปรแกรม
คอมพิวเตอร
3.4.3 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลในครั้งนี้เปนการใชเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถามและนํามาวิเคราะหขอมูล เมื่อรวบรวมขอมูล ตรวจสอบความถูกตอ ง
และลงรหัสเรียบรอยแลว จึงนําไปประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสํา เร็จรูป
SPSS (Statistical Package for Social Science) เพื่อคํานวณหาคาทางสถิติที่ตองการ ดังนี้
3.4.3.1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของนักทองเที่ยวที่เดินทางมายังเขาใหญ
3.4.3.2 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมและการใชบริการที่สงผลตอปจจัย
ทางดานการตลาดที่เหมาะสมโดยใชสถิติคา ความถี่ คาสถิติรอยละ ลําดับ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน

3.5 เกณฑการแปลคาความหมาย
เกณฑการแปลคาความหมายคาเฉลี่ยในการศึกษานี้ ใชการแปลคามาตรวัดแบบลิเคิรท
(Likert) มีคําตอบใหเลือก 5 ระดับ กําหนดเกณฑในการประเมินคาคะแนนที่ไดจากคําตอบตาม
สัดสวนการประมาณ โดยมีระดับการตัดขอมูลเปนแบบมาตรวัดอันตรภาค หรือชวง (Interval
Scale) ที่มีคําถามเชิงนิยมหรือมีความหมายในเชิงบวก (Positive) โดยมีสูตร ดังนี้
72

Rang ( R)
Interval ( I ) = Class (C )

เมื่อ R แทน คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 5-1


C แทน จํานวนชั้น = 5
แทนคาตัวแปรในสูตรดังนี้

Interval ( I ) = 5–1 = 0.8


5
ระดับคะแนน การแปลความหมาย
ระดับคะแนน 5 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด
ระดับคะแนน 4 หมายถึง เห็นดวยมาก
ระดับคะแนน 3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง
ระดับคะแนน 2 หมายถึง เห็นดวยนอย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด

สําหรับการแปลความหมายนั้น แปลความหมายจากคาเฉลี่ย 5 ระดับ


ระดับคะแนนเฉลี่ย การแปลความหมาย
คาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด
คาเฉลี่ย 3.41 - 4.20 หมายถึง เห็นดวยมาก
คาเฉลี่ย 2.61 - 3.40 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง
คาเฉลี่ย 1.81 - 2.60 หมายถึง เห็นดวยนอย
คาเฉลี่ย 1.00 - 1.80 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด

3.6 เกณฑการทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐาน H0 : µ1 = µ2
H1 : µ1 ≠ µ2
< 0.05 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05
Sig. = มีนัยสําคัญทางสถิติ
73

ไม Sig. = ไมนัยสําคัญทางสถิติ


การทดสอบสมมติฐานใชสถิติเชิงปริมาณหาของตัวแปรที่กําหนดโดยสถิติ ที่ใชทดสอบคือ
สถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับนัยสําคัญ α (อัลฟา) เทากับ 0.05 ถาคานัยสําคัญที่
คํานวณไดมีคานอยกวา 0.05 จะปฏิเสธสมมติฐานที่ H0 และยอมรับสมมติฐานที่ H1 หรือเกิด
นัยสําคัญทางสถิติ (Sig.) ถาคานัยสําคัญที่คํานวณไดมีคามากกวา 0.05 จะยอมรับสมมติฐาน H0 และ
ปฏิเสธสมมติฐาน H1 หรือไมเกิดนัยสําคัญทางสถิติ (ไม Sig.)
บทที4่
การวิเคราะหขอมูล

ผลการศึกษาทัศนคติและความพึ่งพอใจในการใชบริการของนักทองเที่ยวในเขาใหญเพื่อการ
จัดสรางรีสอรทเพื่อสุขภาพ (Mushroom Clay House Resort) ผลการศึกษานําเสนอดังนี้
4.1 สรุปการสัมภาษณขอมูลเชิงคุณภาพ
จุดเริ่มตนการดําเนินธุรกิจการดําเนินงาน
จุดแข็งของรีสอรทในการดําเนินธุรกิจ
ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ
การตอยอดธุรกิจ
4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาน
4.2.1 การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล
สวนที่ 1 ลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง
สวนที่ 2 ขอมูลพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
สวนที่ 3 ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ
สวนที่ 4 ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
สวนที่ 5 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคลกับปจจัยในการใช
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
สวนที่ 6 ทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญกับ
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

4.1 สรุปผลสัมภาษณขอมูลเชิงคุณภาพ
4.1.1 จุดเริ่มตนการดําเนินธุรกิจการดําเนินงาน
ธุรกิจรีสอรท แกรนด เจาพระยา รีสอรท ไดใหขอมูล ในดานธุรกิจดานการดําเนินงาน
ปญหาและอุปสรรคตางๆ วาธุรกิจไดเริ่มจากการซื้อตอจากเจาของเดิมที่ขายกิจการแตนํามาปรับปรุง
ใหมเกือบหมดทุกอยาง โดยธุรกิจประเภทรีสอรทเปนธุรกิจที่สามารถทําการตอยอดไดและเปนธุรกิจที่
มีเอกลักษณ โดยรีสอรทแกรนดเจาพระยาเริ่มปรับปรุงตั้งแต ป 2553 ผานมาจนถึงปที่5ภายใน5ป
ไดผลตอบรับที่ดี โดยรีสอรทเนนความเปนธรรมชาติและจุดขายคือวิวแมน้ําที่มองไดกวาง โดยการ
ดําเนินธุรกิจมุงเนนการบริการลูกคาเปนสําคัญมีการบริการดานอาหารเปนหลัก ซึ่งเดิมไมมีรานอาหาร
แตขยายงานเปนรานอาหารติดริมแมน้ําเพื่อรับรองลูกคาในสวนที่ไมไดเขาพักดวย โดยรีสอรทไม
รองรับลูกคาที่มาเปนหมูคณะหรือในจํานวนมากดวยขนาดของพื้นที่ 2ไรจึงเหมาะกับนักทองเที่ยวแบบ
75

2-4คนที่จะพักมากกวา ธุรกิจสงผลกําไรตั้งแตปแรกที่ดําเนินการแตไมไดตั้งเปาวากําไรจะตองเทาไร
โดยจะคํานึงถึงการบริการใหลูกคาพอใจและผลกําไรจะตามมาเอง โดยชองทางการโปรโมทจะเปนใน
รูปแบบวิทยุและโทรทัศนเพราะเมื่อ5ปที่แลวยังไมมีระบบโซเชียวเขามาและอาศัยการบอกตอปากตอ
ปากเทานั้น ในพื้นที่2ไร มีจํานวนบานพักทั้งหมด8หลังโดยเปดใหพัก4หลังและอีก2หลังกําลังอยู
ระหวางการดําเนินงานสวนอีก2หลังเปนหองคาราโอเกะและหองจัดเลี้ยง ลักษณะของที่พักเปนสไตล
ธรรมชาติ รูปแบบเปนบานตนไม สวยงามสรางความรมรื่นสบายตาอัตราคาที่พักวัดจากขนาดเพราะ
แตละหลังมีความแตกตางกันมีการตกแตงและรูปแบบไมเหมือนกัน โดยราคาเริ่มตนหลังละ1500บาท
พักได 2 คน กลุมลูกคาที่มาพักแบงเปน 3กลุม คือ คนในพื้นที่ คนในจังหวัดกรุงเทพและชาวตางชาติ
4.1.2 จุดแข็งของรีสอรทในการดําเนินธุรกิจ
ธุรกิจมีการสรางมาอยูแลวและมีทําเลที่ดีเพียงแคมาปรับปรุงใหสวยงามและมีอะไรมากขึ้น มี
ทําเลที่สวยเพราะติดแมน้ําเจาพระยามีความเปนธรรมชาติที่ลงตัวมามองเห็นวัดอยูฝงตรงขามมากี่ครั้ง
จะไมเห็นวิวแมน้ําในมุมเดิมโดยการไลระดับของสถานที่ในสวนของรานอาหาร และในสวนของที่พักมี
ดีไซนที่ไมเหมือนใครใหความเปนธรรมชาติอยางแทจริงเหมือนไดนอนอยูบนตนไมที่รมรื่นอากาศไม
รอน มีบริการรองเรือและบริการรับสงทองเที่ยวไปวั ดใกลเคียง
4.1.3 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ
ธุรกิจมีปญหาดานการรองรับลูกคาที่เขาพักคือไมสามารถรั บลูกคาในจํานวนที่เยอะไดและ
ปญหาดานการปรับปรุงที่ใชงบประมานสูงเพราะปรับปรุงทุกปและปญหาดานการดึงดูดลุกคาเพราะ
ในชวงวันธรรมดาจะไมคอยมีนักทองเที่ยวมานอกจากวันเสาและอาทิตยซึ่งเปนเปนปญหาใหญที่ยังไม
สามารถแกไมได
4.1.4 การตอยอดของธุรกิจ
ในอนาคตจะทําการขยายพื้นที่และเพิ่มในสวนของที่พักเพิ่มขึ้นและมีการใหบริการดาน
กิจกรรมทางน้ําเพิ่มขึ้น เชน สปดโบท สกีและการรองเรือทานอาหารโดยขยายใหเปนรีสอรทเชิงการ
ทองเที่ยวธรรมชาติอยางสมบูรณแบบ
4.1.5 จุดเริ่มตนการดําเนินธุรกิจการดําเนินงาน
ธุรกิจแหลงทองเที่ยว PANORAMA FRAM ผูจัดการฝายการตลาดไดใหขอมูลดานการ
ดําเนินงานวาเริ่มตนการจากการทํา ฟารมเห็ดเปดมาประมาน3ปโดยการรวมตัวของเพื่อนๆที่มีความรู
ดานการเกษตรอยากที่จะทําสถานที่ทองเที่ยวเชิงการเกษตรและธรรมชาติ โดยมองเห็นถึง
คุณประโยชนของสิ่งที่จะทําคือ เห็ดเพราะเห็ดมีคุณคาในตัวของมันเองอยูแลวซึ่งเปนสิ่งแรกที่อยางทํา
โดยเปดใหนักทองเที่ยวมาเรียนรูดานการเพาะเห็ดและเยี่ยมชมโรงปลูกและรับประทานอาหารโดย
ผลิตจากเห็ด เปดชวงแรกๆเดือนหนึ่งรายไดอยูประมานหลัดแสนเพราะไมคอยมีคนรูจัก ในชวงเดือน
มิถุนายน ป 2556 เริ่มมีการคิดการสรางแบรนดสรางกลุมลูกคาของตัวเองโดยมีแฟนเพจประมาน3-4
76

หมื่นคน เมื่อเริ่มมีกลุมลูกคามากขึ้นก็เริ่มขยายจากการทําฟารมเห็ดเพื่อการทองเที่ยวมาเพิ่มในสวน
ของที่พักเพื่อรองรับนักทองเที่ยวในกลุมเดียวกันซึ่งเปดใหบริการวันแรกคือวันที่12 เมษายน 2557
ลูกคาสวนใหญจะเปนนักทองเที่ยวที่คอนขางมีกําลังซื้อราคาสูงลูกคาพรอมที่จะจาย ธุรกิจเนนความ
เปนNeed market คือ คนรักสุขภาพ โดยมีพันธกิจคือ H 4 ตัว คือ 1. Home บาน ใหลูกคามาพัก
เหมือนบานของตัวเองสรางความเปนกันเอง 2. Healthy สุขภาพ ใหสุขภาพที่ดี 3. height quality
มีคุณภาพสูงและดีที่สุด และ 4. Happiness ความสุข บุคลากรมี 50 คน โดยแบงอยูในสวนที่พัก
10 กวาคน จะมีหนวยใหญแบงออกเปน 5 หนวยงาน คือ Marketing จะดูแลภาพรวมทั้งหมด ดูแล
ในทุกสวน ฝายบัญชี จะดูแลดานการเงินบัญชีตางๆในการใชจาย ฝายการดูแลดานสวน และ
สถานที่ Human Resource Management หรือ HR บริหารทรัพยากรมนุษย พนักงานที่นี้ตอง
ถูกปลูกฝงความรูดานเห็ด แนะนําไดวานี้คืออะไร พาเดินชมใหความรูเรื่องเห็ด ตัวรีสอร ทจะเปด 24
ชั่วโมง คอยดูแลลูกคา ในสวนตัวที่พักเปนโฟมสมัยใหมใหความเย็นละก็เอาปูนปนมาฉาบแบบดิบๆ
ลักษณะเปนโดมสูงหลังคาเปนสวนหัวของเห็ด งบประมานตอหลังประมาน ลานกวาๆ โดยอัตรา
คาบริการ ในสวนของการเขาชมโรงเพาะเห็ด 30 บาทตอทาน สวนดานที่พักถูกวางมาตั้งแตตนแลววา
จะรองรับกลุมลูกคากลางและบน ราคาตองแต 3000-6000 บางตามขนาดของบานโดยลูกคายอม
จายเพราะมองถึง Value ของตัวที่พักและสิ่งที่จะไดจากการพัก ในสวนของอาหารตั้งราคาจากอาหาร
ที่มีพื้นฐานทั่วไปกอนและมองจาก Value ของมันคือเห็ด ตั้งราคาบวกประมาน2เทาของเนื้อสัตว
ยกเวนอาหารที่ทําจากเห็ดชนิดที่มีราคาแพงมากกวาเห็ดทั่วไป ชองทางการการโปรโมทของธุรกิจ
ผานทางโซเชียวมีเดียทางรายการโทรทัศนและสื่อแมกกาซีนทองเที่ยวตางๆ
4.1.6 จุดแข็งของรีสอรทในการดําเนินธุรกิจ
PANORAMA FRAM มีจุดแข็งในดานความเปนธรรมชาติสมารถมองวิวภูเขาได 360 องศา
ตั้งอยูในแหลงสถานที่ทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ มีความแปลกใหมในดานการบริการเปนการทองเที่ยว
เชิงเกษตรลูกคาไดความรูกลับบานนําไปเปนอาชีพไดตอไป
4.1.7 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ
ปญหาดานงบประมานการกอสรางไมสมารถควบคุมได ไมเปนตัวเลขที่คงที่ ปญหาดาน น้ํา
ไฟ แอร ที่อาจเกิดขึ้นกับการใชงานของลูกคา ปญหาดานการเขาพักของลูกคาในวันธรรมดาลุกคาจะ
นอยกวาวันหยุดผูประกอบการจึงตองหากลยุทธในการดึงลูกคาในวันธรรมดา เพราะถาผูประกอบการ
ใสใจในสวนนี้ธุรกิจก็อยูได
4.1.8 การตอยอดของธุรกิจ
เพิ่มสถานที่ดูแลรางกายใหลุกคาดวยสมุนไพร รวมถึง สปา ธรรมชาติบําบัด เปนสถานที่
ทองเที่ยวใหไปเที่ยวบนเขาไดเพราะมีพื้นที่ติดภูเขา
77

4.1.9 การดําเนินธุรกิจบานดิน
ธุรกิจ เครือขายบานดิน บานดินมีหลายประเภทที่นิยมทํากันจะเปนอโดบี้คือการเอาดินมาทํา
เปนกอนๆและมากอเปนผนังซึ่งดินที่ใชงานไดดีที่สุดคือดินรวนปนทรายเปนดินที่อยูในแถบภาคอีสาน
ไมควรเปนดินเหนียวที่อยูในภาคกลางโดยการทํากอนดินนั้นคนงาน1คนจะสามารถทํากอนดินไดประ
มาน100 กอน บานดินขนาด5*8เมตรใชกอนดินประมาน 2000กอน ระยะเวลาประมาน5วันเสร็จ
และมาในสวนของการกอผนังประมาน2วัน รอแหงและฉาบสวนผสมก็จะมีดิน 1สวนแกรบครึ่งสวน
และก็น้ํา บานดินจะมี2ประเภทคือมีโครงสรางกับไมมีโครงสราง แบบไมมีโครงสรางจะใชผนังดินเปน
ตัวรับแรง แบบมีโครงสรางจะใชเสาหรือไม เหล็กแลวเอาดินปกเขาไปเหมือนการสรางบานปกติ บาน
ดินในไทยยาวสุดตั้งแตสมัน ร.5 จนถึงปจจุบันก็ยังอยูได การดูแลรักษาตองดูตลอดเวลา เพราะบนดิน
สวนใหญจะมีสิ่งมีชีวิตที่ชอบความเย็นมาอาศัยอยูเปนพวกแมลงมาทํารัง การทําบานดินคาแรงแพง
อุปกรณถูก ในดานรูปทรงทําไดหมด ขึ้นอยูกับความสามารถของชาง ปจจุบัน คนสนใจคอนขางเยอะ
มีจุดขายคือความสวยในตัวของมันเองเทียบกับเมื่อกอนคนรูจักนอย เพราะบานดินเดิมเปนภูมิปญญา
ชาวตางชาติ ยุโรป ตะวันออกกลาง บานดินจะอยูในชวงเย็นจัดและรอนจัด ใน อียิปตจ ะมีบานดิน
เยอะมากเพราะพื้นที่ภายนอกรอนตองอาศัยความเย็นจากดินภายใน การดูแลรักษาจะแบงเปน
ภายนอกและภายใน ภายในความทนอยูได10-20ป แตภายนอกเนื่องดวยประเทศไทยมีฝนตกบอย
ตองหาวัสดุมาเคลือบผนังและ1-2ปตองทาสีใหมเพราะเวลาโดนฝนจะซีด งบประมานการซอมแซมไม
แพงบานดินไมคอยราวเหมือนบานปูนมีแตจะลอกลอนจากน้ําฝน ผนังไมมีการรั่วแตหลังคาจะมีอยูที่
การมุง ในปจจุบันธุรกิจการรับสรางบานดินเริ่มเปนที่นิยมมากขึ้นและเริ่มมีการขยายตัวมากใน
รูปแบบรีสอรท
4.1.10 จุดแข็งของบานดิน
บานดินสรางความเย็นจากภายในไมไดปรับอุณหภูมิไดแตเย็นภายในตัวของมันเองเหมือนดิน
เปนชนวนในการบังความรอนไหความรอนเขามาไดเหมือนเขาไปในถ้ํา การสรางบานดินทําใหลด
ตนทุนทางอุตสาหกรรมไดมาก ปรับรูปทรงไดสรางความสวยงามแปลกใหมตามที่ตองการ
4.1.11 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน
1. เจาของบานไมคอยรูจักบานดินและเอาบานปูนมาเปรียบเทียบ เพื่อใหละเอียดเรียบ
เหมือนบานปูน ทําใหชางทํางานยากขึ้น
2. ชางประสบการณนอยสวนมามาเรียนรูใหมหมดทําใหการทํางานลาชา
3. ปญหาเรื่องแรงงานเปนปญหาใหญ ชางนอยลงคาแรงจึงตองเพิ่มขึ้น เจาบานคาแรงไมไหว
4.1.12 การตอยอดของธุรกิจ
ในอนาคตอยากคิดคนเทคนิคใหมๆในการสรางบานดินใหแปลกใหมขึ้นและหาเทคนิคจาก
ธรรมชาติในการทําบานดินที่ทนทานและแข็งแรงขึ้นใหบานดินเปนที่นิยมมากขึ้นในประเทศไทยตอไป
78

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ
ผลการวิเคราะหการสํารวจทัศนคติ ความคิดเห็นและโอกาสความเปนไปไดในการจัดตั้งธุรกิจ
โครงการ รีสอรทเพื่อสุขภาพ รวบรวมขอมูลที่ไดรับจากแบบสอบถาม (Questionnaire) ใชกลุม
ตัวอยาง คือ ผูเดินทางมาเขาใหญกลุมเปาหมายระดับสูง จํานวน 385 ตัวอยาง
วิเคราะหผลใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เพื่ออธิบายผลการศึกษา ไดแก การแจง
ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative
Analysis) ทดสอบความแตกตางโดยใชสถิติแบบ T – test , F – Test และทดสอบความสัมพันธ
จากคา Chi – Square test และวัดความสัมพันธโดยคาสถิติ Contingency Coefficient ที่ระดับ
นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ประมวลผลขอมูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปทางสถิติ
ผูวิจัยไดกําหนดใชสัญลักษณตาง ๆ ในการวิเคราะหขอมูลดังนี้
n แทน จํานวนผูตอบแบบสอบถามที่เปนกลุมตัวอยาง
แทน คาเฉลี่ย
S.D. แทน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t - test แทน คาสถิติที่ใชพิจารณา t - Distribution
F – test แทน คาสถิติทดสอบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติแบบ F - test
X2 แทน คาสถิติทดสอบความสัมพันธโดยคาสถิติ Chi – Square test
C. แทน คาสถิติวัดความสัมพันธโดยคาสถิติ Contingency Coefficient
Sig. แทน คาความนาจะเปน (probability) สําหรับบอกนัยสําคัญทางสถิติ
* แทน ผลทดสอบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0

สวนที่ 1 ลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง
แสดงผลการศึกษาปจจัยลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และ
วัตถุประสงคการเดินทางมาเขาใหญ มีผลการศึกษาดังนี้
79

ตารางที่ 4.1: แสดงจํานวนและรอยละดานลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง

ลักษณะสวนบุคคล จํานวน รอยละ


เพศ ชาย 142 (36.88)
หญิง 243 (63.12)
รวม 385 (100.00)
อายุ อายุ 25 - 30 ป 14 (3.64)
อายุ 31 - 35 ป 48 (12.47)
อายุ 36 - 40 ป 99 (25.71)
อายุ 41 - 45 ป 162 (42.08)
อายุ 46 - 50 ป 54 (14.03)
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 (2.08)
รวม 385 (100.00)
อาชีพ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 (9.87)
พนักงานบริษัทเอกชน 120 (31.17)
ธุรกิจสวนตัว 158 (41.04)
เกษตรกรรม 8 (2.08)
นักเรียน/นักศึกษา 9 (2.34)
รับจางทั่วไป 11 (2.86)
อาชีพอิสระ 41 (10.65)
รวม 385 (100.00)
(ตารางมีตอ)
80

ตารางที่ 4.1 (ตอ): แสดงจํานวนและรอยละดานลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง

ลักษณะสวนบุคคล จํานวน รอยละ


รายไดตอเดือน ต่ํากวา 15,000 บาท 6 (1.56)
15,000 - 20,000 บาท 8 (2.08)
20,001 - 25,000 บาท 6 (1.56)
25,001 - 30,000 บาท 29 (7.53)
30,001 - 40,000 บาท 31 (8.05)
40,001 - 50,000 บาท 132 (34.29)
50,001 - 60,000 บาท 64 (16.62)
60,001 - 70,000 บาท 60 (15.58)
70,001 - 80,000 บาท 29 (7.53)
มากกวา 80,000 บาท 20 (5.19)
รวม 385 (100.00)
วัตถุประสงคการเดินทางมา
เขาใหญ เพื่อการทองเที่ยวและพักผอน 311 (80.78)
เพื่อติดตอธุรกิจการคา 17 (4.42)
เพื่อพบญาติ เพื่อนหรือคนรูจัก 29 (7.53)
เพื่อติดตอหรือปฏิบัติงานราชการ 12 (3.12)
เพื่อประชุมหรือสัมมนา 14 (3.64)
เพื่อมาหาบุคคลที่รูจัก 2 (0.52)
รวม 385 (100.00)

ผลการศึกษาลักษณะสวนบุคคลกลุมตัวอยาง จํานวน 385 คน ดานเพศ พบวา เปนเพศหญิง


มากกวา เพศชาย โดยมีเพศหญิง จํานวน 243 คน คิดเปน รอยละ 631.2 และเพศชาย จํานวน 142
คน คิดเปน รอยละ 36.88 มีอายุระหวาง 41 – 45 ป มากสุด จํานวน 162 คน คิดเปน รอยละ
42.08 รองลงมาอายุ 36 - 40 ป จํานวน 99 คน คิดเปน รอยละ 25.71 และ อายุ 46 – 50 ป
จํานวน 54 คน คิดเปน รอยละ 14.03 นอยสุด อายุ 50 ป ขึ้นไป จํานวน 8 คน คิดเปน รอยละ 2.08
มีอาชีพเปนธุรกิจสวนตัว มากสุด จํานวน 158 คน คิดเปน รอยละ 41.04 รองลงมา พนักงาน
บริษัทเอกชน จํานวน 120 คน คิดเปน รอยละ 31.17 และ อาชีพอิสระ จํานวน 41 คน คิดเปน รอย
81

ละ 10.65 นอยสุด เกษตรกรรม จํานวน 8 คน คิดเปน รอยละ 2.08 สวนใหญรายไดตอเดือน


40,001 - 50,000 บาท มากสุด จํานวน 132 คน คิดเปน รอยละ 34.29 รองลงมา 50,001 - 60,000
บาท จํานวน 64 คน คิดเปน รอยละ 16.62 และ 60,001 - 70,000 บาท จํานวน 60 คน คิดเปน
รอยละ 15.58 นอยสุด คือ รายได 20,001 - 25,000 บาท และ ต่ํากวา 15,000 บาท จํานวน 6 คน
คิดเปน รอยละ 1.56 โดยมี วัตถุประสงคการเดินทางมาเขาใหญ เพื่อการทองเที่ยวและพักผอน มาก
สุด จํานวน 311 คน คิดเปน รอยละ 80.78 รองลงมา เพื่อพบญาติ เพื่อนหรือคนรูจัก จํานวน 29 คน
คิดเปน รอยละ 7.53 และ เพื่อติดตอธุรกิจการคา จํานวน 17 คน คิดเปน รอยละ 4.42
สวนที่ 2 ขอมูลพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
แสดงผลการศึกษาขอมูลพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ไดแก การใชบริการที่พัก
รูปแบบรีสอรท ประเภทรีสอรทที่เขาพัก แหลงขอมูลที่ติดตามหาสถานที่พักคางคืน รูปแบบการจองที่
พัก คาใชจายที่พักตอคืนระยะเวลาการเขาพัก มีผลการศึกษาดังนี้

ตารางที่ 4.2: แสดงจํานวนและรอยละดานพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ

พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ จํานวน รอยละ


การใชบริการที่พักรูปแบบรีสอรท เคย 361 (93.77)
ไมเคย 24 (6.23)
รวม 385 (100.00)
ประเภทรีสอรทที่เขาพัก ระดับ 3 ดาว 86 (23.82)
ระดับ 4 ดาว 169 (46.81)
ระดับ 5 ดาว 98 (27.15)
อื่นๆ 8 (2.22)
รวม 361 (100.00)
(ตารางมีตอ)
82

ตารางที่ 4.2 (ตอ): แสดงจํานวนและรอยละดานพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ

พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ จํานวน รอยละ


แหลงขอมูลที่ติดตามหา บริษัทนําเทียว 29 (8.03)
สถานที่พักคางคืน เพื่อนหรือคนที่รูจัก 170 (47.09)
นิตยสารทองเที่ยว 58 (16.07)
เฟสบุค 43 (11.91)
ทวิตเตอร 1 (0.28)
อินตราแกรม 4 (1.11)
เว็บไซตของโรงแรม 32 (8.86)
บูธตามงานตางๆ 4 (1.11)
รายการทองเที่ยว 4 (1.11)
เว็บไซตจองโรงแรม เชน
Agoda หรือเว็บไซตอื่นๆ 12 (3.32)
อื่นๆ 4 (1.11)

รวม 361 (100.00)


รูปแบบการจองที่พัก โทรศัพทจองดวยตนเอง 174 (48.20)
จองทางเว็บไซตของโรงแรม 98 (27.15)
จองโดยบริษัทนําเที่ยว 55 (15.24)
จองผานเว็บไซตจองโรงแรม 30 (8.31)
ผานคนรูจ กั จองให 4 (1.11)
รวม 361 (100.00)
คาใชจายที่พักตอคืน 4,000 บาท 34 (9.42)
5,500 บาท 69 (19.11)
6,500 บาท 81 (22.44)
7,500 บาท 45 (12.47)
8,500 บาท 76 (21.05)
มากกวา 8,500 บาท 56 (15.51)
รวม 361 (100.00)
(ตารางมีตอ)
83

ตารางที่ 4.2 (ตอ): แสดงจํานวนและรอยละดานพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ

พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ จํานวน รอยละ


ระยะเวลาการเขาพัก จํานวน 1 - 2 วัน 150 (41.55)
จํานวน 3 - 4 วัน 141 (39.06)
จํานวน 5 - 7 วัน 23 (6.37)
ตั้งแต หนึ่งสัปดาหขึ้นไป 47 (13.02)
รวม 361 (100.00)
เหตุผลที่ไมเลือกใชบริการรีสอรท หองพักเดี่ยวราคาถูกกวา 18 (39.13)
(ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ตองการที่นอนคางคืนเทานั้นไม 8 (17.39)
เนนการพักผอน
โรงแรมสวนใหญอยูใ นเมืองทําให 16 (34.78)
มีความสะดวกสบายมากกวา
ไมตองการปลีกตัวจากสังคมเมือง 2 (4.35)
ไมชอบบรรยากาศธรรมชาติ 2 (4.35)
(100.00)

ผลการศึกษาพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ พบวา สวนใหญ จํานวน 361 คน คิด


เปน รอยละ 93.77 เคยใชบริการที่พักรูปแบบรีสอรท มีเพียง 24 คน หรือ รอยละ 6.23 ไมเคยใช
บริการ โดยประเภทรีสอรทที่เขาพักจะเปนระดับ 4 ดาว มากสุด จํานวน 169 คน คิดเปน รอยละ
46.81 รองลงมา ระดับ 5 ดาว จํานวน 98 คน คิดเปน รอยละ 27.15 และ ระดับ 3 ดาว จํานวน 86
คน คิดเปน รอยละ 23.82 แหลงขอมูลที่ติดตามหาสถานที่พักคางคืน มากสุด คือ เพื่อนหรือคนที่
รูจัก จํานวน 170 คน คิดเปน รอยละ 47.09 รองลงมา จากนิตยสารทองเที่ยว จํานวน 58 คน คิด
เปน รอยละ 16.07 และ เฟสบุค จํานวน 43 คน คิดเปน รอยละ 11.91 โดยมีรูปแบบการจองที่พัก
มากสุด คือ โทรศัพทจองดวยตนเอง มากสุด จํานวน 174 คน คิดเปน รอยละ 48.20 รองลงมาจอง
ทางเว็บไซตของโรงแรม จํานวน 98 คน คิดเปน รอยละ 27.15 และ จองโดยบริษัทนําเที่ยว จํานวน
55 คน คิดเปน รอยละ 15.24
กลุมตัวอยางมีคาใชจายที่พักตอคืน มากสุด คือ 6,500 บาท จํานวน 81 คน คิดเปน รอยละ
22.44 รองลงมา จํานวน 8,500 บาทมีจํานวน 76 คน คิดเปน รอยละ 21.05 และ จํานวน 5,500
บาท 69 คน คิดเปน รอยละ 19.11 ระยะเวลาการเขาพัก มากสุด จํานวน 1 - 2 วัน มีจํานวน150
84

คน คิดเปน รอยละ 41.55 รองลงมา จํานวน 3 - 4 วัน จํานวน 141 คน คิดเปน รอยละ 39.06 และ
ตั้งแตหนึ่งสัปดาหขึ้นไป จํานวน 47 คน คิดเปน รอยละ 13.02 สําหรับเหตุผลของกลุมที่ไมเลือกใช
บริการรีสอรท มากสุด คือ หองพักเดี่ยวราคาถูกกวา มีจํานวน 18 คน คิดเปน รอยละ 39.13
รองลงมา โรงแรมสวนใหญอยูในเมืองทําใหมีความสะดวกสบายมากกวา จํานวน 16 คน คิดเปน รอย
ละ 34.78 และ ตองการที่นอนคางคืนเทานั้นไมเนนการพั กผอน จํานวน 8 คน คิดเปน รอยละ 17.39
และนอยสุดไมตองการปลีกตัวจากสังคมเมือง,ไมชอบบรรยากาศธรรมชาติ จํานวน 2 คน คิดเปน รอย
ละ 4.35
สวนที่ 3 ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ในสวนที่ 3 แสดงผลการศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ ไดแก ดาน
ทําเลที่ตั้ง ดานการออกแบบตกแตง ดานการบริการ และ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก มีผลการศึกษา
ดังนี้

ตารางที่ 4.3: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและอันดับความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักใน


เขาใหญ ในภาพรวม

(n = 385)
ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ x SD. แปลคา อันดับ
ดานทําเลที่ตั้ง 4.11 0.61 มาก 1
ดานการออกแบบตกแตง 4.08 0.66 มาก 2
ดานการบริการ 3.97 0.63 มาก 3
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 3.81 0.69 มาก 4
ภาพรวม 3.99 0.49 มาก

ผลการศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ ในภาพรวม พบวา มีความพึง


พอใจในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 3.99 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.49 ในรายดาน มีความพึงพอใจในระดับ
มาก ทัง้ 4 ดาน โดยสูงสุด คือ ดานทําเลที่ตั้ง รองลงมา ดานการออกแบบตกแตง ดานการบริการ
และ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ตามลําดับ ดังตาราง 4.4 – 4.7
85

ตารางที่ 4.4: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานทําเลที่ตั้ง

(n = 385)
ระดับความพึงพอใจ
ดานทําเลที่ตั้ง x SD. แปลคา
ใกลแหลงอํานวยความสะดวก 4.14 0.73 มาก
ความสะดวกในการเดินทาง 4.11 0.72 มาก
บรรยากาศภายในรีสอรท 4.07 0.76 มาก
ภาพรวม 4.11 0.61 มาก

ผลการศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานทําเลที่ตั้ง ในภาพรวม


พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 4.11 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.61 ในรายดาน พบวา
มีผลในระดับมาก ทัง้ 3 ดาน โดยสูงสุด คือ ใกลแหลงอํานวยความสะดวก มีคาเฉลี่ย 4.14 รองลงมา
ความสะดวกในการเดินทาง ( x = 4.11) และบรรยากาศภายในรีสอรท ( x = 4.07) ตามลําดับ

ตารางที่ 4.5: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานการออกแบบตกแตง

(n = 385)
ระดับความพึงพอใจ
ดานการออกแบบตกแตง x SD. แปลคา
ตกแตงแบบธรรมชาติ 4.14 0.79 มาก
มีบานพักหลายแบบใหเลือก 4.07 0.78 มาก
ขนาดของบานพัก 4.00 0.81 มาก
ความคุมคาของราคากับบานพัก 4.10 0.81 มาก
ภาพรวม 4.08 0.66 มาก

ผลการศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานการออกแบบตกแตง ใน


ภาพรวม พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 4.08 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66 ในราย
86

ดาน พบวา มีผลในระดับมาก ทัง้ 4 ดาน โดยสูงสุด คือ ตกแตงแบบธรรมชาติ มีคาเฉลี่ย 4.14
รองลงมา ความคุมคาของราคากับบานพัก ( x = 4.10), มีบานพักหลายแบบใหเลือก( x = 4.07),
และบรรยากาศภายในรีสอรท ( x = 4.07) ตามลําดับ

ตารางที่ 4.6: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานการบริการ

(n = 385)
ระดับความพึงพอใจ
ดานการบริการ x SD. แปลคา
ความรวดเร็วในการบริการ 4.01 0.80 มาก
ความเอาใจใสของบุคลากร 4.12 0.76 มาก
บุคลากรมีความนาเชื่อถือ 4.05 0.77 มาก
บุคลากรพูดไดหลายภาษา 3.77 0.93 มาก
มีการสงเสริมการขาย 4.05 0.86 มาก
มีบัตรสมาชิกเพื่อสิทธิพิเศษ 3.81 0.95 มาก
ภาพรวม 3.97 0.63 มาก

ผลการศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานการบริการ ในภาพรวม


พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 3.97 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63 ในรายดาน พบวา
มีผลในระดับมาก ทัง้ 6 ดาน โดยสูงสุด คือ ความเอาใจใสของบุคลากร มีคาเฉลี่ย 4.12 รองลงมา
บุคลากรมีความนาเชื่อถือ ( x = 4.05), มีการสงเสริมการขาย ( x = 4.05),ความรวดเร็วในการ
บริการ( x = 4.01),มีบัตรสมาชิกเพื่อสิทธิพิเศษ( x = 3.81)และบุคลากรพูดไดหลายภาษา ( x =
3.77) ตามลําดับ
87

ตารางที่ 4.7: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานสิ่งอํานวยความสะดวก

(n = 385)
ระดับความพึงพอใจ
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก x SD. แปลคา
มีรถนําทองเที่ยวตามสถานที่ตางๆในเขาใหญ 3.76 0.96 มาก
มีรถใหเชา 3.71 0.90 มาก
มี Free WiFi 4.12 0.93 มาก
มีบริการซักอบรีด 3.62 0.89 มาก
ภาพรวม 3.81 0.69 มาก

ผลการศึกษา ความพึงพอใจตอการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ใน


ภาพรวม พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 3.81 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.69 ในราย
ดาน พบวา มีผลในระดับมาก ทัง้ 4 ดาน โดยสูงสุด คือ มี Free WiFi มีคาเฉลี่ย 4.12 รองลงมา มีรถ
นําทองเที่ยวตามสถานที่ตางๆในเขาใหญ ( x = 3.76), มีรถใหเชา ( x = 3.71) และมีบริการซักอบ
รีด ( x = 3.62) ตามลําดับ

สวนที่ 4 ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ในสวนที่ 4 แสดงผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ไดแก ดานทําเล
ที่ตั้ง ดานการออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานการเปนรีสอรท
เพื่อสุขภาพ มีผลการศึกษาดังนี้
88

ตารางที่ 4.8: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและอันดับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อ


สุขภาพ ในภาพรวม

(n = 385)
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ x SD. แปลคา อันดับ
ดานทําเลที่ตั้ง 4.14 0.66 มาก 1
ดานการออกแบบตกแตง 4.07 0.70 มาก 2
ดานการบริการ 3.98 0.62 มาก 4
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 3.71 0.76 มาก 5
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 4.03 0.72 มาก 3
ภาพรวม 3.99 0.56 มาก

ผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ในภาพรวม พบวา ความสําคัญใน


ระดับมาก มีคาเฉลี่ย 3.99 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.56 ในรายดาน มีความสําคัญในระดับมาก ทัง้ 5
ดาน โดยสูงสุด คือ ดานทําเลที่ตั้ง รองลงมา ดานการออกแบบตกแตง ดานความเปนรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ ดานการบริการ และ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ตามลําดับ ดังตาราง 4.9 – 4.13

ตารางที่ 4.9: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดาน


ทําเลที่ตั้ง

(n = 385)
ระดับความสําคัญ
ดานทําเลที่ตั้ง x SD. แปลคา
ใกลแหลงอํานวยความสะดวก 4.12 0.87 มาก
ความสะดวกในการเดินทาง 4.07 0.88 มาก
ใกลแหลงธรรมชาติมีภูเขาลอมรอบ 4.14 0.83 มาก
บรรยากาศภายในรีสอรท 4.22 0.71 มากที่สุด
ภาพรวม 4.14 0.66 มาก
89

ผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานทําเลที่ตั้ง ในภาพรวม พบวา มี


ความพึงพอใจในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.14 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66 ในรายดาน พบวา มี
ความสําคัญในระดับมากที่สุด 1 ดาน คือ บรรยากาศภายในรีสอรท มีคาเฉลี่ย 4.22 และมี
ความสําคัญในระดับมาก จํานวน 3 ดาน ประกอบดวย ใกลแหลงธรรมชาติมีภูเขาลอมรอบ ( x =
4.14), ใกลแหลงอํานวยความสะดวกและบรรยากาศภายในรีสอรท ( x = 4.12) และ ความสะดวก
ในการเดินทาง ( x = 4.07) ตามลําดับ

ตารางที่ 4.10: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดาน


การออกแบบตกแตง

(n = 385)
ระดับความสําคัญ
ดานการออกแบบตกแตง x SD. แปลคา
วัสดุที่สรางทําจากดินเพื่อความเย็นสบาย 4.10 0.79 มาก
บานพักหลายแบบใหเลือกโดยมีรูปแบบทรงเห็ดและผักชนิดตางๆ 3.98 0.92 มาก
ขนาดของบานพัก 4.04 0.82 มาก
ความคุมคาของราคาและบานพัก 4.16 0.83 มาก
ภาพรวม 4.07 0.70 มาก

ผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานการออกแบบตกแตง ในภาพรวม


พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 4.07 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.70 ในรายดาน พบวา มี
ความสําคัญในระดับมาก ทัง้ 4 ดาน โดยสูงสุด คือ ความคุมคาของราคาและบานพัก มีคาเฉลี่ย 4.16
รองลงมา วัสดุที่สรางทําจากดินเพื่อความเย็นสบาย ( x = 4.10), ขนาดของบานพัก ( x = 4.04)
และ บานพักหลายแบบใหเลือกโดยมีรูปแบบทรงเห็ดและผักชนิดตางๆ ( x = 3.98) ตามลําดับ
90

ตารางที่ 4.11: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดาน


การบริการ

(n = 385)
ระดับความสําคัญ
ดานการบริการ x SD. แปลคา
ความรวดเร็วในการบริการ 4.12 0.76 มาก
ความเอาใจใสของบุคลากร 4.10 0.77 มาก
บุคลากรมีความนาเชื่อถือ 4.03 0.77 มาก
บุคลากรพูดไดหลายภาษา 3.80 0.92 มาก
มีการสงเสริมการขาย 4.07 0.84 มาก
มีบัตรสมาชิกเพื่อสิทธิพิเศษ 3.99 0.92 มาก
มีบริการเก็บเห็ดและผักกลับบาน 4.11 0.89 มาก
มีบริการเรียนรูการปนบานดิน 3.90 0.98 มาก
มีบริการหองนันทนาการสําหรับเด็ก 3.76 1.12 มาก
มีบริการกิจกรรมปนจักรยานและพายเรือ 3.95 1.01 มาก
ภาพรวม 3.98 0.62 มาก

ผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานการบริการ ในภาพรวม พบวา มี


ความพึงพอใจในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 3.98 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.62 ในรายดาน พบวา มี
ความสําคัญในระดับมาก ทัง้ 10 ดาน โดยสูงสุด คือ ความรวดเร็วในการบริการ มีคาเฉลี่ย 4.12
รองลงมา มีบริการเก็บเห็ดและผักกลับบาน ( x = 4.11), ความเอาใจใสของบุคลากร ( x = 4.10),
มีการสงเสริมการขาย( x = 4.07), บุคลากรมีความนาเชื่อถือ( x = 4.03),มีบัตรสมาชิกเพื่อสิทธิ
พิเศษ ( x = 3.99), มีบริการกิจกรรมปนจักรยานและพายเรือ ( x = 3.95),มีบริการเรียนรูการปน
บานดิน ( x = 3.90), บุคลากรพูดไดหลายภาษา( x = 3.80) และ มีบริการหองนันทนาการสําหรับ
เด็ก ( x = 3.76) ตามลําดับ
91

ตารางที่ 4.12: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานสิ่ง


อํานวยความสะดวก

(n = 385)
ระดับความสําคัญ
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก x SD. แปลคา
มีรถรับสงไปสถานที่ทองเที่ยวตางๆในสถานที่ใกลเคียง 3.76 1.31 มาก
มี Free WiFi 4.15 1.05 มาก
มีบริการซักอบรีด 3.29 1.29 ปานกลาง
มีบริการชุดลําลองและชุดวายน้ํา 3.50 1.21 มาก
มีบริการหองออกกําลังกาย 3.85 1.10 มาก
ภาพรวม 3.71 0.76 มาก

ผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพดานสิ่งอํานวยความสะดวก ใน
ภาพรวม พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 3.71 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.76 ในราย
ดาน พบวา มีความสําคัญในระดับมาก จํานวน 4 ดาน โดยสูงสุด คือ มี Free WiFi มีคาเฉลี่ย 4.15
รองลงมา มีบริการหองออกกําลังกาย ( x = 3.85), มีรถรับสงไปสถานที่ทองเที่ยวตางๆในสถานที่
ใกลเคียง( x = 3.76) และมีบริการชุดลําลองและชุดวายน้ํา ( x = 3.52) และมีความสําคัญในระดับ
ปานกลาง จํานวน 1 ดาน คือ มีบริการซักอบรีด ( x = 3.29) ตามลําดับ
92

ตารางที่ 4.13: แสดงคาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดาน


ความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ระดับความสําคัญ
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ x SD. แปลคา
มีรานอาหารเพื่อสุขภาพ (เห็ด ผัก อาหารทะเล) 4.26 0.79 มากที่สุด
มีหองบริการตรวจสุขภาพผิวและรางกาย 4.04 0.87 มาก
มีสปาเพื่อสุขภาพ 4.15 0.82 มาก
มีหองสอนโยคะเพื่อสุขภาพ 3.69 1.08 มาก
มีหองใหความรูวิชาการเกี่ยวกับสุขภาพ 3.96 0.92 มาก
มีสระออนเซนบริการเพื่อสุขภาพ 4.09 0.93 มาก
ภาพรวม 4.03 0.72 มาก

ผลการศึกษา ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพใน


ภาพรวม พบวา มีความพึงพอใจในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย 4.03 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.72 ในราย
ดาน พบวา มีความสําคัญในระดับมากที่สุด จํานวน 1 ดาน คือ มีรานอาหารเพื่อสุขภาพ (เห็ด ผัก
อาหารทะเล) มีคาเฉลี่ย 4.26 และ ใหความสําคัญในระดับมาก จํานวน 5 ดาน ประกอบดวย มีสปา
เพื่อสุขภาพ ( x = 4.15), มีสระออนเซนบริการเพื่อสุขภาพ ( x = 4.09), มีหองบริการตรวจสุขภาพ
ผิวและรางกาย( x = 4.04),มีหองใหความรูวิชาการเกี่ยวกับสุขภาพ ( x = 3.96) และมีหอ งสอน
โยคะเพื่อสุขภาพ ( x = 3.69) ตามลําดับ
สวนที่ 5 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคลกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ
ในสวนนี้เปนการศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ
อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ สรุปผลงานวิเคราะหไดดังนี้
4.1 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานเพศ กับปจจัยในการใช
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
93

ตารางที่ 4.14: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานเพศ กับปจจัยใน


การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
เพศ N x SD. t. Sig.
บริการรีสอรทเพือ่ สุขภาพ
ดานทําเลที่ตั้ง ชาย 142 4.05 0.66 -1.929 0.054
หญิง 243 4.18 0.65
รวม 385 4.14 0.66
ดานการออกแบบตกแตง ชาย 142 3.96 0.72 -2.367 0.018*
หญิง 243 4.13 0.68
รวม 385 4.07 0.70
ดานการบริการ ชาย 142 3.92 0.63 -1.415 0.158
หญิง 243 4.02 0.62
รวม 385 3.98 0.62
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ชาย 142 3.71 0.77 -0.071 0.944
หญิง 243 3.71 0.76
รวม 385 3.71 0.76
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ ชาย 142 4.00 0.73 -0.643 0.520
หญิง 243 4.05 0.72
รวม 385 4.03 0.72
ภาพรวม ชาย 142 3.93 0.57 -1.527 0.128
หญิง 243 4.02 0.56
รวม 385 3.99 0.56
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานเพศ กับปจจัยใน


การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ ในรายดาน พบวา
คา Sig. เพราะเพศมีความสอดคลองตอการเลือกใชบริการที่แตกตางกันเพศหญิงจะใหความสําคัญ
ดานสถานที่ที่สวยงามมากกวาเพศชาย< 0.05 จํานวน 1 ดาน ไดแก ดานการออกแบบตกแตง
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา t –test = -1.527, Sig. = 0.128 > 0.05 สรุปผลการทดสอบ
94

ไดวา ลักษณะสวนบุคคล ดานเพศ ที่ตางกัน มีผลตอปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ไม


แตกตางกัน ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
4.2 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอายุ กับปจจัยในการใช
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.15: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอายุ กับปจจัยใน


การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
อายุ N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ดานทําเลที่ตั้ง อายุ 25 - 30 ป 14 4.00 0.78 1.035 0.397
อายุ 31 - 35 ป 48 4.09 0.65
อายุ 36 - 40 ป 99 4.22 0.60
อายุ 41 - 45 ป 162 4.15 0.66
อายุ 46 - 50 ป 54 4.08 0.69
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 3.78 0.84
รวม 385 4.14 0.66
ดานการออกแบบตกแตง อายุ 25 - 30 ป 14 3.95 0.82 0.999 0.418
อายุ 31 - 35 ป 48 3.90 0.74
อายุ 36 - 40 ป 99 4.14 0.73
อายุ 41 - 45 ป 162 4.10 0.67
อายุ 46 - 50 ป 54 4.05 0.68
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 3.94 0.61
รวม 385 4.07 0.70
ดานการบริการ อายุ 25 - 30 ป 14 3.98 0.63 2.562 0.027*
อายุ 31 - 35 ป 48 3.96 0.64
อายุ 36 - 40 ป 99 4.14 0.60
อายุ 41 - 45 ป 162 3.93 0.61
อายุ 46 - 50 ป 54 3.93 0.61
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 3.51 0.86
รวม 385 3.98 0.62
(ตารางมีตอ)
95

ตารางที่ 4.15 (ตอ): ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอายุ กับ


ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
อายุ N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก อายุ 25 - 30 ป 14 3.43 0.77 1.814 0.109
อายุ 31 - 35 ป 48 3.50 0.73
อายุ 36 - 40 ป 99 3.80 0.83
อายุ 41 - 45 ป 162 3.76 0.73
อายุ 46 - 50 ป 54 3.71 0.74
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 3.38 0.77
รวม 385 3.71 0.76
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ อายุ 25 - 30 ป 14 3.89 0.79 0.781 0.564
อายุ 31 - 35 ป 48 3.95 0.75
อายุ 36 - 40 ป 99 4.10 0.74
อายุ 41 - 45 ป 162 4.06 0.68
อายุ 46 - 50 ป 54 3.92 0.74
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 4.17 0.63
รวม 385 4.03 0.72
ภาพรวม อายุ 25 - 30 ป 14 3.85 0.62 1.444 0.207
อายุ 31 - 35 ป 48 3.88 0.59
อายุ 36 - 40 ป 99 4.08 0.56
อายุ 41 - 45 ป 162 4.00 0.55
อายุ 46 - 50 ป 54 3.94 0.58
อายุ 50 ป ขึ้นไป 8 3.75 0.60
รวม 385 3.99 0.56
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอายุ กับปจจัยใน


การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ ในรายดาน พบวา
คา Sig.เพราะอายุสอดคลองกับปจจัยในการใชบริการกลุมเปาหมายที่มีอายุมากกวา 30ปเปนกลุมที่ให
96

ความสําคัญกับการบริการและตองดารความสะดวกสบาย < 0.05 จํานวน 1 ดาน ไดแก ดานการ


บริการ
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา F –test = 1.444, Sig. = 0.207 > 0.05 สรุปผลการทดสอบ
ไดวา ลักษณะสวนบุคคล ดานอายุ ที่ตางกัน มีผลตอปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ไม
แตกตางกัน ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
4.3 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ กับปจจัยในการใช
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.16: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ กับปจจัยใน


การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
อาชีพ N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพือ่ สุขภาพ
ดานทําเลที่ตั้ง รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 4.25 0.67 2.472 0.023*
พนักงานบริษัทเอกชน 120 4.24 0.63
ธุรกิจสวนตัว 158 4.02 0.64
เกษตรกรรม 8 4.25 0.58
นักเรียน/นักศึกษา 9 4.00 0.57
รับจางทั่วไป 11 3.82 0.82
อาชีพอิสระ 41 4.27 0.69
รวม 385 4.14 0.66
ดานการออกแบบตกแตง รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 4.12 0.72 3.002 0.007*
พนักงานบริษัทเอกชน 120 4.20 0.67
ธุรกิจสวนตัว 158 3.96 0.67
เกษตรกรรม 8 4.19 0.70
นักเรียน/นักศึกษา 9 3.56 0.50
รับจางทั่วไป 11 3.80 0.82
อาชีพอิสระ 41 4.24 0.75
รวม 385 4.07 0.70
(ตารางมีตอ)
97

ตารางที่ 4.16 (ตอ): ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ กับ


ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
อาชีพ N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพือ่ สุขภาพ
ดานการบริการ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 4.11 0.63 2.426 0.026*
พนักงานบริษัทเอกชน 120 4.10 0.64
ธุรกิจสวนตัว 158 3.86 0.58
เกษตรกรรม 8 4.23 0.50
นักเรียน/นักศึกษา 9 3.82 0.54
รับจางทั่วไป 11 3.86 0.81
อาชีพอิสระ 41 4.02 0.66
รวม 385 3.98 0.62
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 3.84 0.77 2.234 0.039*
พนักงานบริษัทเอกชน 120 3.88 0.79
ธุรกิจสวนตัว 158 3.62 0.75
เกษตรกรรม 8 3.48 0.67
นักเรียน/นักศึกษา 9 3.78 0.71
รับจางทั่วไป 11 3.49 0.62
อาชีพอิสระ 41 3.53 0.74
รวม 385 3.71 0.76
ดานความเปนรีสอรทเพื่อ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 4.08 0.77 0.582 0.745
สุขภาพ พนักงานบริษัทเอกชน 120 4.09 0.70
ธุรกิจสวนตัว 158 3.96 0.70
เกษตรกรรม 8 4.23 0.63
นักเรียน/นักศึกษา 9 4.06 0.74
รับจางทั่วไป 11 3.94 0.87
อาชีพอิสระ 41 4.07 0.78
รวม 385 4.03 0.72
(ตารางมีตอ)
98

ตารางที่ 4.16 (ตอ): ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ กับ


ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
อาชีพ N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพือ่ สุขภาพ
ภาพรวม รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 38 4.08 0.61 2.332 0.032*
พนักงานบริษัทเอกชน 120 4.10 0.56
ธุรกิจสวนตัว 158 3.88 0.53
เกษตรกรรม 8 4.07 0.50
นักเรียน/นักศึกษา 9 3.84 0.54
รับจางทั่วไป 11 3.78 0.72
อาชีพอิสระ 41 4.03 0.57
รวม 385 3.99 0.56
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ กับปจจัยใน


การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ ในรายดานและ
ภาพรวม พบวา คา Sig.เพราะอาชีพมีความสอดคลองกับปจจัยในการใชบริการโดยบงบอกถึงสถานะ
กําลังทรัพยและความตองการในดานตางไอยางชัดเจน < 0.05 จํานวน 4 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง
ดานการออกแบบตกแตง ดานการบริการ และ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา F –test = 2.332, Sig. = 0.032 < 0.05 สรุปผลการทดสอบ
ไดวา ลักษณะสวนบุคคล ดานอาชีพ ที่ตางกัน มีผลตอปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
แตกตางกัน โดยนักทองเที่ยวที่อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จะใหความสําคัญตอปจจัยในการใช
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ สูงสุด โดยมีคาเฉลี่ย 4.10 รองลงมา คือ นักทองเที่ยวที่รับราชการ/
รัฐวิสาหกิจ มีคาเฉลี่ย 4.08 และ นักทองเที่ยวที่เกษตรกรรม มีคาเฉลี่ย 4.07 โดยกลุมที่ให
ความสําคัญต่ําสุด คือ กลุมรับจางทั่วไป มีคาเฉลี่ย 3.78 ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
4.4 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดตอเดือน กับปจจัยใน
การใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
99

ตารางที่ 4.17: ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดตอเดื อน กับ


ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
รายไดตอเดือน N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ดานทําเลที่ตั้ง ต่ํากวา 15,000 บาท 6 3.46 0.40 1.554 0.128
15,000 - 20,000 บาท 8 4.38 0.65
20,001 - 25,000 บาท 6 4.42 0.52
25,001 - 30,000 บาท 29 3.91 0.71
30,001 - 40,000 บาท 31 4.15 0.70
40,001 - 50,000 บาท 132 4.12 0.62
50,001 - 60,000 บาท 64 4.19 0.70
60,001 - 70,000 บาท 60 4.19 0.64
70,001 - 80,000 บาท 29 4.22 0.68
มากกวา 80,000 บาท 20 4.09 0.63
รวม 385 4.14 0.66
ดานการออกแบบตกแตง ต่ํากวา 15,000 บาท 6 3.38 0.56 1.335 0.217
15,000 - 20,000 บาท 8 4.28 0.76
20,001 - 25,000 บาท 6 4.25 0.88
25,001 - 30,000 บาท 29 3.85 0.63
30,001 - 40,000 บาท 31 4.12 0.66
40,001 - 50,000 บาท 132 4.10 0.68
50,001 - 60,000 บาท 64 4.16 0.70
60,001 - 70,000 บาท 60 4.08 0.68
70,001 - 80,000 บาท 29 4.00 0.85
มากกวา 80,000 บาท 20 3.99 0.69
รวม 385 4.07 0.70
(ตารางมีตอ)
100

ตารางที่ 4.17 (ตอ): ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดตอ


เดือน กับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
รายไดตอเดือน N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ดานการบริการ ต่ํากวา 15,000 บาท 6 3.63 0.55 0.504 0.872
15,000 - 20,000 บาท 8 3.85 0.57
20,001 - 25,000 บาท 6 4.13 0.66
25,001 - 30,000 บาท 29 3.93 0.61
30,001 - 40,000 บาท 31 3.96 0.67
40,001 - 50,000 บาท 132 3.96 0.61
50,001 - 60,000 บาท 64 4.07 0.60
60,001 - 70,000 บาท 60 3.98 0.66
70,001 - 80,000 บาท 29 4.06 0.62
มากกวา 80,000 บาท 20 3.97 0.67
รวม 385 3.98 0.62
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ต่ํากวา 15,000 บาท 6 3.17 0.71 1.147 0.328
15,000 - 20,000 บาท 8 3.55 0.64
20,001 - 25,000 บาท 6 3.50 0.56
25,001 - 30,000 บาท 29 3.69 0.90
30,001 - 40,000 บาท 31 3.70 0.80
40,001 - 50,000 บาท 132 3.80 0.74
50,001 - 60,000 บาท 64 3.82 0.77
60,001 - 70,000 บาท 60 3.65 0.77
70,001 - 80,000 บาท 29 3.54 0.76
มากกวา 80,000 บาท 20 3.51 0.66
รวม 385 3.71 0.76
(ตารางมีตอ)
101

ตารางที่ 4.17 (ตอ): ทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดตอ


เดือน กับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
ปจจัยในการใช
รายไดตอเดือน N x SD. F. Sig.
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ดานความเปนรีสอรทเพื่อ ต่ํากวา 15,000 บาท 6 3.78 0.71 0.129 0.999
สุขภาพ 15,000 - 20,000 บาท 8 4.11 0.90
20,001 - 25,000 บาท 6 4.00 0.90
25,001 - 30,000 บาท 29 4.03 0.70
30,001 - 40,000 บาท 31 4.01 0.70
40,001 - 50,000 บาท 132 4.02 0.71
50,001 - 60,000 บาท 64 4.06 0.71
60,001 - 70,000 บาท 60 4.06 0.75
70,001 - 80,000 บาท 29 4.06 0.79
มากกวา 80,000 บาท 20 4.05 0.69
รวม 385 4.03 0.72
ภาพรวม ต่ํากวา 15,000 บาท 6 3.48 0.40 0.818 0.600
15,000 - 20,000 บาท 8 4.03 0.52
20,001 - 25,000 บาท 6 4.06 0.58
25,001 - 30,000 บาท 29 3.88 0.60
30,001 - 40,000 บาท 31 3.99 0.60
40,001 - 50,000 บาท 132 4.00 0.55
50,001 - 60,000 บาท 64 4.06 0.57
60,001 - 70,000 บาท 60 3.99 0.57
70,001 - 80,000 บาท 29 3.97 0.57
มากกวา 80,000 บาท 20 3.92 0.54
รวม 385 3.99 0.56
102

ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกตางระหวางลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดตอเดือน กับ


ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ ในรายดาน
และภาพรวม พบวา คา Sig. >พราะรายไดสอดคลองตอการใชบริการ รายไดบงบอกสถานะและกําลัง
ทรัพยในการใชบริการและเลือกความสะดวกสบายในดานตางๆที่สามารถจายได 0.05 ทัง้ 5 ดาน
ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา F –test = 0.818, Sig. = 0.600 > 0.05 สรุปผลการทดสอบ
ไดวา ลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดตอเดือน ที่ตางกัน มีผลตอปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ ไมแตกตางกัน ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
สวนที่ 6 ทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญกับปจจัยในการใช
บริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ในสวนนี้เปนทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญกับปจจัย
ในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ สรุปผลงานวิเคราะหไดดังนี้
6.1 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานวัตถุประสงคการ
เดินทางมาเขาใหญและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.18: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานวัตถุประสงคที่เดินทางมาเขาใหญ และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานวัตถุประสงคที่เดินทางมาเขาใหญ
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 21.911 15 0.110 -
ดานการออกแบบตกแตง 10.568 15 0.783 -
ดานการบริการ 15.255 15 0.433 -
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 20.565 20 0.423 -
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 5.700 10 0.840 -
ภาพรวม 12.946 10 0.227 -
103

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานวัตถุประสงคท่ี
เดินทางมาเขาใหญ และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผล
การทดสอบ ในรายดานและภาพรวม พบวา คา Sig. > 0.05 ทัง้ 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง
ดานการออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 12.946, Sig. = 0.227 > 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานวัตถุประสงคที่เดินทางมาเขา
ใหญ ไมมีความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
6.2 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานการใชบริการที่พัก
รูปแบบรีสอรทและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.19: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานการใชบริการที่พักรูปแบบรีสอรทและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานการใชบริการที่พักรูปแบบรีสอรท
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 2.292 3 0.514 -
ดานการออกแบบตกแตง 0.449 3 0.930 -
ดานการบริการ 4.028 3 0.258 -
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 1.009 4 0.908 -
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 1.044 2 0.593 -
ภาพรวม 0.273 2 0.873 -

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานการใชบริการที่พัก
รูปแบบรีสอรทและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการ
ทดสอบ ในรายดานและภาพรวม พบวา คา Sig. > 0.05 ทัง้ 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการ
ออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
104

ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 0.273, Sig. = 0.873 > 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานการใชบริการที่พักรูปแบบรี
สอรท ไมมีความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่
0.05
6.3 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานประเภทรีสอรทที่เขา
พักและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.20: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานประเภทรีสอรทที่เขาพักและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานประเภทรีสอรทที่เขาพัก
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 14.462 9 0.011* 0.196
ดานการออกแบบตกแตง 6.800 9 0.007* 0.136
ดานการบริการ 9.887 9 0.036* 0.163
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 9.987 12 0.006* 0.164
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 22.858 6 0.001* 0.244
ภาพรวม 13.166 6 0.040* 0.188
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใช บริการที่พักในเขาใหญ ดานประเภทรีสอรทที่


เขาพักและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ
ในรายดานและภาพรวม พบวา คา Sig.เพราะการเลือกประเภทรีสอรทสอดคลองตอปจจัยในการใช
บริการโดยกลุมเปาหมายจะเลือกที่พักที่ เกิดความคุมคาตอการจายเงินและปจจัยตางๆที่อํานวยความ
สะดวกตรงตอความตองการของกลุมเปาหมาย < 0.05 ทัง้ 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการ
ออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
105

ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 13.166, Sig. = 0.040 < 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานประเภทรีสอรทที่เขาพัก มี
ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ โดยดานประเภทรีสอรทที่เขาพักมี
ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ ( C.
0.244) สูงสุด รองลงมา ดานทําเลที่ตั้ง ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ดานการบริการ และ ดานการ
ออกแบบตกแตง ตามลําดับ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
6.4 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานแหลงขอมูลในการเลือกที่ พกั
และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.21: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานแหลงขอมูลในการเลือกที่ พกั และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานแหลงขอมูลในการเลือกที่ พกั
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 30.366 30 0.447 -
ดานการออกแบบตกแตง 40.182 30 0.101 -
ดานการบริการ 20.243 30 0.910 -
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 32.462 40 0.796 -
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 17.935 20 0.592 -
ภาพรวม 28.640 20 0.095 -

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานแหลงขอมูลในการ
เลือกที่พักและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการ
ทดสอบ ในรายดานและภาพรวม พบวา คา Sig. > 0.05 ทัง้ 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการ
ออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
106

ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 28.640, Sig. = 0.095 > 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานแหลงขอมูลในการเลือกที่ พกั
ไมมีความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
6.5 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานรูปแบบการจองที่พกั และปจจัย
ในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.22: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานรูปแบบการจองที่พกั และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานรูปแบบการจองที่พกั
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 15.808 12 0.020* 0.205
ดานการออกแบบตกแตง 23.813 12 0.022* 0.249
ดานการบริการ 14.199 12 0.029* 0.195
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 14.068 16 0.006* 0.194
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 5.641 8 0.007* 0.124
ภาพรวม 16.024 8 0.042* 0.206
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานรูปแบบการจองที่
พักที่เขาพักและปจจัยในการใชบริการรีสอร ทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการ
ทดสอบ ในรายดานและภาพรวม พบวา คา Sig.เพราะรูปแบบการจองที่พักมีความสอดคลองตอ
ปจจัยในการเลือกใชบริการโดยการจองที่พักตองสะดวกและเขาถึงงายจึงทําใหกลุมเปาหมายตัดสินใจ
เลือกใชบริการในดานตางๆ < 0.05 ทั้ง 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการออกแบบตกแตง ดาน
การบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 16.024, Sig. = 0.042 < 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ด านรูปแบบการจองที่พกั มี
107

ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ โดยดานรูปแบบการจองที่พกั มี
ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานการออกแบบตกแตง (C. 0.249) สูงสุด
รองลงมา ดานทําเลที่ตั้ง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ดานความเปนรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ ตามลําดับ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
6.6 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานคาใชจายที่ พกั ตอคืน
และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.23: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานคาใชจายที่พกั ตอคืนและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานคาใชจายที่พกั ตอคืน
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 36.244 15 0.002* 0.302
ดานการออกแบบตกแตง 29.859 15 0.012* 0.276
ดานการบริการ 37.460 15 0.001* 0.307
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 37.017 20 0.012* 0.305
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 26.902 10 0.003* 0.263
ภาพรวม 33.431 10 0.000* 0.291
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานคาใชจายที่พกั ตอ


คืนและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ ใน
รายดานและภาพรวม พบวา คา Sig.เพราะ < 0.05 ทัง้ 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการ
ออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 33.431, Sig. = 0.000 < 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานคาใชจายที่พักตอคืนมี
108

ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ โดยดานคาใชจายที่พักตอคืนมี
ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานการบริการ(C. 0.307) สูงสุด รองลงมา
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการออกแบบตกแตง และดานความเปนรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ ตามลําดับ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
6.7 ทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานระยะเวลาการเขาพัก
และปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 4.24: แสดงผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ


ดานระยะเวลาการเขาพักและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

(n = 385)
พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ
ดานระยะเวลาการเขาพัก
ปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Contingency
Chi – Square df. Sig.
Coefficient
ดานทําเลที่ตั้ง 18.163 9 0.033* 0.219
ดานการออกแบบตกแตง 15.045 9 0.009* 0.200
ดานการบริการ 17.968 9 0.036* 0.218
ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 7.235 12 0.008* 0.140
ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ 2.208 6 0.009* 0.178
ภาพรวม 12.078 6 0.006* 0.180
* อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

ผลการทดสอบความสัมพันธพฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานระยะเวลาการเขา
พักและปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบ ใน
รายดานและภาพรวม พบวา คา Sig. เพราะระยะเวลาในการเขาพักมีความสอดคลองกับปจจัยในการ
ใชบริการ ระยะเวลาที่กลุมเปาหมายจะพักอาจขึ้นอยูกับปจจัยดานบริการตางๆภายในรีสอรทมีผลทํา
ใหกลุมเปาหมายยืดระยะเวลาในการพักเพิ่มขึ้น < 0.05 ทัง้ 5 ดาน ไดแก ดานทําเลที่ตั้ง ดานการ
ออกแบบตกแตง ดานการบริการ ดานสิ่งอํานวยความสะดวก และ ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
109

ทดสอบในภาพรวม พบวา คา Chi – Square test = 12.078, Sig. = 0.006 < 0.05
สรุปผลการทดสอบ ไดวา พฤติกรรมการใชบริการที่พักในเขาใหญ ดานระยะเวลาการเขาพักมี
ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ โดยดานระยะเวลาการเขาพักมี
ความสัมพันธกับปจจัยในการใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานทําเลที่ตั้ง (C. 0.219) สูงสุด รองลงมา
ดานการบริการ ดานการออกแบบตกแตง ดานความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ ดานสิ่งอํานวยความ
สะดวก ตามลําดับ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
บทที่ 5
การกําหนดรูปแบบธุรกิจ

จากการศึกษาขอมูลที่ไดจากการเอกสารงานวิจัยการวิเคราะหแบบสอบถามจากนักทองเที่ยว
และการประมวลผลการสัมภาษณจากผูประกอบการดานธุรกิจที่พักรีสอรทเชิงธรรมชาติและ
ผูประกอบการที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานการสรางธุรกิจสามารถสรุปเปนแนวทางในการกําหนด
รูปแบบธุรกิจของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ (Mushroom Clay House Resort) ไดดังนี้

5.1 ภาพลักษณ วิสัยทัศน และ พันธกิจ


5.1.1 ภาพลักษณของบริษทั
เปนผูนําการใหบริการสถานีพักประเภทรีสอรทดานสุขภาพและเชิงอนุรั กษธรรมชาติสําหรับ
กลุมที่มีพฤติกรรมดูแลรักษาสุขภาพและชื่นชอบธรรมชาติโดยมุงเนนการทองเที่ยวและพักผอนที่ไดรับ
สุขภาพที่ดีและสัมผัสกับแหลงธรรมชาติอยางแทจริงและการใชบริการดานการบริการแบบครบวงจร
เพื่อตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวที่ชอบการทองเที่ย วในรูปแบบนี้
5.1.2 วิสัยทัศน
รีสอรทเพื่อสุขภาพ (Mushroom Clay House Resort) เปนสถานที่พักที่ใหความสําคัญดาน
สุขภาพอยางครบวงจรโดยการใหบริการดวยใจและสงเสริมการดูแลสุขภาพอยางแทจริงเปนสถานที่
สรางความสัมพันธสําหรับครอบครัวและเปนผูนําในการสราง Community ของคนรักสุขภาพและ
ชอบการพักผอนทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ
5.1.3 พันธกิจ
ใหบริการผูพักผอนอยางเปนกันเองเหมือนครอบครัวและดูแลสุขภาพดวยความเต็มใจมอบ
ความสุขกายสบายใจใหแกผูมาพักอยางเต็มที่และพัฒนาใหเปนที่พักดานสุขภาพอยา งครบวงจรอยาง
ตอเนื่อง
รีสอรทจะไดรับความนาเชื่อถือและไววางใจจากผูมาพักและจากผูประกอบการธุรกิจประเภท
เดียวกันจนกลายเปนผูนําดานที่พักเพื่อสุขภาพ
รีสอรทจะพัฒนาดานการบริการในดานสุขภาพใหควบคูไปกับธรรมชาติบําบัดใหครบวงจรจน
เปนแหลงที่พักเพื่อสุขภาพอยางแทจริงเพื่อใหผูมาพักไดรับประโยชนที่มากกวาการมาพักผอน
ทองเที่ยว
111

5.2 เปาหมาย
5.2.1 รีสอรทเปนผูนําดานการบริการที่พักดานสุขภาพ และไดรับการยอมรับจาก
นักทองเที่ยวรูปแบบนี้
5.2.2 รีสอรทเปนผูนําดานการสงเสริมใหคนดูแลรักษาสุขภาพ และเปนผูนําดานการขาย
ผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพสําหรับคนรักสุขภาพและตองการดูแลสุขภาพใหกับผูอื่นและตนเอง
5.2.3 รีสอรทเปนผูนําดานกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ ในรูปแบบการทองเที่ยวพักผอนเชิง
ธรรมชาติในเขาใหญ

5.3 วัตถุประสงค
5.3.1 เพื่อสงเริมการดูแลสุขภาพและการบริโภคอาหารของมนุ ษยในปจจุบัน
5.3.2 เพื่อศึกษาถึงแนวโนมในการเปลี่ยนแปลงใหมนุษยหันมาดูแลสุขภาพกันมากขึ้นใน
อนาคต
5.3.3 เพื่อจัดสรางสถานที่ทองเที่ยวพักแรมเชิงอนุรักษธรรมชาติสงเสริมคุณภาพชีวิตและ
สภาพจิตใจของมนุษยใหไดผอนคลายและมีสุขภาพที่ดี

5.4 กลยุทธของบริษัท
5.4.1 รีสอรทจะตองศึกษาแนวโนมของธุรกิจ ที่พักและการทองเที่ยวและคูแขงอยางสม่ําเสมอ
5.4.2 รีสอรทจะสราง Community ของคนรักธรรมชาติชอบการทองเที่ยวและรักสุขภาพ
เหมือน ครอบครัว เดียวกัน
5.4.3 รีสอรทจะตองจับกระแสกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) ที่กําลังจะเปดป2558
เพื่อวางแผนการใหบริการใหตรงตามความตองการของนักทองเที่ยวที่มาใชบริการพักผอน

5.5 กลุมเปาหมาย
5.5.1 นักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติ เชน ครอบครัว เพื่อน
5.5.2 นักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติชอบการพักผอนทองเที่ยวชอบธรรมชาติ และรัก
สุขภาพ

5.6 ลักษณะของธุรกิจ
5.6.1 ธุรกิจประเภท รีสอรท ชื่อ Mushroom Clay House Resort ตามความหมายของชื่อ
คือ บานดินทรงเห็ด ซึ่งเปนธุรกิจประเภทที่พักเชิงอนุรักษธรรมชาติและเปนการใหความสําคัญดาน
สุขภาพกับผูที่มาพักผอนทองเที่ยว ทั้งในดานสถานที่อาหาร กิจกรรมภายใน รีสอรท ระหวางการ
112

พักผอน เปรียบเสมือน Community ของผูที่มีความรักในธรรมชาติและใหความสําคัญดานสุขภาพ


รวมทั้งชอบการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ โดยมีการแบงการใหบริการเบื้องตนดัง นี้
แหลงรายไดของโครงการฯมาจาก 4 กลุมกิจกรรมประกอบดวย
1. รายไดคาบริการที่พักรีสอรท
2. รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร (กลุมทัวรและโรงเรียน)
3. รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก
4. รายไดจากกิจกรรมอื่นๆของโครงการฯ (เก็บเห็ดกลับบานและจักรยานน้ํา-บก)
5. รายไดจากการขายเต็นทกับลูกคาขาจร
6. รายไดจากการใชพื้นที่ในการจัดคอนเสิรต
5.6.2 ลายละเอียดการบริการธุรกิจดานรีสอรทในปจจุบัน รีสอรทเปนธุรกิจรูปแบบที่พักคาง
คืนทั้งในระยะสั้นและยาว เนนสภาพแวดลอมที่มีธรรมชาติ โดยรีส อรทสวนใหญจะใหความสําคัญดาน
ที่พักและอาหารเพียงเทานั้นบางสถานที่ไมใหความสําคัญกับการพักผอนในดานสุขภาพกายและใจ
รวมถึงกิจกรรมที่ลุกคาไดรับทํากันระหวางการพักผอน และในดานอาหารอาจมีเพียงอาหารเชา
สําหรับหองพิเศษที่จายในราคามากกวาหองปกติที่ระดับราคาแตกตางกัน การจัดตั้งรีสอรทเพื่อ
สุขภาพจะใหความสําคัญดานการดูแลสุขภาพของลูกคาและมีกิจกรรมภายในรีสอรทใหมากขึ้นเพื่อ
สราง Community สําหรับคนที่รักธรรมชาติดูแลสุขภาพ เพื่อจัดเปนสถานที่รีสอรทเชิงการทองเที่ยว
นอกเหนือจากการเปลี่ยนสถานที่พักผอนเพียงอยางเดียว การพักผอนเชิงการทองเที่ยวธรรมชาติจึง
ตอบโจทยชีวิตคนเมืองที่ตองการปลีกตัวจากความวุนวายเพื่อพักผอนกายใจและไดรับอากาศที่บริสุทธิ์
โดยรีสอรทจะใหความสําคัญดานสุขภาพกายและใจที่เปนไปอยางธรรมชาติใหไดมากที่สุดเพราะดวย
สภาพพื้นที่และอากาศตั้งอยูในแหลงธรรมชาติและใหความรูสึกถึงความเปนรีสอรท ดังนั้น ความเปนรี
สอรทที่มีอากาศบริสุทธิ์ และมีความเปนธรรมชาติจึงตองมีอาหารที่ดีตอสุขภาพดวยโดยรีสอรทจะมี
อาหารเพื่อสุขภาพโดยใชเห็ดเปนสวนประกอบสําคัญโดยคุณประโยชนของเห็ดที่มีมากจึงนําเห็ดมาใช
ในการทําอาหารและเปนจุดขายของรีสอรทนี้ดวย ในอาหารบางชนิดอาจมีเนื้อสัตวทะเลเปน
สวนประกอบอยูเนื่องดวยลุกคาบางคนไมสามารถทานเห็ดได เนื้อสัตวทะเลเปนเนื้อสัตวประเภทเบา
ทองและมีประโยชนตอรางกายหลายดานจึงนําเนื้อสัตวทะเลเชน กุง หอย ปู ปลา มาผสมในอาหาร
บางประเภท ในสวนของกิจกรรมของรีสอรทจะมีกิจกรรมใหผูที่มาพักทําเปนหมูคณะ ผูที่มาพักจะได
ทํากิจกรรมรวมกัน โดยมีการอบรมดานการเพาะเห็ดและนํากลับบานได และมีการสอนวิธีการสราง
บานดินโดยผูเชี่ยวชาญ รวมถึงในดานการบริการตางๆ สปาจากธรรมชาติ พายเรือ จักรยาน ตรวจ
สุขภาพ สระวายน้ําออนเซน เพื่อใหผูพักไดรับประโยชนและคุมคาตอการมาพักมากที่สุด นอกจากนี้
ยังมีบริการขายสินคาประเภทตางๆในดานสุขภาพและสินคาที่แปรรูปจากเห็ดรวมถึงสินคาของฝาก
อื่นๆเชน เคสโทรศัพท แกวน้ํา หมวก กระเปา ลายเห็ด เพื่อนํากลับไปเปนที่ระลึ กและของฝาก
113

ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพจึงเปนธุรกิจที่ตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวที่รักสุขภาพและ
สงเสริมคุณภาพชีวิตของคนเมืองที่ตองการใกลชิดธรรมชาติเพื่อใหรางกายไดรับอากาศที่บริสุทธิ์และ
ไดทํากิจกรรมตางๆรวมกันภายในครอบครัวหรือเพื่อนๆที่มากกวาการแคมาเพื่อเปลี่ยนสถานที่
พักผอนเทานั้น
ชื่อเครื่องหมายการคาธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ภาพที่ 5.1: เครื่องหมายการคาธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ

รูปแบบสถานที่พักภายนอกมีลักษณะเปนทรงเห็ดชนิดตางๆโดยมีสวนหลังคาที่แตกตางกัน
ตามสายพันธุ
ลักษณะภายในภายนอกบานเห็ด
ตัวอยางลักษณะภายใน
114

ภาพที่ 5.2: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดเล็ก


115

ภาพที่ 5.3: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดกลาง


116

ภาพที่ 5.4: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดใหญ


117

ภาพที่ 5.5: แบบตัวอยางภายในบานเห็ดจัมโบ


118

ตัวอยางลักษณะภายนอกแบบบานพักทรงเห็ด

ภาพที่ 5.6: บานเห็ดเล็ก 2 คน ราคา 4,000 จํานวน 15 หลัง ขนาด 30 ตรม.

ภาพที่ 5.7: บานเห็ดกลาง 3-5 คน ราคา 5500 จํานวน 30 หลัง ขนาด 35 ตรม.
119

ภาพที่ 5.8: บานเห็ดใหญ 6-7 คน 2 ชั้น ราคา 6500 จํานวน 10 หลัง ขนาด 80 ตรม.

ภาพที่ 5.9: บานเห็ดจัมโบ2ชั้นดานใน 8-10 คน ราคา 7500 จํานวน 5 หลัง ขนาด 136 ตรม .
120

ภาพที่ 5.10: ลักษณะเต็นท

เต็นทโดมขนาดกลาง 2.4m. x 3.0m. สูง 170cm. สูงพอที่ยืนไดโดยไมตองกม กวางขวางเกิน


พอสําหรับ 4 คนและสัมภาระ เหมาะมากสําหรับครอบครัวที่ตองการเตนทที่มีที่เหลือเฟอและกางได
งายๆ มีระเบียงดานหนาสําหรับนั่งพักผอน มีหนาตางเปนมุงรอบดานเพื่อการถายเทอากาศ ฟลายชี๊ต
เคลือบกันน้ําอยางดี เสาเปนไฟเบอรอยางดีไมแตกหักงาย
กันน้ําระบบ WeatherTec System ของ Coleman
121

5.7 รูปแบบโดยรวมของรีสอรท

ภาพที่ 5.11: ตัวอยางรูปแบบโดยรวมของรีสอรท

5.8 พื้นที่ดินในการสราง
พื้นที่ดินขนาด 8 ไร 2 งาน กลางดง ฝงขาขึ้นโคราชหางจากถนนมิตรภาพประมาน400เมตร
วิวสวย อากาศดี ใกลฟารมโชคชัย ตลาดน้ํากลางดง โรงพยาบาลภูมิพล ไรสุวรรณ รานอหาร

ภาพที่ 5.12: รูปพื้นที่ดินของโครงการ

ลักษณะการบริการดานอาหารผลิตภัณฑและกิจกรรมตางๆ
1.มีการบริการดานอาหารเพื่อสุขภาพ เห็ด ผั ก และอาหารประเภททะเล
2.บริการดานการเยี่ยมชมโรงเพาะเห็ดและเก็บเห็ด
122

3.บริการดานการเรียนรูการสรางบานดวยดิน
4.บริการดานการขายผลิตภัณฑจากเห็ดและของที่ระลึก
5.บริการกิจกรรมเพื่อความผอนคลายตางๆ
การบริการดานอาหาร
เนนการใหผูบริโภคไดรับประโยชนในการมาพักผอนดวยอาหารเพื่อสุขภาพ โดยเห็ด ที่ให
คุณคาทางอาหารสูงและมีประโยชนหลายดานตอสุขภาพ และอาหารประเภททะเลเพื่อลองรับ
ผูบริโภคที่ไมสามารถรับประทานเห็ดได เนื้อสัตวทะเลเปนอาหารประเภทที่ไมหนักตอรางกายและให
ประโยชนหลายดานตอสุขภาพเชนกัน

ภาพที่ 5.13: ตัวอยางอาหารประเภทตางๆ


123

ภาพที่ 5.14: ตัวอยางหองอาหารสรางดวยดินหองอาหารสรางดวยดินใหความเย็นสบาย ขนาด 80


ตรม 1 หลัง

1 การบริการดานการเยี่ยมชมโรงเพาะเห็ดเก็บเห็ด
โรงเพาะเห็ดทรงกลมใหผูมาพักไดเยี่ยมชมละเก็บกลับบานในราคาตะกราละ 20 บาท
โรงเรือนเพาะเห็ดขนาด 5*10 เมตร ราคาเหมา 9 หลัง กอนเชื้อเห็ดทั้งหมด 9 ชนิด
124

ภาพที่ 5.15: ตัวอยางโรงเรือนเพาะเห็ด

1.1 บริการดานการเรียนรูการสรางบานดินและปนดินเผา
ผูที่มาพักจะไดเรียนรูวิธีการสรางบานดวยดินและสอนการปนดินเผาโดยในการบริการนี้จะ
ใหบริการคณะทัวรโดยมีคาใชจาย 300 บาท ตอคน โดยมีผูเชี่ยวชาญในการใหความรู
บานเห็ดเพื่อการอบรมใหความรูดานการสราง บานดินขนาด 180 ตรม 1หลัง
125

ภาพที่ 5.16: ตัวอยางโรงเรือน

4.1 บริการดานการขายผลิตภัณฑ
ภายในรีสอรทมีการจําหนายผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑจากเห็ด และ ของฝากทีระลึก
บานเห็ดขายผลิตภัณฑและที่รับรองลูกคา 130 ตรม 1หลัง
126

ภาพที่ 5.17: ตัวอยางติดตอรับรองลูกคาและรานคา


127

ภาพที่ 5.18: ตัวอยางสินคาผลิตภัณฑรับประทาน

ภาพที่ 5.19: ตัวอยางสินคาประเภทของที่ระลึก


128

5.9 การบริการดานกิจกรรมตางๆ
มีบริการสปาใหกับลูกคาและถีบจักรยานน้ําและจักรยานบกเผื่อความผอนคลายใหกับลูกคา
ตัวอยางบานเห็ดสปา

ภาพที่ 5.20: แสดงภาพตัวอยางกิจกรรมภายในรีสอรท


129

ภาพที่ 5.21: กิจกรรมถีบจักรยานน้ํา

การกําหนดกลยุทธองคกร
สําหรับการกําหนดกลยุทธของการดําเนินธุรกิจของโครงการจัดตั้ง รีสอรทเพื่อสุขภาพ
ภายใตชื่อ Mushroom Clay House มีการกําหนดรายละเอียดของกลยุทธในแตละขั้นตอน
ดังตอไปนี้
การวิเคราะห SWOT
จุดแข็ง(Strength)
- เปนรีสอรทเพื่อสุขภาพอยาครบวงจร ในดานสถานที่ อาหาร และกิจกรรม
- เปนสถานที่ในการสรางความสัมพันธในครอบครัวและเพื่อนๆเปนหมูคณะรองรับ
นักทองเที่ยว ไดมากและเฉลี่ยตอคนถูก
- รูปแบบที่พักสรางจุดเดน และแปลกตาใหกับผูพบเห็น
จุดออน (Weakness)
- รีสอรทยังไมเปนที่รูจัก
- ตอบสนองไดเฉพาะกลุม คนที่รักสุขภาพ ชอบธรรมชาติ การพักผอนนอกสถานที่
โอกาส (Opportunity)
- กระแสคนรักสุขภาพกําลังเปนที่นิยม
- การเขาสูประชาคมอาเซียนสงผลดีตอธุรกิจการทองเที่ยวที่พัก
- เทคโนโลยีในปจจุบันสงผลดีตอการทําธุรกิจ ที่เขาถึงคนงายขึ้น
อุปสรรค (Threat)
- ธุรกิจนี้มีคูแขงมาก
-ไดจํานวนลูกคามากเฉพาะวันหยุด
130

5.10 การวิเคราะห TOWS


S-O Strategies
- มีรูปแบบที่พักแตกตางไมเหมือนใครเปนจุดเดนและมีจุดขายที่ชัดเจนในดานการใหสิ่งที่ดี
ตอสุขภาพ
S-T Strategies
- สรางกิจกรรมใหมๆภายในรีสอรทเชน กิจกรรม Extreme ตางๆใหเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับนักทอง
ที่มาเปนหมูคณะและรักษาการเปนผูนํารีสอรทเพื่อสุขภาพอยางครบวงจรสรางกิจกรรมใหรวมสนุกชิง
รางวัล เชน กิจกรรมแลนรี่หรือกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการดูแลสุขภาพ
W-O Strategies
- เนื่องจากลูกคาบางคนไมสามารถบริโภคเห็ดไดดังนั้นจึ งมีการจัดเมนูอาหารประเภททะเลขึ้น
เพื่อรองรับลูกคา
W-T Strategies
- คิดโปรโมชั่นใหมๆแตกตางจากคูแขงอยางสม่ําเสมอเพื่อดึงลูกคาใหเขามาพักในวันธรรมดา
ใหมากขึ้น

5.11 การกําหนดกลยุทธขององคกร
การกําหนดกลยุทธ ของธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom clay house นั้น เปนการ
พัฒนาแผนระยะยาวบนรากฐานของโอกาสและอุปสรรค ที่ไดจากการวิเคราะหสภาพแวดลอม
ภายนอก และการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออนที่ไดจากการวิเคราะห โดย ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Mushroom clay house จะเลือกกลยุทธที่ดีที่สุดที่เหมาะสมกับองคกรที่สุดการกําหนดกลยุทธใน
การเลือกกลยุทธของ ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom clay house จะประกอบดวย
1.กลยุทธระดับองคกร (Corporate Strategy) เปนกลยุทธรวมขององคกรทีจ่ ะแสดงถึงแนว
ทางการดําเนินธุรกิจ ทุกอยางในอนาคตของธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom clay house
- กลยุทธการเจริญเติบโต Growth strategies โดยการที่ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ
Mushroom clay house ไดเลือกกลยุทธนี้ในการดําเนินธุรกิจ เพื่อที่จะใหธุรกิจมีการขยายตัว และมี
สวนแบงทางการตลาดมากขึ้น อาจเปนการหาตลาดใหม หรือกลุมเปาหมายที่วางไว โดยทางธุรกิจรี
สอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom clay house ไดทําการสรางความแตกตางใหกับธุรกิจในรูปแบบที่มี
ความชัดเจนในการใหบริการมากขึ้นเพื่อรองรับตลาดใหมหรือกลุมเปาหมายที่สนใจใหเกิดความ
แตกตางจากธุรกิจรีสอรททั่วไปโดยการสรางจุดขายที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายไดโดยงาย
2.กลยุทธระดับธุรกิจ (Business strategy)
-กลยุทธการสรางความแตกตางของผลิตภัณฑ (Differentiation strategy)
131

โดยธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom clay house จะนําเสนอความแปลกใหมในรูปแบบของ


ลักษณะที่พักที่มีจุดเดนและชัดเจนวาเปนรีสอรทประเภทอะไรและใหการบริการอยางไรและสราง
ความแตกตางในรูปแบบของการใหบริการอยางชัดเจนในดานสุขภาพที่แตกตางจากที่อื่นๆโดยจะเนน
ใหความสําคัญกับการพักผอนของลูกคาและดูแลสุภาพดานอาหารของลุกคาดวยและนวัตกรรมที่
แตกตางจากคูแขงคือการใชตูเย็นที่ทําจากดินโดยไมตองใชไฟฟาและตัวบานสรางจากดินเพื่อความ
เปนธรรมชาติสรางความรูสึกผอนคลายและความเปนธรรมชาติอยางแทจริง ตอบโจทยความตองการ
ใหกับลูกคาที่รักสุขภาพและธรรมชาติ
3.กลยุทธระดับปฏิบัติการ (Operational Strategy)
-กลยุทธดานการตลาด โดยการมุงเนนการสรางผลิตภัณฑ เพื่อตอบสนองกลุมตลาด
เปาหมายใหมีความชัดเจน คือ การจําแนกกลุมลูกคาเปาหมาย แลวสรางผลิตภัณฑตอบสนองเฉพาะ
กลุมขึ้น เชน เมนูอาหารประเภทสุขภาพสําหรับคนที่ชอบเห็ด และรักสุขภาพ เปนตน
-กลยุทธการจัดการทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management strategy) โดย
การกําหนดกลยุทธการจัดการทรัพยากรมนุษย โดยคํานึงถึงหนาที่ในการจัดการทรัพยากรมนุษยไดแก
การใชทรัพยากรมนุษยใหเกิดประโยชนสูงสุดการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคกรใหมีความพรอม
และมีความสามารถตรงกับความตองการขององคกร ใชวิธีจูงใจพนักงานในองคกรใหปฏิบัติงานเปนไป
ตามความตองการขององคกร และการมุงเนนการสรางขวัญและกําลังใจใหพนักงานในองคกรถา
ทรัพยากร บุคลากร มีคุณภาพ รักในงานที่ทํา ทํางานแลวมีความสุข งานก็จะออกมามีคุณภาพ โดย
เฉพาะงานทางดานนี้ ตองใชไหวพริบในการแกปญหาเฉพาะหนาไดตลอดเวลาและมีความ
กระตือรือรนและอดทนตอการทํางาน เพื่อใหลูกคาเกิดความพึ่งพอใจ ทรัพยากรมนุษยจึงเปนอีก
ปจจัยหนึ่ง ที่มีความสําคัญกับองคกรมาก
-กลยุทธในการวิจัยและพัฒนา (Research and development strategy) การ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและสภาพแวดลอม ทําใหสินคา และบริการเกิดความลาสมัย และไมทนั ตอ
การแขงขัน การที่ทําการวิจัยและพัฒนานั้น จะใหองคกรไดทาบถึง ความตองการที่แทจริงของลูกคา
และตลาด โดยจะกําหนดกลยุทธในการดําเนินงานวิจัยดังนี้
-Innovative R&D Strategy เปนกลยุทธในการวิจัย และพัฒนาสินคา และบริการใหมๆ โดย
มุงเนนใหสินคา และบริการ เกิดความแตกตางจากคูแขงขัน และทําใหลูกคามีทางเลือกสําหรับสินคา
และบริการใหมๆอยูตลอดเวลา
132

5.12 กลยุทธสวนประสมทางการตลาด
ผูวิจัยเลือกใช กลยุทธสวนประสมทางการตลาด เพื่อทําใหโครงการ Memories studio
ประสบผลสําเร็จ และตอบสนองความตองการ ของกลุมเปาหมายไดอยางสูงสุด ประกอบดวย 4P
ผลิตภัณฑ(Product) , ราคา (Price) , สถานที่ (Place) , การสงเสริมการขาย (Promotion)
Product รีสอรทที่พักเพื่อสุขภาพทําจากดินทรงเห็ดมีการบริการดานอาหารเพื่อสุขภาพและ
กิจกรรมใหผอนคลาย
Price ราคาบานพัก ตั้งแต 4500-8500 โดยราคาจะแบงตามขนาดและจํานวนคน
Place เขาใหญซึ่งเปนแหลงทองเที่ยวธรรมชาติที่ติดอันดับในดานอากาศที่ดีตลอดป
Promotion ประชาสัมพันธในดานโปรโมชั่นผานชองทาง โซเชียวมีเดียเขาถึงกลุมเปาหมายงาย

ภาพที่ 5.22: การวางตําแหนงผลิตภัณฑ


133

ภาพที่ 5.23: ตาราง Value Chain


134

ภาพที่ 5.24: โครงสรางองคกร

สายการงานบริหาร มีหนาที่วางแผนดําเนินงาน บริหาร ควบคุม กําหนดเปาหมาย สราง


ความสัมพันธของบุคคลากรทั้งภายนอกและภายในสายปฏิบัติการ มีหนาที่ใหบริการลูกคาที่มาใช
บริการ พรอมทั้งพัฒนางานใหมๆ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา

5.13 การบริหารจัดการภายในองคกร
การพัฒนาลักษณะทางภาพลักษณของรีสอรท เนน การบริการที่ประทับใจ การแตงกายของ
พนักงาน อัธยาศัยของพนักงานทุกคน การตกแตงภายในภายในรีสอรท เพื่อสรางภาพลักษณ ที่ดีใหมี
ความแตกตางจากคูแขงการประสานงาน เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับคน เวลา และสิ่งอํานวย
ความสะดวกตางๆเพื่อจะทําใหการเปลี่ยนแปลงบรรลุผลสําเร็จ โดยประสานงานดังนี้ ประสานงานกับ
ฝายการปฏิบัติงานฝายตางๆ ทั้งภายในและภายนอกองคกร ใหดําเนินไปดวยกันดวยความราบรื่น
ปรับการทํางานในสวนตางๆ ใหมีประสิทธิภาพมากที่สุดกําหนดเวลาการทํางานในแตละชวง และ
สรางความสัมพันธอันดีใหเกิดขึ้น ทั้งภายในและภายนอกองคกรระดับ Top Level management
135

รับผิดชอบภาพรวมทั้งบริษัท กําหนดกลยุทธ งบประมาณ ดูแลควบคุมบุคลากรในสวนตางๆใหปฏิบัติ


ตามหนาที่ ที่กําหนดไว เพื่อใหการทํางานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

ตารางที่ 5.1: แสดงจํานวนและอัตราเงินเดือนพนักงาน

ตํา แหนง เงินเดือน (บาท) จํานวน (คน) รวม/เดือน (บาท) รวม/ป (บาท)
ตนทุนการบริการ
พนักงานทําความสะอาด 9,000 4 36,000 432,000
พนักงานตอนรับ 15,000 2 30,000 360,000
พนักงานเข็นกระเปา 9,000 2 18,000 216,000
พนักงานดูแลลูกคา 9,000 2 18,000 216,000
พนักงานขายสินคาในshop 9,000 1 9,000 108,000
พนักงานทําครัว 9,000 3 27,000 324,000
พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด 15,000 1 15,000 180,000
ผูเชี่ยวชาญดานบานดิน 15,000 1 15,000 180,000
พนักงานทําสปา 9,000 2 18,000 216,000
พนักงานรักษาความปลอดภัย 9,000 1 9,000 108,000
รวม 19 195,000 2,340,000
ค าใช จายในการขายและบริ หาร
ผูจัดการทั่วไป 35,000 1 35,000 420,000
พนักงานบัญชี/การเงิน 15,000 1 15,000 180,000
รวม 2 50,000 600,000
เงินเดือนพนักงานทั้งหมด 21 245,000 2,940,000

ผูจัดการรีสอรท ทําหนาดูแลทุกหนวยงานตั้งฝายการตลาด ฝายบัญชีการเงิน และฝายการ


ปฏิบัติงานดูแลและคอยแกไขปญหาตางๆในหนวยงานที่มีปญหาและตองการความชวยเหลือรวมไปถึง
การพัฒนาองคกรและบุคคลากรใหรักษาระดับคุณภาพที่ดีตอไปเรื่อยๆ
ฝายบัญชี-การเงิน ทําหนาที่รับผิดชอบ การจัดทําบัญชีตางๆ เชน บัญชีรายวัน , บัญชีกําไร
ขาดทุน และ บัญชีงบดุล จัดการเรื่องเบิกจายตางๆ จัดการเพื่อนการจัดซื้อ
136

พนักงานตอนรับ ทําหนาที่ตอนรับลูกคารับลูกคาเขาพัก และ ตรวจสอบหองพักในการ


รับรองลูกคาแนะนําโปรโมชั่นและการบริการใหกับลูกคาอยางมีประสิทธิภาพและชัดเจนใหลูกคาเกิด
ความเขาใจ
พนักงานดูแลลูกคา ทําหนาที่ดูแลลูกคาในเรื่องการเยี่ยมชมสถานที่และการแกไขเมื่อลูกคา
เกิดปญหาตางๆใหเปนไปอยางราบรื่นและลูกคาเกิดความพึ่งพอใจ
พนักงานขายสินคา ทําหนาดูแลสินคาภายในราน และแนะนําสินคาตางๆใหกับลูกคา เพื่อให
ลูกคาเกิดแรงจูงใจที่จะซื้อสินคา
พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด ทําหนาที่สั่งกอนเชื้อเห็ดเพื่อนํามาเพาะและดูแลเห็ดแตละชนิด
ใหเติบโตพรอมเก็บ
ผูเชี่ยวชาญในการสอนการสรางบานดวยดินและปนดินเผา ทําหนาที่ในการสอนคณะทัวร
ที่มาพักเพื่อเรียนรูในการทํากอ นดินในการสรางบานและแนะนําวีธีและประโยชนของบานดินและสอน
การลงมือปนดินเผาในรูปแบบตางๆ

5.14 กําหนดภารกิจโครงสรางจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ
การกําหนดภารกิจโครงสรางจัดตั้งธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom Clay House
Resort มีรายละเอียดดังตอไปนี้
ชวงแรก : ดําเนินการสรางรีสอรท ปรับสภาพพื้นที่และกอสรางบานพัก
เปาหมาย : ใหรีสอรทออกมาในรูปแบบธรรมชาติ รมรื่น และบานพักรูปทรงเห็ดเพื่อรองรับ
ลูกคา ในขณะที่อยูในชวงการกอสรางสวนตางๆ เริ่มมีการประชาสัมพันธและออกบูทตามงาน
ทองเที่ยวตางๆและลงโฆษณาทางโซเชียวมีเดียเพื่อใหลูกคาไดรูจักรีสอรท
กลยุทธในการเจริญเติบโต : ใหลูกคาไดทราบถึงการบริการที่ชัดเจนและการดึงดูดดวย
รูปลักษณที่สวยงามแปลกตาและไดรับประโยชนในดานตางๆใหมากที่สุด
กลยุทธดานผลิตภัณฑ : ประชาสัมพันธใหลูกคาไดรับรูถึงความแตกตางของผลิตภัณฑหรือ
การบริการตางๆของรีสอรทแตไมเหมือนคูแขงเพื่อดึงดูดใจลูกคา
ชวงที่ 2 : การสรางรีสอรทดําเนินการตกแตงพื้นที่โดยรวมใหสวยงาม
เปาหมาย : ในสวนบานพักของรีสอรทเสร็จสมบูรณแลว
กลยุทธการเจริญเติบโต : ทีการเริ่มทําโปรโมชั่นการจองลวงหนา ใหดึงดูดลูกคาใหเขามา
ลองใชบริการเขาพัก
กลยุทธดานผลิตภัณฑ : มีนําเสนอการบริการที่ลูกคาจะไดรับเมื่อเขาพักเพื่อใหลูกคาเกิด
ความพึ่งพอใจในการตัดสินใจซื้อ
137

ชวงที่ 3 : การเปดตัวรีสอรทอยางเปนทางการ
เปาหมาย : กลุมลูกคาที่จองมาใชบริการและใหบริการลูกคาอยางมีคุณภาพเพื่อสรางความ
ประทับใจใหกับลูกคา
กลยุทธการเจริญเติบโต : ทําโปรโมชั่นสวนลดใหกับลูกคาตอไปเพื่อขยายฐานลูกคาใหรีสอรท
เปนที่รูจักในวงกวาง
กลยุทธดานผลิตภัณฑ : พัฒนาผลิตภัณฑและรักษาคุณภาพการบริการที่ดีอยูเสมอเพื่อให
ลูกคาเกิดความพึ่งพอใจและมีการบอกตอเพื่อเพิ่มฐานลูกคากลุมใหม
ชวงที่ 4 : การดําเนินการบริหารในอนาคต
เปาหมาย : เปนผูนํารีสอรทเพื่อสุขภาพ อยางครบวงจร เพื่อขยายฐานลูกคาเพิ่มขึ้นและคง
ความเปนรีสอรทที่มีชื่อเสียงในดานการดูแลสุขภาพของลูกคาที่มาพักอยางมีคุฯภาพและความเปน
ธรรมชาติอยางสมบูรณแบบ
กลยุทธการเจริญเติบโต : ปรับปรุงสถานที่ใหดูใหมอยูตลอดเวลาและพัฒนาขยายบานพัก
เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับลูกคาชาวตางชาติที่จะเขามาทองเที่ยวในการเขาสูสมาคม AEC
กลยุทธดานผลิตภัณฑ : มีการเพิ่มรูปแบบการใหบริการกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวกับการออกกําลัง
กายที่หลากหลายเพื่อดึงลูกคาสนใจในการเลนกีฬาหรือชอบทํากิจกรรมระหวางการมาพักเพื่อรองรับ
ลูกคาที่มาเปนหมูคณะและตองการทํากิจกรรมรวมกัน
บทที่ 6
งบการเงิน

ในสวนของบทที่ 6 งบการเงินซึ่งเปนแผนการเงินของแผนธุรกิจโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ในการจัดทําแผนการเงินของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพมีการตั้งสมมติฐานทางการเงินเพื่อประมาณ
การรายได และรายจาย รวมทั้งจัดทํางบประมาณทางการเงินอันประกอบดวยงบกํา ไรขาดทุน งบ
แสดงฐานะทางการเงิน และงบกระแสเงินสด เพื่อประเมินความเปนไปไดทางธุรกิจของโครงการรี
สอรทเพื่อสุขภาพตอไป สําหรับ รายละเอียดของบทที่ 6 งบการเงินมีหัวขอดังตอไปนี้
6.1ขอสมมติฐานในการจัดทําประมาณการทางการเงิน
6.2การประมาณเงินลงทุน และการวิเคราะหการไดมาของเงินลงทุน
6.3การประมาณรายได
6.4การประมาณรายจาย
6.5ประมาณการงบกําไรขาดทุน
6.6ประมาณการงบแสดงฐานะทางการเงิน
6.7ประมาณการงบกระแสเงินสด
6.8การประเมินมูลคาทางการเงินของโครงการเพื่อตัดสินใจลงทุน

6.1 ขอสมมติฐานในการจัดทําประมาณการทางการเงิน
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพสถานที่พักที่ใหความสําคัญดานสุขภาพอยางครบวงจร ชุมชน
ของคนรักสุขภาพและชอบการพักผอนทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ สําหรับการวิเคราะหแผนการเงินของ
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพมีสมมติฐานทางการเงินดังนี้
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพสามารถดําเนินธุรกิจไดอยางตอเนื่องโดยไมเผชิญสภาวะ
ลมละลาย (Going Concern) และมีความสามารถในการทํากําไรเพียงพอ โดยมีผลตอบแทนได
มากกวาหรือเทากับที่สวนของเจาของคาดหวังซึ่งเทากับ 25% ตอปจากเงินลงทุน โดยโครงการฯมี
นโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนทุกปเมื่อมีผลกําไร และในขณะเดียวกับสามารถชําระเงินตนและ
ดอกเบี้ยเงินกูจากการกูยืมจากธนาคาร

6.2 การประมาณเงินลงทุน และการวิเคราะหการไดมาของเงินลงทุน


ในการเริ่มลงทุนโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพจําเปนตองมีการลงทุนในสินทรัพยที่เปน
โครงสรางพื้นฐานของโครงการฯ ประกอบไปดวย ที่ดินและการปรับปรุงหนาดินเพื่อกอสราง การ
กอสรางที่พักและอาคาร การกอสรางโรงเพาะเห็ด การกอสรางสระวายน้ําออนเซ็น อุปกรณเครื่องใช
139

ภายในบานพัก เครื่องทําน้ําอุนภายในบานพัก เครื่องสุขภัณฑในหองน้ํา อุปกรณดานกิจกรรม


อุปกรณเครื่องสปา และ อุปกรณทําครัว เปนตน ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1.ที่ดินและการปรับพื้นที่ดิน
ทําเลที่ตั้งของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพตั้งอยูบนที่ดินขนาด 8 ไร หลังปมปตท. กลางดง
ฝงขาขึ้นโคราชหางจากถนนมิตรภาพประมาณ 400 เมตร เนื่องจากเปนสถานที่ที่มีวิวสวยงาม และ
อากาศดี นอกจากนี้ยังใกล ฟารมโชคชัย ตลาดน้ํากลางดง โรงพยาบาลภูมิพล ไรสุวรรณ รานอาหาร
ราคาที่ดินไรละ 1,300,000 บาท รวมเปนเงิน 10,400,000 บาท ซึ่งทางโครงการตัดสินใจซื้อที่ดิน
บริเวณนี้มาเพื่อใชธุรกิจ นอกจากนี้แลวดวยบริเวณพื้นที่เปนภูเขา ทางโครงการฯจึงตองมีการปรับปรุง
หนาดินเพื่อใหทําโครงการฯได คาใชจายในการถมที่และปรับระดับที่ดินความสูง 1 เมตร ราคา
300,000 บาทตอไรจึงเทากับ 2,400,000 บาท และทําใหมูลคาที่ดินและการปรับพื้นที่ดินเทากับ
12,800,000 บาท
2.การกอสรางที่พักและอาคาร
การกอสรางที่พักซึ่งออกแบบเปนบานดินนี้มีคากอสรางเทากับ 34,650,000 บาท ดังไดแสดง
ในตารางที่ 6.1 แสดงมูลคาการกอสรางที่พักและอาคารสถานที่

ตารางที่ 6.1: แสดงมูลคาการกอสรางที่พักและอาคารสถานที่

พื้นที่
การกอสรางที่พักและการตกแตง มูลคา (บาท)
(ตารางเมตร)
บานเห็ดขนาด 30 ตรม จํานวน 15หลัง 630 6,356,872
บานเห็ดขนาด 35 ตรม จํานวน 30 หลัง 1,421 14,338,279
บานเห็ด 2ชั้น ขนาด 80 ตรม จํานวน 10 หลัง 630 6,356,872
บานเห็ดขนาด 136 ตรม จํานวน 5 หลัง 346 3,491,235
บานเห็ดสปาเพื่อสุขภาพขนาด 30 ตรม 1 หลัง 42 423,791
บานเห็ดรานอาหารขนาด 70 ตรม 1 หลัง 70 706,319
บานเห็ดติดตอรับรองลูกคาขนาด 91 ตรม 1หลัง 91 918,215
บานเห็ดเพื่อการอบรมใหความรูดานการสรางบานดินขนาด 180 ตรม 1หลัง 180 1,816,249
บานเห็ดขายผลิตภัณฑ 24 ตรม 1หลัง 24 242,167
รวม 34,650,000
140

3.การกอสรางโรงเพาะเห็ด
โรงเรือนเพาะเห็ดขนาด 5*10 เมตร หรือ 50 ตารางเมตร ราคาเหมารวม 30,000 บาทตอ
หลัง ซึ่งมีทั้งหมด 9 หลัง รวมเปนเงิน 270,000 บาท
4.การกอสรางสระวายน้ําออนเซ็น
สระวายน้ําระบบโอเวอรโฟรมีสครีมเมอรน้ําสปารูปเห็ดขนาด 50 ตารางเมตร ราคา 20,000
บาทตอตารางเมตร และเครื่องน้ําอุนใตน้ํา 300,000 บาท รวมเปนเงิน 1,300,000 บาท
5.อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงานของโครงการฯ
อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงานของโครงการรีสอรตเพื่อสุขภาพ หมายถึงสินทรัพยที่ใช
เพื่อบริการลูกคาของรีสอรทโดยตรง ซึ่งประกอบไปดวยอุปกรณเครื่องใชภายในบานพัก อุปกรณดาน
กิจกรรม อุปกรณเครื่องทําสปา อุปกรณทําครัว เครื่องทําน้ําอุนภายในบานพัก และเครื่องสุขภัณฑใน
หองน้ํา แตไมไดรวมอุปกรณสํานักงานที่ใชเพื่อการขายและบริหาร ตารางที่ 6.2 แสดงมูลคาอุปกรณที่
ใชในกิจกรรมดําเนินงาน

ตารางที่ 6.2: แสดงมูลคาอุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน

อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน มูลคา (บาท)


อุปกรณเครื่องใชภายในบานพัก (โทรทัศนจํานวน 20 เครื่อง ตูเย็น 17 เครื่อง และ 110,000
คอมพิวเตอร 3 เครื่อง)
อุปกรณดา นกิจกรรม (จักรยาน) (จักรยานบกญี่ปุน 20 คัน ราคา 5,500 บาท/คัน และ 950,000
จักรยานน้ําทรงเห็ด 20 ลํา ราคา 42,000 บาท/ลํา)
อุปกรณเครื่องทําสปา (อุปกรณสําหรับทําสปาตัว ผลิตภัณฑสมุนไพร) 120,000
อุปกรณทําครัว (เตาไฟฟา จาน ชอน แกว กระทะ หมอ) 75,000
เครื่องทําน้ําอุนภายในบานพัก (เครื่องทําน้ําอุนจํานวน 15 เครื่อง 5,890บาท/เครื่อง) 300,000
เครื่องสุขภัณฑในหองน้ํา (โถสุขภัณฑ 20,700บาท/ตัว 20 ตัว, กระจก 60*80 CM 600 698,370
บาท/บาน 20 บาน, ชุดของใชอาบน้ําเห็ด 120 บาท/ชุด 10,000 ชุด, เรนชาวเวอร 1,590
บาท/ตัว 16 ตัว, กอกน้ํา 1,710 บาท/ตัว 20 ตัว และสายชําระ 219 บาท/ตัว 20 ตัว)
2,253,370

6.อุปกรณสํานักงาน
อุปกรณสํานักงานที่ใชเพื่อการขายและบริหารมีดังตารางที่ 6.3 แสดงมูลคาอุปกรณสํานักงาน
141

ตารางที่ 6.3: แสดงมูลคาอุปกรณสํานักงาน

อุปกรณสํานักงาน จํานวน (ชิ้น) ราคา/หนวย มูลคา (บาท)


เครื่องคอมพิวเตอร 10 15,000 150,000
โทรศัพท 25 1,000 25,000
แฟกซ 2 4,500 9,000
อุปกรณเบ็ดเตล็ด 100,000
รวม 284,000

7.รถยนต
โครงการฯมีรถยนตเพื่อใชในการดําเนินงานทั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อรับสงลูกคาของรีสอรต
และมีไวเพื่อใชในกระบวนการผลิตตางๆ จํานวน 2 คัน มูลคารวม 1,000,000 บาท
8.เตนท
โครงการฯมีบริการเต็นทที่พักทั้งหมด 40 หลัง ขนาด 2.4 เมตร x 3.0 เมตร สูง 170
เซนติเมตร พักได 4 คน ใชพื้นที่ 100 ตรว. หรือ 400 ตรม. รายละเอียดที่ลงทุนคาเตนทประมาณหลัง
ละ 4,800 บาท และคาใชจายที่เกี่ยวกับเตนทหนึ่งหลัง ประกอบดวย ที่นอนยางพารา 2,000 บาท ผา
หม 500 บาท หมอน 500 บาท จึงรวมคาใชจายเกี่ยวกับเตนททั้งหมด 312,000 บาท
9.เงินสํารองเพื่อใชในการดําเนินงาน
โครงการฯไดกันเงินลงทุนบางสวนไวเพื่อการดําเนินงานปกติของโครงการรีสอรตเพื่อสุขภาพ จํานวน
347,630 บาท
จากรายละเอียดสินทรัพยที่ทางโครงการฯตองลงทุนเปนโครงสรางพื้นฐานของทางรีสอรททํา
ใหสามารถประมาณการเงินลงทุนเบื้องตนไดเปนมูลคาทั้งหมดเทากับ 53,000,000 บาท ดังจะไดเห็น
จากตารางที่ 6.4 แสดงสรุปเงินลงทุนในสินทรัพย
142

ตารางที่ 6.4: แสดงสรุปเงินลงทุนในสินทรัพย

ประเภทของสินทรัพย มูลคา (บาท)


ที่ดินและการปรับพื้นที่ดิน 12,800,000
ที่พักและอาคาร 34,650,000
โรงเพาะเห็ด 270,000
สระวายน้ําออนเซ็น 1,300,000
อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน 2,253,370
อุปกรณสํานักงาน 284,000
รถยนต 1,000,000
เตนท 312,000
เงินสํารองเพื่อใชในการดําเนินงาน 130,630
รวม 53,000,000

เมื่อทราบประมาณการเงินทุนเบื้องตนมูลคา 53,000,000 บาทแลวทางโครงการจึงไดหา


แหลงเงินทุนโดยใชทั้งเงินทุนจากสวนของเจาของและเงินกูยืมจากธนาคาร สําหรับการกูยืมธนาคาร
26.5 ลานบาท และการลงทุนดวยเงินทุนของกลุมเจาของ 26.5 ลานบาท ซึ่งสัดสวนการลงทุนเทากับ
50% และ 50% ตามลําดับ ทั้งนี้แหลงที่มาของเงินทุนก็ตองมีความคาดหวังดอกผลจากการลงทุน
สําหรับเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคารมูลคา 26.5 ลานบาทมีอัตราดอกเบี้ย 8% ซึ่งอางอิงจากอัตรา
ดอกเบี้ยสินเชื่อของธนาคารกสิกรไทย จํานวน 26.5 ลานบาท ในอัตราดอกเบี้ย MRR+5 หรือ 12.0%
และสําหรับเงินทุนของเจาของตองการผลตอบแทนเฉลี่ยปละ 25% ดังจะเห็นไดจากตาราง 6.5
สัดสวนเงินลงทุน และอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากโครงการ
143

ตารางที่ 6.5: สัดสวนเงินลงทุน และอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากโครงการ

อัตราผลตอบแทนที่
ประเภทการลงทุน %สัดสวนการลงทุน สัดสวนการลงทุน
คาดหวัง
เงินกูยืมระยะยาว 50% 26,500,000 12.00%
สวนของเจาของ 50% 26,500,000 25.00%
รวม 100% 53,000,000

จากที่ไดทราบแลววาโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพมีที่มาของเงินลงทุนจาก 2 แหลงคือเงิน
กูยืมระยะยาว และสวนของเจาของ แหลงที่มาของเงินลงทุนลวนตองการดอกผลไมวาจะในรูปแบบใด
ก็ตาม กรณีของเงินกูยืมระยะยาวดอกผลจากการลงทุนคือดอกเบี้ยจาย และกรณีของเจาของจะไดรับ
ดอกผลในรูปแบบเงินปนผลซึ่งทางโครงการฯตองมอบใหทั้งสองฝาย เมื่อเปนเชนนั้นแลวการคํานวณ
อัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนจึงตองทําถัวเฉลี่ยกันระหวางแหลงที่มาของเงินลงทุนเพื่อใหทราบ
อัตราผลตอบแทนถั่วเฉลี่ยของเงินลงทุน

ตารางที่ 6.6: อัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยของโครงการ

อัตราผลตอบแทน
ประเภทการ อัตราผลตอบแทน
สัดสวนการลงทุน ผลตอบแทน ของเงินลงทุนถัว
ลงทุน ที่คาดหวัง
เฉลี่ย
เงินกูยืมระยะยาว 26,500,000 12.00% 3,180,000
สวนของเจาของ 26,500,000 25.00% 6,625,000
รวม 53,000,000 9,805,000 18.50%

จากตารางที่ 6.6 อัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนถัวเฉลีย่ ของโครงการ อัตราผลตอบแทน


ของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยเทากับ 18.50% และถูกใชทําประโยชนเพื่อใชในการประเมินการลงทุนของ
โครงการซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป
144

6.3 ประมาณการรายได
การประเมินรายไดซึ่งเกิดจากกิจกรรมการดําเนินงานตางๆของโครงการรีสอร ทเพื่อสุขภาพ
ตามที่ไดวางแผนกลยุทธ สําหรับแหลงรายไดของโครงการฯมาจาก 6 กลุมกิจกรรมประกอบดวย
1. รายไดคาบริการที่พักรีสอรท
2. รายไดคาบริการเต็นท
3. รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร (กลุมทัวรและโรงเรียน)
4. รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS
5. รายไดคาเชาบานพักรายป
6. รายไดจากการจัดอีเวนท
7. รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก
8. รายไดจากกิจกรรมอื่นๆของโครงการฯ (เก็บเห็ดกลับบานและจักรยานน้ํา-บก)
การประเมินรายไดของทางโครงการจะกําหนดความเปนไปไดไว 3 ระดับ กรณีความเปนไปไดที่
เกิดขึ้นคือ กรณีที่ดีเยี่ยม (Best case) กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด (Most likely case) และกรณีทแ่ี ย
ที่สุด (Worst case) เพื่อใหสะทอนการตัดสินใจไดดียิ่งขึ้น
1.รายไดคาบริการที่พักรีสอรท
รายไดหลักของทางโครงการรีสอรเพื่อสุขภาพคือบริการที่พัก โดยใชเห็ดเปนจุ ดขายของทาง
โครงการทั้งนี้ทางโครงการไดใหบริการที่พักบานเห็ดไว 4 แบบคือ บานเห็ดเล็ก บานเห็ดกลาง บาน
เห็ดใหญ และบานเห็ดจัมโบ ซึ่งมีจํานวนบานเห็ด และอัตราคาบริการดังตอไปนี้

ตารางที่ 6.7: แสดงจํานวนและอัตราคาบริการบานเห็ด

จํานวน ราคาบริการ
ประเภทบานพัก
(หลัง) (หลัง)
บานเห็ดเล็ก 2 คน 15 3,000
บานเห็ดกลาง 3-5 คน 30 4,000
บานเห็ดใหญ 6-7 คน 2 ชั้น 10 5,500
บานเห็ดจัมโบ 8-10 คน 5 6,500

ในการพยากรณรายไดในกลุมคาบริการใหที่พักรีสอรท ทางโครงการประเมินวาจากรายไดที่
เกิดจากการบริการเต็มอัตราในบานเห็ดทุกหลังและในทุกวัน 100% จะมีรายไดเทากับ 90,900,000
145

บาท ทางโครงการจะประมาณกรณีท่ีมีลูกคาเขามาใชบริการเทากับ 60% ในกรณีที่ดีเยี่ยม (Best


case) 30% ในกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด (Most likely case) และ 20% ในกรณีที่แยที่สุด (Worst
case) ซึ่งเมื่อคํานวณรายไดแลวจะเทากับ 54,540,000 บาท 27,270,000 บาท และ 18,180,000
บาท ตามลําดับ

ตารางที่ 6.8: แสดงรายไดคาบริการใหที่พักรีสอรทกรณีที่เต็มอัตราบริการ

ประเภทบานพัก จํานวน ราคาบริการ มูลคาตอวัน มูลคาตอเดือน มูลคาตอป


(หลัง) (บาท/หลัง) (บาท) (บาท) (บาท)
บานเห็ดเล็ก 2 คน
15 3,000 45,000 1,350,000 16,200,000
ขนาด 30 ตร.ม.
บานเห็ดกลาง 3-5 คน
30 4,000 120,000 3,600,000 43,200,000
ขนาด 35 ตร.ม.
บานเห็ดใหญ 6-7 คน 2
10 5,500 55,000 1,650,000 19,800,000
ชั้น ขนาด 80 ตร.ม.
บานเห็ดจัมโบ 8-10 คน
5 6,500 32,500 975,000 11,700,000
ขนาด 136 ตร.ม.
รวม 60 252,500 7,575,000 90,900,000

ตารางที่ 6.9: รายไดคาบริการที่พักรีสอรทตามอัตราการใชบริการ

อัตราการใชบริการ รายไดตอป (บาท)


100% (เต็ม) 90,900,000
90% 81,810,000
80% 72,720,000
70% 63,630,000
60% 54,540,000
50% 45,450,000
40% 36,360,000
30% 27,270,000
20% 18,180,000
10% 9,090,000
146

ตารางที่ 6.10: รายไดคาบริการที่พักรีสอรทแบงตามกรณีที่เปนไปได

รายไดการใหบริการที่พักรีสอรท รายไดตอป (บาท)


กรณีที่ดีที่สุด 54,540,000
กรณีที่เปนไปไดที่สุด 27,270,000
กรณีที่แยที่สุด 18,180,000

2.รายไดคาบริการเต็นท
ในการพยากรณรายไดในกลุมคาบริการเตนทพักแรม ทางโครงการประเมินวาจากรายไดที่
เกิดจากการบริการเต็มอัตราในทุกหลังและในทุกวัน 100% จะมีรายไดเทากับ 14,400,000 บาท ทาง
โครงการจะประมาณกรณีที่มีลูกคาเขามาใชบริการเทากับ 60% ในกรณีที่ดีเยี่ยม (Best case) 30%
ในกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด (Most likely case) และ 20% ในกรณีที่แยที่สุด (Worst case) ซึ่งเมื่อ
คํานวณรายไดแลวจะเทากับ 8,640,000 บาท 4,320,000 บาท และ 2,880,000 บาท ตามลําดับ

ตารางที่ 6.11: แสดงรายไดคาบริการใหที่พักรีสอรทกรณีที่เต็มอัตราบริการ

จํานวน ราคาบริการ ตอวัน ตอเดือน ตอป


(หลัง) (หลัง) (บาท) (บาท) (บาท)
เตนท 40 1,000 40,000 1,200,000 14,400,000
147

ตารางที่ 6.12: รายไดคาบริการเตนทตามอัตราการใชบริการ

อัตราการใชบริการ รายไดตอป (บาท)


100% (เต็ม) 14,400,000
90% 12,960,000
80% 11,520,000
70% 10,080,000
60% 8,640,000
50% 7,200,000
40% 5,760,000
30% 4,320,000
20% 2,880,000
10% 1,440,000

ตารางที่ 6.13: รายไดคาบริการที่เตนทแบงตามกรณีที่เปนไปได

รายไดการใหบริการที่พักรีสอรท รายไดตอป (บาท)


กรณีที่ดีที่สุด 8,640,000
กรณีที่เปนไปไดที่สุด 4,320,000
กรณีที่แยที่สุด 2,880,000

3.รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร (กลุมทัวรและโรงเรียน)
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพนอกจากจะใหบริ การหองพักแลวยังมีกิจกรรมเชิงนิเวศนอีก
มากมายเพื่อมอบความพักผอนหยอนใจใหแกลูกคา ทั้งนี้ เพื่อแกไขปญหาที่ธุรกิจรีสอรทตองเผชิญซึ่งก็
คือจํานวนลูกคาในวันธรรมดาที่มีนอยจึงมีกลยุทธในการสรางพันธมิตรกับโรงเรียนและกลุมทัวร โดย
เปนพันธมิตรกับโรงเรียนตางๆเพื่อขายคอรสในการเขาคายเชิงอนุรักษธรรมชาติ และเปนพันธมิตรกับ
บริษัททัวรนําลูกทัวรเรียนรูการสรางบานดวยดินในวันธรรมดาจันทรถึงพฤหัสบดี
การเขาคายเชิงอนุรักษธรรมชาติราคาคอรส คนละ 500 บาท รองรับจํานวนได 300 คน โดยอยาง
นอยใน 1 เดือนทางโครงการตองติดตอโรงเรียนเพื่อมาใหเขารวมกิจกรรมได 1 โรงเรียน คิดเปนเดือน
148

ละ 1 ครั้ง ได 150,000 บาท โดยทางโครงการหักเปอรเซนตใหโรงเรียนเปนเสมือนสวนลดเพื่อสราง


แรงจูงใจ 20% หรือ 30,000 บาทเหลือรายไดสุทธิเทากับ 120,000 ตอเดือน
ทัวรเรียนรูการสรางบานดวยดินซึ่งบริษัททัวรจะนําลูกทัวรมาทํากิจกรรมเรียนรูการสรางบานดวยดิน
และปนดินเผานํากลับบานไดโดยราคาคนละ 300 บาท รองรับ 40 คน รายไดตอครั้ง 12,000 บาท
โดยทางโครงการตองติดตอทัวรเพื่อใหนําลูกคามารวมกิจกรรมใหไดอยางนอยเดือนละ 4 ครั้ง เทากับ
ทางโครงการจะมีรายไดเดือนละ 48,000 บาท
เมื่อรวบรวมรายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตรกลุมทัวรและโรงเรียน
โครงการสามารถทํารายไดสําหรับในคายเชิงอนุรักษธรรมชาติในกรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปไดที่สุด
และกรณีที่แยที่สุด เทากับ 4,320,000 บาท 2,880,000 บาท และ 1,440,000 บาท ตามลําดับ และ
สําหรับทัวรเรียนรูการสรางบานดวยดินโครงการสามารถทํารายไดสําหรับในคายเชิงอนุรักษธรรมชาติ
ในกรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปไดที่สุด และกรณีที่แยที่สุด เทากับ 1,728,000 บาท 1,152,000 บาท
และ 576,000 บาท ตามลําดับ ดังจะเห็นไดดังตารางที่ 6.11 รายไดจากการขายคอรดกิจกรรม
รวมกับพันธมิตรแบงตามกรณีที่เปนไปได

ตารางที่ 6.14: รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตรแบงตามกรณีที่เปนไปได

รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับ จํานวนครั้งตอ รายไดตอเดือน รายไดตอป


พันธมิตร เดือน (บาท) (บาท)
คายเชิงอนุรักษธรรมชาติ
กรณีที่ดีที่สุด 3 360,000 4,320,000
กรณีที่เปนไปไดที่สุด 2 240,000 2,880,000
กรณีที่แยที่สุด 1 120,000 1,440,000
ทัวรเรียนรูการสรางบานดวยดิน
กรณีที่ดีที่สุด 12 144,000 1,728,000
กรณีที่เปนไปไดที่สุด 8 96,000 1,152,000
กรณีที่แยที่สุด 4 48,000 576,000
149

4.รายไดคาเชาบานพักรายป
รายไดคาเชาบานพักรายปของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพเกิดจากการใหบริการลูกคาที่มี
ความประสงคจะเชาบานพักในระยะยาว อาจใชเพื่อเปนบานพักตากอากาศสวนตัว และทางโครงการ
ไดอํานวยความสะดวกดูแลรักษาพรอมทําความสะอาดใหแกลูกคา รูปแบบบานพักที่มีการใหเชารายป
จะเปนบานขนาดเล็กและขนาดกลาง
สําหรับคาเชาบานพักรายปจะลดราคาลงจากราคาปกติ บานขนาดเล็กราคาคาเชาเทากับ
60,000 บาทตอเดือนหรือ 720,000 บาทตอป และบานขนาดกลางราคาคาเชา เทากับ 75,000 บาท
ตอเดือน หรือ 900,000 บาทตอป
โครงการแบงสรรบานพักไวสําหรับลูกคากลุมที่มีความตองการจะเชาบานพักรายปเปน 10%
ของบานพักขนาดเล็กและขนาดกลางทั้งหมด หมายความวาจะทําใหโครงการมีรายไดเพิ่มขึ้นเทากับ
3,780,000 บาทตอป
5.รายไดจากการจัดอีเวนท
รายไดจากอีเวนท ใน 1 ป โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพจะมีการจัดกิจกรรมพิเศษขึ้นเปน
คอนเสิรตแนวดนตรีฟงสบาย โดยจะแบงเปน 3 ชวง คือ ชวงหนาหนาว ชวงปดเทอม และชวงวัน
ครบรอบรีสอรท ซึ่งโครงการสามารถรองรับไดผูชมได 500 คน
-ชวงหนาหนาวมีรายไดจะเกิดจากการขายบัตรเขาชม ในราคา 1,000 บาท
-ชวงปดเทอมราคาบัตรเปน 1,500 บาท สําหรับครอบครัว
-ชวงวันครบรอบรีสอรทราคาคาบัตร เหลือ 800 บาท
(ทุกชวงทางโครงการขายผานไททิกเก็ต รายไดจึงตองหักเปอรเซนตจากการขายบัตรใหไททิกเก็ต
10% จากราคาบัตร) และรายไดจากสปอนเซอรที่สนับสนุนกิจกรรมรวมมูลคา 1,200,000 บาท ซึ่งมี
รายนามดังตอไปนี้
-BRAND 500,000 บาท
-DTAC 100,000 บาท
-น้ําแรออรา 100,000 บาท
-ธนาคารกสิกรไทย 100,000 บาท
-ไทยประกันชีวิต 100,000 บาท
-WE FITNESS 100,000 บาท
-น้ําผลไมตรา TIPGO 100,000 บาท
-ดัชมิลล 100,000 บาท
150

ตารางที่ 6.15: รายไดจากการจัดอีเวนท กรณีที่ดีที่สุด

รายได หลังหัก
จํานวนบัตรที่
นําสง
รายไดจากการจัดอีเวนท ราคาบัตร คาดวาจะขาย รายได (บาท)
Thaiticket
ได
10% (บาท)
หนาหนาว 1,000 500 500,000 450,000
ปดเทอม 1,500 500 750,000 675,000
ครบรอบรีสอรท 800 500 400,000 360,000
1,485,000
เงินสนับสนุนจากสปอนเซอร 1,200,000
รวมรายไดจากการจัดอีเวนท 2,685,000

ตารางที่ 6.16: รายไดจากการจัดอีเวนท กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด

รายได หลังหัก
จํานวนบัตรที่
นําสง
รายไดจากการจัดอีเวนท ราคาบัตร คาดวาจะขาย รายได (บาท)
Thaiticket
ได
10% (บาท)
หนาหนาว 1,000 400 400,000 360,000
ปดเทอม 1,500 400 600,000 540,000
ครบรอบรีสอรท 800 400 320,000 288,000
1,188,000
เงินสนับสนุนจากสปอนเซอร 1,200,000
รวมรายไดจากการจัดอีเวนท 2,388,000
151

ตารางที่ 6.17: รายไดจากการจัดอีเวนท กรณีที่แยที่สุด

รายได หลังหัก
จํานวนบัตรที่
นําสง
รายไดจากการจัดอีเวนท ราคาบัตร คาดวาจะขาย รายได (บาท)
Thaiticket
ได
10% (บาท)
หนาหนาว 1,000 300 300,000 270,000
ปดเทอม 1,500 300 450,000 405,000
ครบรอบรีสอรท 800 300 240,000 216,000
891,000
เงินสนับสนุนจากสปอนเซอร 1,200,000
รวมรายไดจากการจัดอีเวนท 2,091,000

6.รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS
รายไดคาบริการหองพักสําหรับกลุมลูกคา 7HRS คือการลดคาบริการหองพักสําหรับชวง
เทศกาลและรองรับนักทองเที่ยวขาจรที่รถติดแวะพักในชวงเวลา เที่ยงคืน ถึง เจ็ดโมงเชา หรือ เซเวน
เอาเวอร โดยคิดในราคา 1,500 บาทตอหลัง ซึ่งเปดใหบริการสําหรับบานเห็ดเล็กและบานเห็ดกลาง
ในสวนหองวางจากการบริการปกติของรีสอรท เจาะกลุมขาจรที่พักในวันธรรมดาจันทรถึงศุกร โดย
คาดการณวาจะมีลูกคากลุมนี้เขามาใชบริการเพิ่มเขามาดวยสัดสวน 20% 15% และ 10% ของ
หองพักทั้งหมด สําหรับกรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เป นไปไดที่สุด และกรณีที่แยที่สุด ตามลําดับ
รายไดคาบริการหองพักสําหรับกลุมลูกคา 7HRS จะทําใหรายไดของรีสอรตเพิ่มขึ้นได 4,927,500
บาท 8,623,125 บาท และ 12,318,750 บาท สําหรับกรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปไดที่สุด และกรณีที่
แยที่สุด ตามลําดับ
152

ตารางที่ 6.18: รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS กรณีที่ดีที่สุด

ประเภทบานพัก จํานวนที่มี อัตราใช จํานวนหลัง ราคา ตอวัน ตอป


(หลัง) บริการ บริการ
บานเห็ดเล็ก 15 20% 3 1,500 4,500 1,642,500
บานเห็ดกลาง 30 20% 6 1,500 9,000 3,285,000
รวม 9 3,000 13,500 4,927,500

ตารางที่ 6.19: รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS กรณีที่เปนไปไดที่สุด

ประเภทบานพัก จํานวนที่มี อัตราใช จํานวนหลัง ราคา ตอวัน ตอป


(หลัง) บริการ บริการ
บานเห็ดเล็ก 15 15% 2 1,500 3,375 1,231,875
บานเห็ดกลาง 30 15% 5 1,500 6,750 2,463,750
รวม 7 3,000 10,125 3,695,625

ตารางที่ 6.20: รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS กรณีที่แยที่สุด

ประเภทบานพัก จํานวนที่มี อัตราใช จํานวน ราคา ตอวัน ตอป


(หลัง) บริการ หลัง บริการ
บานเห็ดเล็ก 15 10% 2 1,500 2,250 821,250
บานเห็ดกลาง 30 10% 3 1,500 4,500 1,642,500
รวม 5 3,000 6,750 2,463,750

7.รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก
รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก เปนรายไดจากจําหนายสินคาผลิตภัณฑจากเห็ด
ประเภทรับประทาน อาหารแหงจากเห็ด เห็ดสดบรรจุถุง น้ําพริกเห็ด น้ําเห็ด และอื่นๆ ผลิตภัณฑ
จากเห็ดประเภทของใช ครีมอาบน้ํา ยาสระผม โฟมลางหนา และอื่นๆ ผลิตภัณฑจากเห็ดประเภท
153

ของที่ระลึก เคสโทรศัพท แกวน้ํา เข็มกลัด กระบอกน้ํา ถุงผา เสื้อ หมวก และอื่นๆ รายไดสวนนี้เกิด
จากลูกคาในกลุมเดียวกันกับกลุมที่ 1 ถึงกลุมที่ 5 ดังนั้นแลวทางโครงการจึงประเมินวารายไดในสวน
ของกิจกรรมอื่นๆนี้ตองผันแปรไปกับรายไดคาบริการที่พักรีสอรท และรายไดจากการขายคอรด
กิจกรรมรวมกับพันธมิตร จึงคิดเปน 1% ของรายไดใน 5 กลุม แรกรวมกัน
8.รายไดจากกิจกรรมอื่นๆของโครงการฯ (เก็บเห็ดกลับบานและจักรยานน้ํา-บก)
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆของโครงการ เชน การเยี่ยมชมโรงเห็ดซึ่งทางลูกคาสามารถเก็บเห็ด
กลับบานตะกราละ 20 บาท และกิจกรรมจักรยานน้ํา-บก เปนตน รายไดสวนนี้เกิดจากลูกคาในกลุม
เดียวกันกับกลุมที่ 1 ถึงกลุมที่ 5 ดังนั้นแลวทางโครงการจึงประเมินวารายไดในสวนของกิจกรรมอื่นๆ
นี้ตองผันแปรไปกับรายไดคาบริการที่พักรีสอรท และรายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับ
พันธมิตร จึงคิดเปน 0.5% ของรายไดใน 5 กลุม แรกรวมกัน
เมื่อรวบรวมรายไดจากกิจกรรมตางๆของทางโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพแลวพบวากรณีที่ ดี
ที่สุด กรณีที่เปนไดมากที่สุด และกรณีที่แยที่สุด มีรายไดเทากับ 81,755,895 บาท 46,112,475 บาท
และ 31,844,955 บาทตามลําดับ

ตารางที่ 6.21: รายไดของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพสําหรับป 2558 กรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปได


ที่สุด และกรณีที่แยที่สุด

กรณีที่ดีที่สุด กรณีท่ีเปนไปไดที่สุด กรณีที่แยที่สุด


รายไดการใหบริการที่พักรีสอรท 54,540,000 27,270,000 18,180,000
รายไดการใหบริการเตนท 8,640,000 4,320,000 2,880,000
รายไดการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร 6,048,000 4,032,000 2,016,000
รายไดคาเชาบานพักรายป 3,780,000 3,780,000 3,780,000
รายไดจากการจัดอีเวนท 2,685,000 2,388,000 2,091,000
รวมรายไดกลุมที่1-5 75,693,000 41,790,000 28,947,000
รายไดการใหบริการที่พัก-7HRS 4,927,500 3,695,625 2,463,750
รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก 756,930 417,900 289,470
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 378,465 208,950 144,735
รายไดทั้งหมด 81,755,895 46,112,475 31,844,955
154

ประมาณการรายไดสําหรับป 2558 จะถูกนําไปคาดการณถึงรายไดสําหรับ ป 2559 ถึงป


2562 โดยประเมินจากอัตราการเติบโตของกลุมรีสอรทและโรงแรมซึ่งถูกประเมินวาจะเติบ โตไดปละ
ไมต่ํากวา 3.4% - 5.7% (ศูนยวิจัยกสิกรไทย, กุมภาพันธ 2557) จากการอางอิงขอมูลดังกลาวจึง
คาดหวังอัตราการเติบโตในกรณีที่ดีเยี่ยม กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด และกรณีที่แยที่สุด เทากับ 5.7%
4.6% และ 3.4% ตามลําดับ

6.4 การประมาณรายจาย
การประมาณรายจายของโครงการจะวิเคราะหกิจกรรมที่กอใหเกิดรายไดในหัวขอที่ผานมา
โดยจะจัดประเภทเปนสองกลุมคือตนทุนการบริการ และคาใชจายในการขายและบริหาร
ตนทุนบริการของโครงการรีสอรตเพื่อสุขภาพในการดําเนินงานปกติของโครงการ ประกอบ
ไปดวย 3 สวนคือวัตถุดิบใชไป เงินเดือนพนักงานที่เกี่ยวของกับกิจกรรมบริการของโครงการ และ
คาใชจายการบริการ โดยสวนแรกวัตถุดิบใชไป มีดังตอไปนี้
-วัสดุสิ้นเปลือง เชน แชมพู สบู กระดาษทิชชู เปนตน ซึ่งทางโครงการตองใชทําความสะอาด
และเปลี่ยนใหผูเขามาพักในรีสอรต คิดเปน 20% ของรายไดท้งั หมด
-วัตถุดิบในครัวใชไปซึ่งมีไวเปนวัตถุดิบเพื่อประกอบอาหารบริการแกลูกคา คิดเปน 30%
ของรายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก
-ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝากและของที่ระลึก คิดเปน 40% ของรายไดจากรานขาย
สินคาและของที่ระลึก
-วัตถุดิบในสปาใชไป คิดเปน 15% ของรายไดจากกิจกรรมอื่นๆ
-คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด คากอนเชื้อเห็ดเทากับ 108,000/ป คํานวณจากเห็ดทั้งหมด 9
ชนิด ชนิดละ 1,500 กอน ราคา 8 บาท/กอน
สวนที่สองคือ เงินเดือนพนักงานที่เกี่ยวของกับกิจกรรมบริการของโครงการ ตามตารางที่
6.15 แสดงจํานวนและอัตราเงินเดือนพนักงาน โดยทางโครงการมีนโยบายปรับเพิ่มเงินเดือนปละ 5%
สําหรับโครงสรางองคกรของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพเมื่อนํามาจําแนกตามประเภทของรายจาย
แลว กลุมพนักงานที่อยูในตนทุนบริการมีดังตอไปนี้
-พนักงานทําความสะอาด
-พนักงานตอนรับ
-พนักงานเข็นกระเปา
-พนักงานดูแลลูกคา
-พนักงานขายสินคาในshop
-พนักงานทําครัว
155

-พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด
-ผูเชี่ยวชาญดานบานดิน
-พนักงานทําสปา
-พนักงานรักษาความปลอดภัย
และตนทุนการบริการสวนที่สามคือคาใชจายในการบริการตางๆ ประกอบดวยคาเสื่อมราคา
สินทรัพยทุกประเภท ยกเวนอุปกรณสํานักงาน และรถยนต ที่ตองอยูในคาใชจายในการขายและ
บริหาร ตามตารางที่ 6.16 แสดงคาเสื่อมราคาสินทรัพยประเภทตางๆ นอกจากนี้แลวยังมีคา
สาธารณูปโภค คิดเปน 4% ของรายไดทั้งหมด และคาบํารุงรักษารีสอรทที่ตั้งงบประมาณไว 500,000
บาทตอป
นอกจากนี้ในการจัดอีเวนทของโครงการจะตองมีการจางบุคคลและเชาใชเครื่องมืออุปกรณ
จากขางนอกเพื่อดําเนินงานซึ่งมีรายละเอียดคาใชจายดังนี้
-คาจางศิลปน 6คน 730,000 บาท
-คาโปรดักชั่น จัดสถานที่ แสง สี เสียง เครื่องดนตรี 300,000 บาท
-คาจางสตาป 50 คน 1,000 บาทตอคน รวม 50,000 บาท
-คาโฆษณา สื่อโทรทัศน โปรเตอร 130,000 บาท
รวมคาใชจายในการจัดงาน 1,210,000 บาท ตอครั้ง ใน 1 ปทางโครงการมีการจัดอีเวนท
ทัง้ หมด 3 ครั้งจึงทําใหคาใชจายในการจัดอีเวนทตอปเทากับ 3,630,000 บาท
ในสวนของคาใชจายในการขายและบริหาร มีดังตอไปนี้
-เงินเดือนของผูจัดการ และ เงินเดือนพนักงานบัญชีการเงิน (ตารางที่ 6.15 แสดงจํานวน
และอัตราเงินเดือนพนักงาน)
-คาเสื่อมราคาอุปกรณสํานักงานและคาเสื่อมราคารถยนต (ตามตารางที่ 6.16 แสดงคาเสื่อม
ราคาสินทรัพยประเภทตางๆ)
-แบบฟอรมพนักงาน มูลคา 31,250 บาท (เสื้อโปโลพรอมปกโลโก 250บาทตอตัว จํานวน
125 ตัว
-คาการสื่อสารการประชาสัมพันธ มูลคา 100,000 บาทตอเดือน หรือ 1,200,000 บาทตอป
ซึ่งเปนโฆษณาบนเวปไซต ผานบริษัท EMS JUMP เพื่อโฆษณาใน 2ชองทาง คือ Google search
และ Facebook รวมถึงโบชัวรวางอุทยานแหงชาติเขาใหญ
-คาออกแบบเวปไซต มูลคา 4,700 บาท/เดือน ซึ่งเปนคาออกแบบ 3,500 บาท และคาดูแล
เวปไซต 1,200 บาท รวมเปนคาใชจาย 56,400 บาทตอป
156

-คาบริษัททัวร เนื่องจากบริษัททัวรที่พานักทองเที่ยวมาพัก จึงหักจายใหบริษัททัวร 10% จาก


คาหองทั้งหมด คิดเปน 10% จากรายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตรเฉพาะสวนของ
บริษัททัวร หรือประมาณ 180,000 บาทตอป

ตารางที่ 6.22: แสดงจํานวนและอัตราเงินเดือนพนักงาน

ตําแหนง เงินเดือน (บาท) จํานวน (คน) รวม/เดือน (บาท) รวม/ป (บาท)


ตนทุนการบริการ
พนักงานทําความสะอาด 9,000 4 36,000 432,000
พนักงานตอนรับ 15,000 2 30,000 360,000
พนักงานเข็นกระเปา 9,000 2 18,000 216,000
พนักงานดูแลลูกคา 9,000 2 18,000 216,000
พนักงานขายสินคาในshop 9,000 1 9,000 108,000
พนักงานทําครัว 9,000 3 27,000 324,000
พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด 15,000 1 15,000 180,000
ผูเชี่ยวชาญดานบานดิน 15,000 1 15,000 180,000
พนักงานทําสปา 9,000 2 18,000 216,000
พนักงานรักษาความปลอดภัย 9,000 1 9,000 108,000
รวม 19 195,000 2,340,000
คาใชจายในการขายและบริหาร
ผูจัดการทั่วไป 35,000 1 35,000 420,000
พนักงานบัญชี/การเงิน 15,000 1 15,000 180,000
รวม 2 50,000 600,000
เงินเดือนพนักงานทั้งหมด 21 245,000 2,940,000
157

ตารางที่ 6.23: แสดงคาเสื่อมราคาสินทรัพยประเภทตางๆ

อายุการให
ประเภทของสินทรัพย มูลคา (บาท) คาเสื่อมราคา (บาท)
ประโยชน (ป)
ตนทุนการบริการ
ที่พักและอาคาร 34,650,000 10 3,465,000
โรงเพาะเห็ด 270,000 10 27,000
สระวายน้ําออนเซ็น 1,300,000 10 130,000
เตนท 312,000 5 62,400
อุปกรณที่ใชในกิจกรรม 2,253,370 5 450,674
ดําเนินงาน
คาใชจายในการขายและบริหาร
อุปกรณสํานักงาน 284,000 5 56,800
รถยนต 1,000,000 5 200,000
รวม 4,391,874
158

ตารางที่ 6.24: แสดงตนทุนการบริการสําหรับป 2558 ในกรณีที่ดีที่สุด

ตนทุนการบริการ (หนวย: บาท) ป 2558


วัตถุดิบใชไป:
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป (16,351,179)
วัตถุดิบในครัวใชไป (227,079)
ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝาก (302,772)
วัตถุดิบในสปาใชไป (56,770)
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด (108,000)
เงินเดือนพนักงาน:
พนักงานทําความสะอาด (432,000)
พนักงานตอนรับ (360,000)
พนักงานเข็นกระเปา (216,000)
พนักงานดูแลลูกคา (216,000)
พนักงานขายสินคาในshop (108,000)
พนักงานทําครัว (324,000)
พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด (180,000)
ผูเชี่ยวชาญดานบานดิน (180,000)
พนักงานทําสปา (216,000)
พนักงานรักษาความปลอดภัย (108,000)
คาใชจายในการบริการตางๆ:
คาเสื่อมราคา-ที่พักและอาคาร (1,174,500)
คาเสื่อมราคา-เตนท (62,400)
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะเห็ด (27,000)
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ําออนเซ็น (130,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (450,674)
คาสาธารณูปโภค (3,270,236)
คาบํารุงรักษารีสอรท (1,000,000)
คาใชจายในการจัดอีเวนท (3,630,000)
รวมตนทุนการบริการ (29,130,610)
159

ตารางที่ 6.25: แสดงตนทุนการบริการสําหรับป 2558 ในกรณีที่เปนไปไดที่สุด

ตนทุนการบริการ (หนวย: บาท) ป 2558


วัตถุดิบใชไป:
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป (9,222,495)
วัตถุดิบในครัวใชไป (125,370)
ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝาก (167,160)
วัตถุดิบในสปาใชไป (31,343)
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด (108,000)
เงินเดือนพนักงาน:
พนักงานทําความสะอาด (432,000)
พนักงานตอนรับ (360,000)
พนักงานเข็นกระเปา (216,000)
พนักงานดูแลลูกคา (216,000)
พนักงานขายสินคาในshop (108,000)
พนักงานทําครัว (324,000)
พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด (180,000)
ผูเชี่ยวชาญดานบานดิน (180,000)
พนักงานทําสปา (216,000)
พนักงานรักษาความปลอดภัย (108,000)
คาใชจายในการบริการตางๆ:
คาเสื่อมราคา-ที่พักและอาคาร (1,174,500)
คาเสื่อมราคา-เตนท (62,400)
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะเห็ด (27,000)
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ําออนเซ็น (130,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (450,674)
คาสาธารณูปโภค (1,844,499)
คาบํารุงรักษารีสอรท (1,000,000)
คาใชจายในการจัดอีเวนท (3,630,000)
รวมตนทุนการบริการ (20,313,441)
160

ตารางที่ 6.26: แสดงตนทุนการบริการสําหรับป 2558 ในกรณีที่แยที่สุด

ตนทุนการบริการ (หนวย: บาท) ป 2558


วัตถุดิบใชไป:
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป (6,368,991)
วัตถุดิบในครัวใชไป (86,841)
ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝาก (115,788)
วัตถุดิบในสปาใชไป (21,710)
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด (108,000)
เงินเดือนพนักงาน:
พนักงานทําความสะอาด (432,000)
พนักงานตอนรับ (360,000)
พนักงานเข็นกระเปา (216,000)
พนักงานดูแลลูกคา (216,000)
พนักงานขายสินคาในshop (108,000)
พนักงานทําครัว (324,000)
พนักงานดูแลโรงเพาะเห็ด (180,000)
ผูเชี่ยวชาญดานบานดิน (180,000)
พนักงานทําสปา (216,000)
พนักงานรักษาความปลอดภัย (108,000)
คาใชจายในการบริการตางๆ:
คาเสื่อมราคา-ที่พักและอาคาร (1,174,500)
คาเสื่อมราคา-เตนท (62,400)
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะเห็ด (27,000)
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ําออนเซ็น (130,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (450,674)
คาสาธารณูปโภค (1,273,798)
คาบํารุงรักษารีสอรท (1,000,000)
คาใชจายในการจัดอีเวนท (3,630,000)
รวมตนทุนการบริการ (16,789,702)
161

ตารางที่ 6.27: แสดงคาใชจายในการขายและบริหารสําหรับป 2558 ในกรณีที่ดีที่สุด

คาใชจายในการขายและบริหาร: (หนวย: บาท) ป2558


เงินเดือนผูจัดการ (420,000)
เงินเดือนพนักงานบัญชี/การเงิน (180,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณสํานักงาน (56,800)
คาเสื่อมราคา-รถยนต (200,000)
แบบฟอรมพนักงาน (31,250)
คาสื่อสารการประชาสัมพันธ (1,200,000)
คาออกแบบเวปไซต (56,400)
คาบริษัททัวร (180,000)
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร (2,324,450)

ตารางที่ 6.28: แสดงคาใชจายในการขายและบริหารสําหรับป 2558 ในกรณีที่เปนไปไดที่สุด

คาใชจายในการขายและบริหาร: (หนวย: บาท) ป2558


เงินเดือนผูจัดการ (420,000)
เงินเดือนพนักงานบัญชี/การเงิน (180,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณสํานักงาน (56,800)
คาเสื่อมราคา-รถยนต (200,000)
แบบฟอรมพนักงาน (31,250)
คาสื่อสารการประชาสัมพันธ (1,200,000)
คาออกแบบเวปไซต (56,400)
คาบริษัททัวร (180,000)
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร (2,324,450)
162

ตารางที่ 6.29: แสดงคาใชจายในการขายและบริหารสําหรับป 2558 ในกรณีที่แยที่สุด

คาใชจายในการขายและบริหาร: (หนวย: บาท) ป2558


เงินเดือนผูจัดการ (420,000)
เงินเดือนพนักงานบัญชี/การเงิน (180,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณสํานักงาน (56,800)
คาเสื่อมราคา-รถยนต (200,000)
แบบฟอรมพนักงาน (31,250)
คาสื่อสารการประชาสัมพันธ (1,200,000)
คาออกแบบเวปไซต (56,400)
คาบริษัททัวร (180,000)
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร (2,324,450)

6.5 ประมาณการงบกําไรขาดทุน
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพไดจัดทํางบกําไรขาดทุนเพื่อแสดงผลการดําเนินงานของ
โครงการฯ โดยไดประมาณการงบกําไรชาดทุนเปนเวลา 5 ป ตั้งแตป 2558 – 2562 สําหรับทั้ง 3
กรณีคือ กรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด และกรณีที่แยที่สุด
163

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกําไรขาดทุน – กรณีทดี่ ที ี่สุด
สําหรับป 2558
หนวย: บาท
รายไดการใหบริการที่พักรีสอรท 54,540,000
รายไดการใหบริการเตนท 8,640,000
รายไดการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร 6,048,000
รายไดคาเชาบานพักรายป 3,780,000
รายไดจากการจัดอีเวนท 2,685,000
รวมรายไดกลุมที่1-5 75,693,000
รายไดการใหบริการที่พัก-7HRS 4,927,500
รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก 756,930
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 378,465
รายไดทั้งหมด 81,755,895
ตนทุนการบริการ
วัตถุดิบใชไป:
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป (16,351,179)
วัตถุดิบในครัวใชไป (227,079)
ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝาก (302,772)
วัตถุดิบในสปาใชไป (56,770)
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด (108,000)
เงินเดือนพนักงานหนางาน (2,340,000)
คาใชจายในการบริการตางๆ:
คาเสื่อมราคา-ที่พักและอาคาร (1,174,500)
คาเสื่อมราคา-เตนท (62,400)
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะเห็ด (27,000)
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ําออนเซ็น (130,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (450,674)
164

คาสาธารณูปโภค (3,270,236)
คาบํารุงรักษารีสอรท (1,000,000)
คาใชจายในการจัดอีเวนท (3,630,000)
รวมตนทุนการบริการ (29,130,610)
กําไรขั้นตน 52,625,285
คาใชจายในการขายและบริหาร:
เงินเดือนผูจัดการ (420,000)
เงินเดือนพนักงานบัญชี/การเงิน (180,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณสํานักงาน (56,800)
คาเสื่อมราคา-รถยนต (200,000)
แบบฟอรมพนักงาน (31,250)
คาสื่อสารการประชาสัมพันธ (1,200,000)
คาออกแบบเวปไซต (56,400)
คาบริษัททัวร (180,000)
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร (2,324,450)
กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีฯ 50,300,835
ดอกเบี้ยจาย (3,180,000)
กําไรกอนภาษีฯ 47,120,835
ภาษีเงินไดฯ (9,424,167)
กําไรสุทธิ 37,696,668
165

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกําไรขาดทุน – กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด
สําหรับป 2558
หนวย: บาท
รายไดการใหบริการที่พักรีสอรท 27,270,000
รายไดการใหบริการเตนท 4,320,000
รายไดการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร 4,032,000
รายไดคาเชาบานพักรายป 3,780,000
รายไดจากการจัดอีเวนท 2,388,000
รวมรายไดกลุมที่1-5 41,790,000
รายไดการใหบริการที่พัก-7HRS 3,695,625
รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก 417,900
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 208,950
รายไดทั้งหมด 46,112,475
ตนทุนการบริการ
วัตถุดิบใชไป:
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป (9,222,495)
วัตถุดิบในครัวใชไป (125,370)
ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝาก (167,160)
วัตถุดิบในสปาใชไป (31,343)
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด (108,000)
เงินเดือนพนักงานหนางาน (2,340,000)
คาใชจายในการบริการตางๆ:
คาเสื่อมราคา-ที่พักและอาคาร (1,174,500)
คาเสื่อมราคา-เตนท (62,400)
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะเห็ด (27,000)
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ําออนเซ็น (130,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (450,674)
166

คาสาธารณูปโภค (1,844,499)
คาบํารุงรักษารีสอรท (1,000,000)
คาบํารุงรักษารีสอรท (3,630,000)
รวมตนทุนการบริการ (20,313,441)
กําไรขั้นตน 25,799,035
คาใชจายในการขายและบริหาร:
เงินเดือนผูจัดการ (420,000)
เงินเดือนพนักงานบัญชี/การเงิน (180,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณสํานักงาน (56,800)
คาเสื่อมราคา-รถยนต (200,000)
แบบฟอรมพนักงาน (31,250)
คาสื่อสารการประชาสัมพันธ (1,200,000)
คาออกแบบเวปไซต (56,400)
คาบริษัททัวร (180,000)
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร (2,324,450)
กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีฯ 23,474,585
ดอกเบี้ยจาย (3,180,000)
กําไรกอนภาษีฯ 20,294,585
ภาษีเงินไดฯ (4,058,917)
กําไรสุทธิ 16,235,668
167

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกําไรขาดทุน – กรณีที่แยที่สุด
สําหรับป 2558
หนวย: บาท
รายไดการใหบริการที่พักรีสอรท 18,180,000
รายไดการใหบริการเตนท 2,880,000
รายไดการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร 2,016,000
รายไดคาเชาบานพักรายป 3,780,000
รายไดจากการจัดอีเวนท 2,091,000
รวมรายไดกลุมที่1-5 28,947,000
รายไดการใหบริการที่พัก-7HRS 2,463,750
รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก 289,470
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 144,735
รายไดทั้งหมด 31,844,955
ตนทุนการบริการ
วัตถุดิบใชไป:
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป (6,368,991)
วัตถุดิบในครัวใชไป (86,841)
ตนทุนสินคาของผลิตภัณฑของฝาก (115,788)
วัตถุดิบในสปาใชไป (21,710)
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะเห็ด (108,000)
เงินเดือนพนักงานหนางาน (2,340,000)
คาใชจายในการบริการตางๆ:
คาเสื่อมราคา-ที่พักและอาคาร (1,174,500)
คาเสื่อมราคา-เตนท (62,400)
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะเห็ด (27,000)
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ําออนเซ็น (130,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (450,674)
168

คาสาธารณูปโภค (1,273,798)
คาบํารุงรักษารีสอรท (1,000,000)
คาบํารุงรักษารีสอรท (3,630,000)
รวมตนทุนการบริการ (16,789,702)
กําไรขั้นตน 15,055,253
คาใชจายในการขายและบริหาร:
เงินเดือนผูจัดการ (420,000)
เงินเดือนพนักงานบัญชี/การเงิน (180,000)
คาเสื่อมราคา-อุปกรณสํานักงาน (56,800)
คาเสื่อมราคา-รถยนต (200,000)
แบบฟอรมพนักงาน (31,250)
คาสื่อสารการประชาสัมพันธ (1,200,000)
คาออกแบบเวปไซต (56,400)
คาบริษัททัวร (180,000)
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร (2,324,450)
กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีฯ 12,730,803
ดอกเบี้ยจาย (3,180,000)
กําไรกอนภาษีฯ 9,550,803
ภาษีเงินไดฯ (1,910,161)
กําไรสุทธิ 7,640,642
169

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกําไรขาดทุนแบบเปรียบเทียบ 5 ป – กรณีที่ดีที่สุด
สําหรับป 2558 – 2562
(หนวย: บาท)
ป2558 ป2559 ป2560 ป2561 ป2562
รายไดการใหบริการที่พัก 54,54 66. 57,64 66. 60,93 66. 64,40 66. 68,07 66.
รีสอรท 0,000 7% 8,780 7% 4,760 7% 8,042 7% 9,300 7%
8,640, 10. 9,132, 10. 9,653, 10. 10,20 10. 10,78 10.
รายไดการใหบริการเตนท 000 6% 480 6% 031 6% 3,254 6% 4,840 6%
รายไดการขายคอรด 6,048, 7.4 6,392, 7.4 6,757, 7.4 7,142, 7.4 7,549, 7.4
กิจกรรมรวมกับพันธมิตร 000 % 736 % 122 % 278 % 388 %
รายไดคาเชาบานพักราย 3,780, 4.6 3,995, 4.6 4,223, 4.6 4,463, 4.6 4,718, 4.6
ป 000 % 460 % 201 % 924 % 367 %
2,685, 3.3 2,838, 3.3 2,999, 3.3 3,170, 3.3 3,351, 3.3
รายไดจากการจัดอีเวนท 000 % 045 % 814 % 803 % 539 %
75,69 92. 80,00 92. 84,56 92. 89,38 92. 94,48 92.
รวมรายไดกลุมที1่ -5 3,000 6% 7,501 6% 7,929 6% 8,300 6% 3,434 6%
รายไดการใหบริการที่พัก- 4,927, 6.0 5,208, 6.0 5,505, 6.0 5,819, 6.0 6,150, 6.0
7HRS 500 % 368 % 244 % 043 % 729 %
รายไดจากรานขายสินคา 756,9 0.9 800,0 0.9 845,6 0.9 893,8 0.9 944,8 0.9
และของที่ระลึก 30 % 75 % 79 % 83 % 34 %
378,4 0.5 400,0 0.5 422,8 0.5 446,9 0.5 472,4 0.5
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 65 % 38 % 40 % 42 % 17 %
102,0
81,75 100 86,41 100 91,34 100 96,54 100 51,41 100
รายไดทั้งหมด 5,895 % 5,981 % 1,692 % 8,168 % 4 %
ตนทุนการบริการ
วัตถุดิบใชไป:
- - - - -
(16,35 20. (17,28 20. (18,26 20. (19,30 20. (20,41 20.
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป 1,179) 0% 3,196) 0% 8,338) 0% 9,634) 0% 0,283) 0%
- - - - -
(227,0 0.3 (240,0 0.3 (253,7 0.3 (268,1 0.3 (283,4 0.3
วัตถุดิบในครัวใชไป 79) % 23) % 04) % 65) % 50) %
170

- - - - -
ตนทุนสินคาของ (302,7 0.4 (320,0 0.4 (338,2 0.4 (357,5 0.4 (377,9 0.4
ผลิตภัณฑของฝาก 72) % 30) % 72) % 53) % 34) %
- - - - -
(56,77 0.1 (60,00 0.1 (63,42 0.1 (67,04 0.1 (70,86 0.1
วัตถุดิบในสปาใชไป 0) % 6) % 6) % 1) % 3) %
- - - - -
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะ (108,0 0.1 (108,0 0.1 (108,0 0.1 (108,0 0.1 (108,0 0.1
เห็ด 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
เงินเดือนพนักงานหนา (2,340 1.7 (2,457 1.6 (2,579 1.6 (2,708 1.6 (2,844 1.6
งาน ,000) % ,000) % ,850) % ,843) % ,285) %
คาใชจายในการบริการ
ตางๆ:
- - - - -
คาเสื่อมราคา-ที่พักและ (1,174 1.4 (1,174 1.4 (1,174 1.4 (1,174 1.4 (1,174 1.4
อาคาร ,500) % ,500) % ,500) % ,500) % ,500) %
- - - - -
(62,40 0.1 (62,40 0.1 (62,40 0.1 (62,40 0.1 (62,40 0.1
คาเสื่อมราคา-เตนท 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะ (27,00 0.0 (27,00 0.0 (27,00 0.0 (27,00 0.0 (27,00 0.0
เห็ด 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ํา (130,0 0.2 (130,0 0.2 (130,0 0.1 (130,0 0.1 (130,0 0.1
ออนเซ็น 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ (450,6 0.6 (450,6 0.5 (450,6 0.5 (450,6 0.5 (450,6 0.4
ใชในกิจกรรมดําเนินงาน 74) % 74) % 74) % 74) % 74) %
- - - - -
(3,270 4.0 (3,456 4.0 (3,653 4.0 (3,861 4.0 (4,082 4.0
คาสาธารณูปโภค ,236) % ,639) % ,668) % ,927) % ,057) %
- - - - -
(1,000 1.2 (1,000 1.2 (1,000 1.1 (1,000 1.0 (1,000 1.0
คาบํารุงรักษารีสอรท ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
คาใชจายในการจัดอีเวนท (3,630 - (3,630 - (3,630 - (3,630 - (3,630 -
171

,000) 4.4 ,000) 4.2 ,000) 4.0 ,000) 3.8 ,000) 3.6
% % % % %
- - - - -
(29,13 35. (30,39 35. (31,73 34. (33,15 34. (34,65 34.
รวมตนทุนการบริการ 0,610) 6% 9,468) 2% 9,832) 7% 5,736) 3% 1,445) 0%
52,62 64. 56,01 64. 59,60 65. 63,39 65. 67,39 66.
กําไรขั้นตน 5,285 4% 6,513 8% 1,860 3% 2,432 7% 9,969 0%
คาใชจายในการขายและ
บริหาร:
- - - - -
(420,0 0.5 (441,0 0.5 (463,0 0.5 (486,2 0.5 (510,5 0.5
เงินเดือนผูจัดการ 00) % 00) % 50) % 03) % 13) %
- - - - -
เงินเดือนพนักงานบัญชี/ (180,0 0.2 (189,0 0.2 (198,4 0.2 (208,3 0.2 (218,7 0.2
การเงิน 00) % 00) % 50) % 73) % 91) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-อุปกรณ (56,80 0.1 (56,80 0.1 (56,80 0.1 (56,80 0.1 (56,80 0.1
สํานักงาน 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
(200,0 0.2 (200,0 0.2 (200,0 0.2 (200,0 0.2 (200,0 0.2
คาเสื่อมราคา-รถยนต 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
(31,25 0.0 (31,25 0.0 (31,25 0.0 (31,25 0.0 (31,25 0.0
แบบฟอรมพนักงาน 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาสื่อสารการ (1,200 1.5 (1,200 1.4 (1,200 1.3 (1,200 1.2 (1,200 1.2
ประชาสัมพันธ ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
- - - - -
(56,40 0.1 (56,40 0.1 (56,40 0.1 (56,40 0.1 (56,40 0.1
คาออกแบบเวปไซต 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
(180,0 0.2 (190,2 0.2 (201,1 0.2 (212,5 0.2 (224,6 0.2
คาบริษัททัวร 00) % 60) % 05) % 68) % 84) %
- - - - -
รวมคาใชจายในการขาย (2,324 2.8 (2,364 2.7 (2,407 2.6 (2,451 2.5 (2,498 2.4
และบริหาร ,450) % ,710) % ,055) % ,593) % ,438) %
172

กําไรกอนดอกเบี้ยจาย 50,30 61. 53,65 62. 57,19 62. 60,94 63. 64,90 63.
และภาษีฯ 0,835 5% 1,803 1% 4,806 6% 0,839 1% 1,531 6%
- - - - -
(3,180 3.9 (3,180 3.7 (3,180 3.5 (3,180 3.3 (3,180 3.1
ดอกเบี้ยจาย ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
47,12 57. 50,47 58. 54,01 59. 57,76 59. 61,72 60.
กําไรกอนภาษีฯ 0,835 6% 1,803 4% 4,806 1% 0,839 8% 1,531 5%
- - - - -
(9,424 11. (10,09 11. (10,80 11. (11,55 12. (12,34 12.
ภาษีเงินไดฯ ,167) 5% 4,361) 7% 2,961) 8% 2,168) 0% 4,306) 1%
37,69 46. 40,37 46. 43,21 47. 46,20 47. 49,37 48.
กําไรสุทธิ 6,668 1% 7,443 7% 1,844 3% 8,671 9% 7,225 4%
173

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกําไรขาดทุนแบบเปรียบเทียบ 5 ป – กรณีที่เปนไปไดที่สุด
สําหรับป 2558 – 2562
(หนวย: บาท)
ป2558 ป2559 ป2560 ป2561 ป2562
รายไดการใหบริการที่พัก 27,27 59. 28,52 59. 29,83 59. 31,20 59. 32,64 59.
รีสอรท 0,000 1% 4,420 1% 6,543 1% 9,024 1% 4,639 1%
4,320, 9.4 4,518, 9.4 4,726, 9.4 4,944, 9.4 5,171, 9.4
รายไดการใหบริการเตนท 000 % 720 % 581 % 004 % 428 %
รายไดการขายคอรด 4,032, 8.7 4,217, 8.7 4,411, 8.7 4,614, 8.7 4,826, 8.7
กิจกรรมรวมกับพันธมิตร 000 % 472 % 476 % 404 % 666 %
รายไดคาเชาบานพักราย 3,780, 8.2 3,953, 8.2 4,135, 8.2 4,326, 8.2 4,525, 8.2
ป 000 % 880 % 758 % 003 % 000 %
2,388, 5.2 2,497, 5.2 2,612, 5.2 2,732, 5.2 2,858, 5.2
รายไดจากการจัดอีเวนท 000 % 848 % 749 % 935 % 650 %
41,79 90. 43,71 90. 45,72 90. 47,82 90. 50,02 90.
รวมรายไดกลุมที1่ -5 0,000 6% 2,340 6% 3,108 6% 6,371 6% 6,384 6%
รายไดการใหบริการที่พัก- 3,695, 8.0 3,865, 8.0 4,043, 8.0 4,229, 8.0 4,423, 8.0
7HRS 625 % 624 % 442 % 441 % 995 %
รายไดจากรานขายสินคา 417,9 0.9 437,1 0.9 457,2 0.9 478,2 0.9 500,2 0.9
และของที่ระลึก 00 % 23 % 31 % 64 % 64 %
208,9 0.5 218,5 0.5 228,6 0.5 239,1 0.5 250,1 0.5
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 50 % 62 % 16 % 32 % 32 %
46,11 100 48,23 100 50,45 100 52,77 100 55,20 100
รายไดทั้งหมด 2,475 % 3,649 % 2,397 % 3,207 % 0,774 %
ตนทุนการบริการ
วัตถุดิบใชไป:
- - - - -
(9,222 20. (9,646 20. (10,09 20. (10,55 20. (11,04 20.
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป ,495) 0% ,730) 0% 0,479) 0% 4,641) 0% 0,155) 0%
- - - - -
(125,3 0.3 (131,1 0.3 (137,1 0.3 (143,4 0.3 (150,0 0.3
วัตถุดิบในครัวใชไป 70) % 37) % 69) % 79) % 79) %
ตนทุนสินคาของ (167,1 - (174,8 - (182,8 - (191,3 - (200,1 -
174

ผลิตภัณฑของฝาก 60) 0.4 49) 0.4 92) 0.4 05) 0.4 06) 0.4
% % % % %
- - - - -
(31,34 0.1 (32,78 0.1 (34,29 0.1 (35,87 0.1 (37,52 0.1
วัตถุดิบในสปาใชไป 3) % 4) % 2) % 0) % 0) %
- - - - -
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะ (108,0 0.2 (108,0 0.2 (108,0 0.2 (108,0 0.2 (108,0 0.2
เห็ด 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
เงินเดือนพนักงานหนา (2,340 2.0 (2,457 2.0 (2,579 2.0 (2,708 2.0 (2,844 2.0
งาน ,000) % ,000) % ,850) % ,843) % ,285) %
คาใชจายในการบริการตางๆ:
- - - - -
คาเสื่อมราคา-ที่พักและ (1,174 2.5 (1,174 2.4 (1,174 2.3 (1,174 2.2 (1,174 2.1
อาคาร ,500) % ,500) % ,500) % ,500) % ,500) %
- - - - -
(62,40 0.1 (62,40 0.1 (62,40 0.1 (62,40 0.1 (62,40 0.1
คาเสื่อมราคา-เตนท 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - -
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะ (27,00 0.1 (27,00 0.1 (27,00 0.1 (27,00 0.1 (27,00 0.0
เห็ด 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ํา (130,0 0.3 (130,0 0.3 (130,0 0.3 (130,0 0.2 (130,0 0.2
ออนเซ็น 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ (450,6 1.0 (450,6 0.9 (450,6 0.9 (450,6 0.9 (450,6 0.8
ใชในกิจกรรมดําเนินงาน 74) % 74) % 74) % 74) % 74) %
- - - - -
(1,844 4.0 (1,929 4.0 (2,018 4.0 (2,110 4.0 (2,208 4.0
คาสาธารณูปโภค ,499) % ,346) % ,096) % ,928) % ,031) %
- - - - -
(1,000 2.2 (1,000 2.1 (1,000 2.0 (1,000 1.9 (1,000 1.8
คาบํารุงรักษารีสอรท ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
(3,630 - (3,630 - (3,630 - (3,630 - (3,630 -
คาบํารุงรักษารีสอรท ,000) 7.9 ,000) 7.5 ,000) 7.2 ,000) 6.9 ,000) 6.6
175

% % % % %
- - - - -
(20,31 44. (20,95 43. (21,62 42. (22,32 42. (23,06 41.
รวมตนทุนการบริการ 3,441) 1% 4,420) 4% 5,353) 9% 7,641) 3% 2,749) 8%
25,79 55. 27,27 56. 28,82 57. 30,44 57. 32,13 58.
กําไรขั้นตน 9,035 9% 9,228 6% 7,043 1% 5,566 7% 8,025 2%
คาใชจายในการขายและบริหาร:
- - - - -
(420,0 0.9 (441,0 0.9 (463,0 0.9 (486,2 0.9 (510,5 0.9
เงินเดือนผูจัดการ 00) % 00) % 50) % 03) % 13) %
- - - - -
เงินเดือนพนักงานบัญชี/ (180,0 0.4 (189,0 0.4 (198,4 0.4 (208,3 0.4 (218,7 0.4
การเงิน 00) % 00) % 50) % 73) % 91) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-อุปกรณ (56,80 0.1 (56,80 0.1 (56,80 0.1 (56,80 0.1 (56,80 0.1
สํานักงาน 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
(200,0 0.4 (200,0 0.4 (200,0 0.4 (200,0 0.4 (200,0 0.4
คาเสื่อมราคา-รถยนต 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
(31,25 0.1 (31,25 0.1 (31,25 0.1 (31,25 0.1 (31,25 0.1
แบบฟอรมพนักงาน 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาสื่อสารการ (1,200 2.6 (1,200 2.5 (1,200 2.4 (1,200 2.3 (1,200 2.2
ประชาสัมพันธ ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
- - - - -
(56,40 0.1 (56,40 0.1 (56,40 0.1 (56,40 0.1 (56,40 0.1
คาออกแบบเวปไซต 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
(180,0 0.4 (190,2 0.4 (201,1 0.4 (212,5 0.4 (224,6 0.4
คาบริษัททัวร 00) % 60) % 05) % 68) % 84) %
- - - - -
รวมคาใชจายในการขาย (2,324 5.0 (2,364 4.9 (2,407 4.8 (2,451 4.6 (2,498 4.5
และบริหาร ,450) % ,710) % ,055) % ,593) % ,438) %
กําไรกอนดอกเบี้ยจาย 23,47 50. 24,91 51. 26,41 52. 27,99 53. 29,63 53.
176

และภาษีฯ 4,585 9% 4,518 7% 9,989 4% 3,974 0% 9,588 7%


- - - - -
(3,180 6.9 (3,180 6.6 (3,180 6.3 (3,180 6.0 (3,180 5.8
ดอกเบี้ยจาย ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
20,29 44. 21,73 45. 23,23 46. 24,81 47. 26,45 47.
กําไรกอนภาษีฯ 4,585 0% 4,518 1% 9,989 1% 3,974 0% 9,588 9%
- - - - -
(4,058 8.8 (4,346 9.0 (4,647 9.2 (4,962 9.4 (5,291 9.6
ภาษีเงินไดฯ ,917) % ,904) % ,998) % ,795) % ,918) %
16,23 35. 17,38 36. 18,59 36. 19,85 37. 21,16 38.
กําไรสุทธิ 5,668 2% 7,615 0% 1,991 9% 1,179 6% 7,670 3%
177

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกําไรขาดทุนแบบเปรียบเทียบ 5 ป – กรณีที่แยที่สุด
สําหรับป 2558 – 2562
(หนวย: บาท)
ป2558 ป2559 ป2560 ป2561 ป2562
รายไดการใหบริการที่พัก 18,18 57. 18,79 57. 19,43 57. 20,09 57. 20,78 57.
รีสอรท 0,000 1% 8,120 1% 7,256 1% 8,123 1% 1,459 1%
2,880, 9.0 2,977, 9.0 3,079, 9.0 3,183, 9.0 3,292, 9.0
รายไดการใหบริการเตนท 000 % 920 % 169 % 861 % 112 %
รายไดการขายคอรด 2,016, 6.3 2,084, 6.3 2,155, 6.3 2,228, 6.3 2,304, 6.3
กิจกรรมรวมกับพันธมิตร 000 % 544 % 418 % 703 % 479 %
รายไดคาเชาบานพักราย 3,780, 11. 3,908, 11. 4,041, 11. 4,178, 11. 4,320, 11.
ป 000 9% 520 9% 410 9% 818 9% 897 9%
2,091, 6.6 2,162, 6.6 2,235, 6.6 2,311, 6.6 2,390, 6.6
รายไดจากการจัดอีเวนท 000 % 094 % 605 % 616 % 211 %
28,94 90. 29,93 90. 30,94 90. 32,00 90. 33,08 90.
รวมรายไดกลุมที1่ -5 7,000 9% 1,198 9% 8,859 9% 1,120 9% 9,158 9%
รายไดการใหบริการที่พัก- 2,463, 7.7 2,547, 7.7 2,634, 7.7 2,723, 7.7 2,816, 7.7
7HRS 750 % 518 % 133 % 694 % 299 %
รายไดจากรานขายสินคา 289,4 0.9 299,3 0.9 309,4 0.9 320,0 0.9 330,8 0.9
และของที่ระลึก 70 % 12 % 89 % 11 % 92 %
144,7 0.5 149,6 0.5 154,7 0.5 160,0 0.5 165,4 0.5
รายไดจากกิจกรรมอื่นๆ 35 % 56 % 44 % 06 % 46 %
31,84 100 32,92 100 34,04 100 35,20 100 36,40 100
รายไดทั้งหมด 4,955 % 7,683 % 7,225 % 4,830 % 1,795 %
ตนทุนการบริการ
วัตถุดิบใชไป:
- - - - -
(6,368 20. (6,585 20. (6,809 20. (7,040 20. (7,280 20.
วัสดุสิ้นเปลืองใชไป ,991) 0% ,537) 0% ,445) 0% ,966) 0% ,359) 0%
- - - - -
(86,84 0.3 (89,79 0.3 (92,84 0.3 (96,00 0.3 (99,26 0.3
วัตถุดิบในครัวใชไป 1) % 4) % 7) % 3) % 7) %
ตนทุนสินคาของ (115,7 - (119,7 - (123,7 - (128,0 - (132,3 -
178

ผลิตภัณฑของฝาก 88) 0.4 25) 0.4 95) 0.4 04) 0.4 57) 0.4
% % % % %
- - - - -
(21,71 0.1 (22,44 0.1 (23,21 0.1 (24,00 0.1 (24,81 0.1
วัตถุดิบในสปาใชไป 0) % 8) % 2) % 1) % 7) %
- - - - -
คาเชื้อเห็ดสําหรับเพาะ (108,0 0.3 (108,0 0.3 (108,0 0.3 (108,0 0.3 (108,0 0.3
เห็ด 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
เงินเดือนพนักงานหนา (2,340 2.5 (2,457 2.5 (2,579 2.5 (2,708 2.6 (2,844 2.6
งาน ,000) % ,000) % ,850) % ,843) % ,285) %
คาใชจายในการบริการ
ตางๆ:
- - - - -
คาเสื่อมราคา-ที่พักและ (1,174 3.7 (1,174 3.6 (1,174 3.4 (1,174 3.3 (1,174 3.2
อาคาร ,500) % ,500) % ,500) % ,500) % ,500) %
- - - - -
(62,40 0.2 (62,40 0.2 (62,40 0.2 (62,40 0.2 (62,40 0.2
คาเสื่อมราคา-เตนท 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-โรงเพาะ (27,00 0.1 (27,00 0.1 (27,00 0.1 (27,00 0.1 (27,00 0.1
เห็ด 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-สระวายน้ํา (130,0 0.4 (130,0 0.4 (130,0 0.4 (130,0 0.4 (130,0 0.4
ออนเซ็น 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-อุปกรณที่ (450,6 1.4 (450,6 1.4 (450,6 1.3 (450,6 1.3 (450,6 1.2
ใชในกิจกรรมดําเนินงาน 74) % 74) % 74) % 74) % 74) %
- - - - -
(1,273 4.0 (1,317 4.0 (1,361 4.0 (1,408 4.0 (1,456 4.0
คาสาธารณูปโภค ,798) % ,107) % ,889) % ,193) % ,072) %
- - - - -
(1,000 3.1 (1,000 3.0 (1,000 2.9 (1,000 2.8 (1,000 2.7
คาบํารุงรักษารีสอรท ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
คาบํารุงรักษารีสอรท (3,630 - (3,630 - (3,630 - (3,630 - (3,630 -
179

,000) 11. ,000) 11. ,000) 10. ,000) 10. ,000) 10.
4% 0% 7% 3% 0%
- - - - -
(16,78 52. (17,17 52. (17,57 51. (17,98 51. (18,41 50.
รวมตนทุนการบริการ 9,702) 7% 4,185) 2% 3,612) 6% 8,584) 1% 9,730) 6%
15,05 47. 15,75 47. 16,47 48. 17,21 48. 17,98 49.
กําไรขั้นตน 5,253 3% 3,499 8% 3,613 4% 6,246 9% 2,064 4%
คาใชจายในการขายและ
บริหาร:
- - - - -
(420,0 1.3 (441,0 1.3 (463,0 1.4 (486,2 1.4 (510,5 1.4
เงินเดือนผูจัดการ 00) % 00) % 50) % 03) % 13) %
- - - - -
เงินเดือนพนักงานบัญชี/ (180,0 0.6 (189,0 0.6 (198,4 0.6 (208,3 0.6 (218,7 0.6
การเงิน 00) % 00) % 50) % 73) % 91) %
- - - - -
คาเสื่อมราคา-อุปกรณ (56,80 0.2 (56,80 0.2 (56,80 0.2 (56,80 0.2 (56,80 0.2
สํานักงาน 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
(200,0 0.6 (200,0 0.6 (200,0 0.6 (200,0 0.6 (200,0 0.5
คาเสื่อมราคา-รถยนต 00) % 00) % 00) % 00) % 00) %
- - - - -
(31,25 0.1 (31,25 0.1 (31,25 0.1 (31,25 0.1 (31,25 0.1
แบบฟอรมพนักงาน 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
คาสื่อสารการ (1,200 3.8 (1,200 3.6 (1,200 3.5 (1,200 3.4 (1,200 3.3
ประชาสัมพันธ ,000) % ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
- - - - -
(56,40 0.2 (56,40 0.2 (56,40 0.2 (56,40 0.2 (56,40 0.2
คาออกแบบเวปไซต 0) % 0) % 0) % 0) % 0) %
- - - - -
(180,0 0.6 (190,2 0.6 (201,1 0.6 (212,5 0.6 (224,6 0.6
คาบริษัททัวร 00) % 60) % 05) % 68) % 84) %
รวมคาใชจา ยในการขาย (2,324 - (2,364 - (2,407 - (2,451 - (2,498 -
และบริหาร ,450) 7.3 ,710) 7.2 ,055) 7.1 ,593) 7.0 ,438) 6.9
180

% % % % %
กําไรกอนดอกเบี้ยจาย 12,73 40. 13,38 40. 14,06 41. 14,76 41. 15,48 42.
และภาษีฯ 0,803 0% 8,789 7% 6,558 3% 4,653 9% 3,626 5%
- - - - -
(3,180 10. (3,180 9.7 (3,180 9.3 (3,180 9.0 (3,180 8.7
ดอกเบี้ยจาย ,000) 0% ,000) % ,000) % ,000) % ,000) %
9,550, 30. 10,20 31. 10,88 32. 11,58 32. 12,30 33.
กําไรกอนภาษีฯ 803 0% 8,789 0% 6,558 0% 4,653 9% 3,626 8%
- - - - -
(1,910 6.0 (2,041 6.2 (2,177 6.4 (2,316 6.6 (2,460 6.8
ภาษีเงินไดฯ ,161) % ,758) % ,312) % ,931) % ,725) %
7,640, 24. 8,167, 24. 8,709, 25. 9,267, 26. 9,842, 27.
กําไรสุทธิ 642 0% 031 8% 247 6% 722 3% 901 0%

การประมาณงบกําไรขาดทุนแลวจะเห็นวาโครงการมีผลกําไรจากการดําเนินงานอยาง
ตอเนื่องทั้งสามกรณี สําหรับงบแสดงฐานะทางเงินของบริษัทซึ่ง จะเปนงบที่บงบอกความมั่งคั่งของ
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพแบบประมาณการนี้ถูกจัดทําขึ้นภายใตสมมติฐานดังตอไปนี้
1.โครงการจะดํารงเงินสดในมือ 10,000,000 บาท สําหรับเงินสวนที่เหลือโครงการจะนําไป
เงินทุนระยะสั้นไวในตราสารทุนและตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงต่ํา
2.โครงการยังไมมีนโยบายการซื้อขายสินคาดวยเงินเชื่อ เพื่อความคลองตัวทางโครงการจะรับ
รายไดเปนเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดเทานั้น และนอกจากนี้แลวโครงการยังเปน
ผูประกอบการรายใหม และไมไดมีนโยบายกักตุนสินคาในจํานวนมาก จึงมีความเปนไปไดสูงที่จะยัง
ไมไดรับระยะเวลาชําระหนี้จากรานคา ดังนั้นงบแสดงฐานะทางการเงินจึงไมปรากฏบัญชีลูกหนี้การคา
และเจาหนี้การคา
3.โครงการจะทยอยคืนเงินกูยืมระยะยาวทุกป หากมีกําไรทั้งนี้โครงการมีความตั้งใจที่จะคืน
เงินกูยืมระยะยาวปละ 2,650,000 บาท โดยเริ่มตนคืนเงินกูยืมในปที่ 6 ของการดําเนินงานเปนตนไป
เปนระยะเวลา 10 ป
4.โครงการมีนโยบายการเก็บรักษาสินคาคงเหลือทุกประเภทเปน 25% ของรายไดที่เกี่ยวของ
กับกิจกรรมนั้นๆในปถัดไป โดยจะนับจํานวนสินคาคงเหลือทุกสิ้นป
5.กรณีที่มีกําไรจากการดําเนินงาน โครงการมีนโยบายการจายเงินปนผลปละ 6,625,000
บาท อันเนื่องมาจากการที่มีกําไรสะสมเพียงพอ และตองการมอบเงินปนผลใหมากกวาอัตรา
ผลตอบแทนที่เจาของคาดหวัง
181

สําหรับการประมาณงบแสดงฐานะทางการเงิน มีแนวทางในการจัดทําภายใตสมมติฐานกรณีที่เปนไป
ไดมากที่สุดเพียงเทานั้น โดยจะทําตอจากงบกําไรขาดทุนแบบกรณีที่เปนไปไดที่สุด

6.6 ประมาณการงบแสดงฐานะทางการเงิน
งบแสดงฐานะทางการเงินของโครงการจะประมาณการเปนเวลา 5 ป ตั้งแตป 2558 – 2562
ประกอบดวยรายละเอียดของสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบแสดงฐานะทางการเงิน – กรณีที่เปนไปไดที่สุด
สําหรับป 2558
(หนวย: บาท)
สินทรัพย
สินทรัพยหมุนเวียน
เงินสด 10,000,000
วัสดุสิ้นเปลือง 7,131,105
วัตถุดิบในครัว 109,281
ผลิตภัณฑของฝาก 109,281
วัตถุดิบในสปา 54,640
เงินลงทุนเพื่อคา 787,781
รวมสินทรัพยหมุนเวียน 18,192,089
ที่ดินและการปรับพื้นที่ดิน 12,800,000
ที่พักและอาคาร (สุทธิ) 31,185,000
เตนท (สุทธิ) 249,600
โรงเพาะเห็ด (สุทธิ) 243,000
สระวายน้ําออนเซ็น (สุทธิ) 1,170,000
อุปกรณที่ใชในกิจกรรมดําเนินงาน (สุทธิ) 1,802,696
อุปกรณสํานักงาน (สุทธิ) 227,200
รถยนต (สุทธิ) 800,000
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 48,477,496
รวมสินทรัพย 66,669,585
182

หนี้สิน
หนี้สินหมุนเวียน
ภาษีเงินไดฯคางจาย 4,058,917
หนี้สินไมหมุนเวียน
เงินกูยืมระยะยาว 26,500,000
รวมหนี้สิน 30,558,917
สวนของเจาของ
ทุน 26,500,000
กําไรสะสม 0
กําไรประจํางวด 16,235,668
เงินปนผลจาย (6,625,000)
รวมสวนของเจาของ 36,110,668
รวมหนี้สินและสวนของเจาของ 66,669,585
183

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบแสดงฐานะทางการเงินแบบเปรียบเทียบ 5 ป – กรณีที่เปนไปไดที่สุด
สําหรับป 2558 – 2562
(หนวย: บาท)
ป2558 ป2559 ป2560 ป2561 ป2562
สินทรัพย
สินทรัพยหมุนเวียน
10,00 15. 10,00 12. 10,00 11. 10,000, 9.7 10,000, 8.4
เงินสด 0,000 0% 0,000 9% 0,000 1% 000 % 000 %
7,131, 10. 7,459, 9.6 7,802, 8.7 8,161,1 7.9 8,161,1 6.9
วัสดุสิ้นเปลือง 105 7% 136 % 256 % 60 % 60 %
109,2 0.2 114,3 0.1 119,5 0.1 125,06 0.1 125,06 0.1
วัตถุดิบในครัว 81 % 08 % 66 % 6 % 6 %
109,2 0.2 114,3 0.1 119,5 0.1 125,06 0.1 125,06 0.1
ผลิตภัณฑของฝาก 81 % 08 % 66 % 6 % 6 %
54,64 0.1 57,15 0.1 59,78 0.1 0.1 0.1
วัตถุดบิ ในสปา 0 % 4 % 3 % 62,533 % 62,533 %
787,7 1.2 15,88 20. 32,19 35. 49,753, 48. 58,151, 49.
เงินลงทุนเพื่อคา 81 % 9,659 4% 3,352 8% 548 1% 211 1%
18,19 27. 33,63 43. 50,29 55. 68,227, 65. 76,625, 64.
รวมสินทรัพยหมุนเวียน 2,089 3% 4,564 3% 4,523 9% 373 9% 036 7%
ที่ดินและการปรับพืน้ 12,80 19. 12,80 16. 12,80 14. 12,800, 12. 12,800, 10.
ที่ดิน 0,000 2% 0,000 5% 0,000 2% 000 4% 000 8%
31,18 46. 27,72 35. 24,25 27. 20,790, 20. 27,720, 23.
ที่พักและอาคาร (สุทธิ)
5,000 8% 0,000 7% 5,000 0% 000 1% 000 4%
249,6 0.4 187,2 0.2 124,8 0.1 0.1 0.0
เตนท (สุทธิ)
00 % 00 % 00 % 62,400 % 1 %
243,0 0.4 216,0 0.3 189,0 0.2 162,00 0.2 216,00 0.2
โรงเพาะเห็ด (สุทธิ)
00 % 00 % 00 % 0 % 0 %
สระวายน้ําออนเซ็น 1,170, 1.8 1,040, 1.3 910,0 1.0 780,00 0.8 1,040,0 0.9
(สุทธิ) 000 % 000 % 00 % 0 % 00 %
อุปกรณที่ใชในกิจกรรม 1,802, 2.7 1,352, 1.7 901,3 1.0 450,67 0.4 0.0
ดําเนินงาน (สุทธิ) 696 % 022 % 48 % 4 % 1 %
อุปกรณสํานักงาน 227,2 0.3 170,4 0.2 113,6 0.1 56,800 0.1 1 0.0
184

(สุทธิ) 00 % 00 % 00 % % %
800,0 1.2 600,0 0.8 400,0 0.4 200,00 0.2 0.0
รถยนต (สุทธิ)
00 % 00 % 00 % 0 % 1 %
รวมสินทรัพยไม 48,47 72. 44,08 56. 39,69 44. 35,301, 34. 41,776, 35.
หมุนเวียน 7,496 7% 5,622 7% 3,748 1% 874 1% 004 3%
66,66 100 77,72 100 89,98 100 103,52 100 118,40 100
รวมสินทรัพย
9,585 % 0,186 % 8,271 % 9,247 % 1,040 %

หนี้สิน
หนี้สินหมุนเวียน
4,058, 6.1 4,346, 5.6 4,647, 5.2 4,962,7 4.8 5,291,9 4.5
ภาษีเงินไดฯคางจาย
917 % 904 % 998 % 95 % 18 %
หนี้สินไมหมุนเวียน
26,50 39. 26,50 34. 26,50 29. 26,500, 25. 26,500, 22.
เงินกูยืมระยะยาว
0,000 7% 0,000 1% 0,000 4% 000 6% 000 4%
30,55 45. 30,84 39. 31,14 34. 31,462, 30. 31,791, 26.
รวมหนี้สิน
8,917 8% 6,904 7% 7,998 6% 795 4% 918 9%
สวนของเจาของ
26,5039. 26,50 34. 26,50 29. 26,500, 25. 26,500, 22.
ทุน
0,0007% 0,000 1% 0,000 4% 000 6% 000 4%
0.0 9,610, 12. 20,37 22. 32,340, 31. 45,566, 38.
กําไรสะสม
0 % 668 4% 3,282 6% 273 2% 452 5%
16,23 24. 17,38 22. 18,59 20. 19,851, 19. 21,167, 17.
กําไรประจํางวด
5,668 4% 7,615 4% 1,991 7% 179 2% 670 9%
- - - - -
เงินปนผลจาย (6,625 9.9 (6,625 8.5 (6,625 7.4 (6,625, 6.4 (6,625, 5.6
,000) % ,000) % ,000) % 000) % 000) %
36,11 54. 46,87 60. 58,84 65. 72,066, 69. 86,609, 73.
รวมสวนของเจาของ
0,668 2% 3,282 3% 0,273 4% 452 6% 122 1%
รวมหนี้สินและสวนของ 66,66 100 77,72 100 89,98 100 103,52 100 118,40 100
เจาของ 9,585 % 0,186 % 8,271 % 9,247 % 1,040 %
185

6.7 ประมาณการงบกระแสเงินสด
สําหรับในแผนการเงินนี้จะจัดทําเพียงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (CFO หรือ
Cash Flow from Operating Activities) เนื่องจากสะทอนความสามารถวางแผนงานของโครงการ
ตามกลยุทธที่ไดกําหนดไว

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกระแสเงินสด – กรณีที่ดีทสี่ ุด
สําหรับป 2558
หนวย: บาท
2558 2559 2560 2561 2562
กําไรสุทธิ 37,696,668 40,377,443 43,211,844 46,208,671 49,377,225
บวก คาเสื่อมราคา 4,391,874 4,391,874 4,391,874 4,391,874 4,391,874
บวก เปลีย่ นแปลงในภาษีฯ
9,424,167 670,194 708,600 749,207 792,138
คางจาย
ลบ เปลีย่ นแปลงสินคา
(1,165,022) (1,231,428) (1,301,619) (1,375,811) (1,375,811)
คงเหลือ
บวก ดอกเบีย้ จาย 3,180,000 3,180,000 3,180,000 3,180,000 3,180,000
กระแสเงินสดรับจากการ
53,527,688 47,388,083 50,190,700 53,153,941 56,365,426
ดําเนินงาน

โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
งบกระแสเงินสด – กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด
สําหรับป 2558
หนวย: บาท
2558 2559 2560 2561 2562
กําไรสุทธิ 16,235,668 17,387,615 18,591,991 19,851,179 21,167,670
บวก คาเสื่อมราคา 4,391,874 4,391,874 4,391,874 4,391,874 4,391,874
บวก เปลี่ยนแปลงในภาษีฯคางจาย 4,058,917 287,987 301,094 314,797 329,123
ลบ เปลี่ยนแปลงสินคาคงเหลือ (530,293) (554,687) (580,203) (606,892) (606,892)
บวก ดอกเบีย้ จาย 3,180,000 3,180,000 3,180,000 3,180,000 3,180,000
กระแสเงินสดรับจากการดําเนินงาน 27,336,165 24,692,789 25,884,756 27,130,958 28,461,775
186

โครงการรีสอรทเพือ่ สุขภาพ
งบกระแสเงินสด – กรณีที่แยที่สุด
สําหรับป 2558
หนวย: บาท
2558 2559 2560 2561 2562
กําไรสุทธิ 7,640,642 8,167,031 8,709,247 9,267,722 9,842,901
บวก คาเสื่อมราคา 4,391,874 4,391,874 4,391,874 4,391,874 4,391,874
บวก เปลี่ยนแปลงในภาษีฯคางจาย 1,910,161 131,597 135,554 139,619 143,795
ลบ เปลี่ยนแปลงสินคาคงเหลือ (270,682) (279,885) (289,401) (299,241) (299,241)
บวก ดอกเบีย้ จาย 3,180,000 3,180,000 3,180,000 3,180,000 3,180,000
กระแสเงินสดรับจากการดําเนินงาน 16,851,994 15,590,617 16,127,273 16,679,974 17,259,329

6.8 การประเมินมูลคาทางการเงินของโครงการเพื่อตัดสินใจลงทุน
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพประเมินมูลคาทางการเงินของโครงการเพื่อตัดสินใจลงทุนด วย
เครื่องมือทางการเงิน 4 เครื่องมือ ดังตอไปนี้
1.ระยะเวลาคืนทุน (Pay-back Period)
2.อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Assets; ROI)
3.มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value; NPV)
4.อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return; IRR)
สมมติฐานของการลงทุนคือลงทุนมูล คา 53,000,000 บาทครั้งแรกครั้งเดียว ในขณะที่กระแส
เงินสดเขาของโครงการเพิ่มขึ้นในทุกๆป จากสวนกอนหนาทําใหไดทราบถึงกําไรสุทธิ และกําไรจาก
การดําเนินงานซึ่งไดสรุปไวดังตารางที่ 6.23 แสดงสรุปกําไรสุทธิสําหรับป 2558 – 2662 และตารางที่
6.24 แสดงสรุปกําไรจากการดําเนินงานสําหรับป 2558 – 2662 ดังจะไดแสดงตอไปนี้
187

ตารางที่ 6.30: แสดงสรุปกําไรสุทธิสําหรับป 2558 – 2662

กําไรสุทธิ (บาท)
2558 2559 2560 2561 2562
กรณีที่ดีที่สุด 37,696,668 40,377,443 43,211,844 46,208,671 49,377,225
กรณีที่เปนไปไดที่สุด 16,235,668 17,387,615 18,591,991 19,851,179 21,167,670
กรณีที่แยที่สุด 7,640,642 8,167,031 8,709,247 9,267,722 9,842,901

ตารางที่ 6.31: แสดงสรุปกําไรสุทธิบวกกลับคาเสื่อมราคาสําหรับป 2558 – 2662

กําไรสุทธิบวกกลับคาเสื่อมราคา (บาท)
2558 2559 2560 2561 2562
กรณีที่ดีที่สุด 42,088,542 44,769,317 47,603,718 50,600,545 53,769,099
กรณีที่เปนไปไดที่สุด 20,627,542 21,779,489 22,983,865 24,243,053 25,559,544
กรณีที่แยที่สุด 12,032,516 12,558,905 13,101,121 13,659,596 14,234,775

1.ระยะเวลาคืนทุน (Pay-back Period)


การวิเคราะหผลการตอบแทนทางการเงินของโครงการ โดยใชวิธีระยะเวลาคืนทุนจะคํานวณ
กําไรจากการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเงินลงทุน 53,000,000 บาทวาตองใชระยะนานเทาใดจึงจะ
คืนทุนซึ่งสําหรับโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพมีระยะเวลาคืนทุนดังตอไปนี้
กรณีที่ดีที่สุดใชระยะเวลาคืนทุน เทากับ 1.2437 ป หรือ 1 ป 3 เดือน
กรณีที่เปนไปไดมากที่สุดใชระยะเวลาคืนทุน เทากับ 2.4609 ป หรือ 2 ป 6 เดือน
กรณีที่แยที่สุดใชระยะเวลาคืนทุน เทากับ 4.0717 ป หรือ 4 ป 1 เดือน
2.อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Assets; ROI)
เงินลงทุนทีโ่ ครงการลงทุนไปเทากับ 53,000,000 บาท เมื่อพิจารณาถึงประโยชนและความ
คุมคาจากการลงทุนในสินทรัพยจึงตองเปรียบเทียบกับผลตอบแทนที่ไดรับเพื่อพิจารณาวา
ผลตอบแทนกลับคืนมาจากการลงทุนเทาใดโดยการคํานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน เทากับ
กําไรสุทธิหารจํานวนเงินลงทุน หากมีคาสูงก็แสดงถึงประสิทธิภาพในการหากําไรสูงดวย สําหรับคา
188

ROI ของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพแสดงไดจากตารางที่ 6.32 แสดงอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน


ในป 2558 – 2562

ตารางที่ 6.32: แสดงอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในป 2558 – 2562

อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
2558 2559 2560 2561 2562
กรณีที่ดีที่สุด 71.13% 76.18% 81.53% 87.19% 93.16%
กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด 30.63% 32.81% 35.08% 37.46% 39.94%
กรณีที่แยที่สุด 14.42% 15.41% 16.43% 17.49% 18.57%

3.มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value; NPV)


สูตร NPV = PV – I
NPV = มูลคาปจจุบันสุทธิ
PV = มูลคาปจจุบันของกระแสเงินสุทธิตลอดอายุโครงการลงทุน
I = เงินลงทุนเริ่มแรก
กฎการตัดสินใจ ถามูลคาปจจุบันสุทธิมีคาเปนบวก กิจการก็ควรที่จะยอมรับการลงทุนใน
โครงการ แตถามูลคาปจจุบันสุทธินั้นมีคาติดลบกิจการก็ควรปฏิเสธการลงทุน
สําหรับอัตราคิดลด (Discount rate) ใชตามตนทุนเงินลงทุนถัวเฉลี่ยซึ่งเทากับ 18.50% ตารางที่
6.6 อัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยของโครงการ และเงินลงทุนของโครงการเทากับ
53,000,000 บาท
สมมติฐานการดําเนินงานของบริษัทคือสามารถทํารายไดไดอยางตอเนื่องสอดคลองกับ
ทิศทางของเศรษฐกิจ
189

ตารางที่ 6.33: แสดงมูลคาปจจุบันสุทธิกรณีที่ดีที่สุด

กระแสเงินสด
จากการ PV สําหรับป PV สะสม เงินลงทุน NPV
ดําเนินงาน
ปที่ 2558 53,527,688 45,171,045 45,171,045 (53,000,000) (7,828,955)
ปที่ 2559 47,388,083 33,746,787 78,917,832 (53,000,000) 25,917,832
ปที่ 2560 50,190,700 30,162,560 109,080,392 (53,000,000) 56,080,392
ปที่ 2561 53,153,941 26,956,411 136,036,803 (53,000,000) 83,036,803
ปที่ 2562 56,365,426 24,122,429 160,159,232 (53,000,000) 107,159,232

ตารางที่ 6.34: แสดงมูลคาปจจุบันสุทธิกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด

กระแสเงินสด
จากการ PV สําหรับป PV สะสม เงินลงทุน NPV
ดําเนินงาน
ปที่ 2558 27,336,165 23,068,494 23,068,494 (53,000,000) (29,931,506)
ปที่ 2559 24,692,789 17,584,638 40,653,132 (53,000,000) (12,346,868)
ปที่ 2560 25,884,756 15,555,681 56,208,813 (53,000,000) 3,208,813
ปที่ 2561 27,130,958 13,759,154 69,967,967 (53,000,000) 16,967,967
ปที่ 2562 28,461,775 12,180,643 82,148,610 (53,000,000) 29,148,610
190

ตารางที่ 6.35: แสดงมูลคาปจจุบันสุทธิกรณีที่แยที่สุด

กระแสเงินสด
จากการ PV สําหรับป PV สะสม เงินลงทุน NPV
ดําเนินงาน
ปที่ 2558 16,851,994 14,221,092 14,221,092 (53,000,000) (38,778,908)
ปที่ 2559 15,590,617 11,102,649 25,323,741 (53,000,000) (27,676,259)
ปที่ 2560 16,127,273 9,691,832 35,015,573 (53,000,000) (17,984,427)
ปที่ 2561 16,679,974 8,459,058 43,474,631 (53,000,000) (9,525,369)
ปที่ 2562 17,259,329 7,386,389 50,861,019 (53,000,000) (2,138,981)
ปที่ 2563 17,846,146 6,445,169 57,306,189 (53,000,000) 4,306,189

จากตารางดานบนพบวามูลคาปจจุบันสุทธิในกรณีที่ดีที่สุด และกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด จะ
มีคาเปนบวกในปที่ 2 และปที่ 3 ของการดําเนินงาน ตามลําดับ สําหรับกรณีที่แยที่สุดมูลคาปจจุบัน
สุทธิจะมีคาเปนบวกในปที่ 6 ของการดําเนินงาน และมูลคาปจจุบันสุทธิในปตอๆไปก็จะเปนบวกตาม
อยางตอเนื่อง สรุปวาภายใตวิธีการคํานวณแบบมูลคาปจจุบันสุทธิแลวนักลงทุนควรตัดสินใจลงทุนกับ
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ
4.อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return; IRR)
อัตราผลตอบแทนภายในคืออัตราผลตอบแทนของโครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพที่ทําใหมูลคา
ปจจุบัน (Present Value; PV) ของกระแสเงินสดรับสุทธิมีคาเทากับเงินลงทุน 53,000,000 บาท
หรืออีกนัยก็คือ NPV มีคาเทากับ 0 กฎการตัดสินใจ คือควรยอมรับลงทุนโครงการ ถา IRR มีคาเกิน
กวาตนทุนของเงินทุน (Cost of Capital) ซึ่งเกินจากอัตราดอกเบี้ยสําหรับเงินกูระยะยาวจากธนาคาร
และอัตราผลตอบแทนที่เจาของตองการ ตามตนทุนเงินลงทุนถัวเฉลี่ยซึ่งมีคาเทากับ 18.50% ดังนั้น
อัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนเทากับ 18.50% ซึ่งตอไปจะคํานวณอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR)
ถา IRR ที่ไดมากกวา 18.50% จึงพิจารณาลงทุน
สมมติฐานการดําเนินงานของโครงการคือสามารถทํา รายไดไดอยางตอเนื่อง ดังนั้น IRR ในป
ถัดไปก็จะเปนเพิ่มขึ้นตามอยางตอเนื่อง ดังจะเห็นไดจากตารางตอไปนี้
191

ตารางที่ 6.36: แสดงอัตราผลตอบแทนภายในกรณีที่ดีที่สุด

กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนภายใน
ปที่ 2557 (53,000,000)
ปที่ 2558 53,527,688 1.00%
ปที่ 2559 47,388,083 57.69%
ปที่ 2560 50,190,700 79.94%
ปที่ 2561 53,153,941 89.38%
ปที่ 2562 56,365,426 93.73%

ตารางที่ 6.37: แสดงอัตราผลตอบแทนภายในกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด

กําไรจากการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนภายใน
ปที่ 2557 (53,000,000)
ปที่ 2558 27,336,165
ปที่ 2559 24,692,789
ปที่ 2560 25,884,756 22.31%
ปที่ 2561 27,130,958 34.38%
ปที่ 2562 28,461,775 41.01%
192

ตารางที่ 6.38: แสดงอัตราผลตอบแทนภายในกรณีที่แยที่สุด

กําไรจากการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนภายใน
ปที่ 2557 (53,000,000)
ปที่ 2558 16,851,994
ปที่ 2559 15,590,617
ปที่ 2560 16,127,273
ปที่ 2561 16,679,974 8.87%
ปที่ 2562 17,259,329 16.70%
ปที่ 2563 17,846,146 21.61%

ผลตอบแทนของโครงการในกรณีที่ดีที่สุดสามารถทําผลตอบแทนไดมากกวาที่คาดหวังไวได
ในปที่ 2 เนื่องจากมี IRR ที่ 57.69% ซึ่งมากกวา 18.50% แลว และสําหรับกรณีที่เปนไปไดมากที่สุด
สามารถทําผลตอบแทนไดมากกวาที่คาดหวังไวตั้ งแตปที่ 3 โดยมี IRR เทากับ 22.31% แมสําหรับใน
กรณีที่แยที่สุดแลวก็สามารถทําผลตอบแทนไดมากกวาที่คาดหวังไวไดในปที่ 6 ที่ 21.61% หากสังเกต
จะพบวาวิธีการคํานวณแบบอัตราผลตอบแทนภายในจะสอดคลองกับวิธีมูลคาปจจุบันสุทธิ และ
สรุปวาภายใตวิธีการคํานวณแบบอัตราผลตอบแทนภายในแลวนักลงทุนควรตัดสินใจลงทุนกับ
โครงการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ตารางที่ 6.39: แสดงสรุปการประเมินมูลคาทางการเงินของโครงการเพื่อตัดสินใจลงทุน

กรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด กรณีที่แยที่สุด


Payback Period (ป) 1 ป 3 เดือน 2 ป 6 เดือน 4 ป 1 เดือน
ROI (%) ป 2558 71.13% 30.63% 14.42%
NPV (บาท) ป 2562 107,159,232 29,148,610 (2,138,981)
IRR (%) ป 2562 93.73% 41.01% 16.70%
บทที่ 7
บทสรุปและขอเสนอแนะ

การดําเนินธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพภายใตชื่อ Mushroom Clay house Resort เปนธุรกิจ


ที่มีแนวคิดมากจากธุรกิจประเภทรีอรทและการทองเที่ยวเชิงอนุรักษธรรมชาติ และการนําเอาเรื่อง
ความนิยมในการดูแลสุขภาพของมนุษยในปจจุบันมาเปนส วนสําคัญในการสรางธุรกิจรีสอรทประเภท
นี้ขึ้นมาเพื่อรองรับนักทองเที่ยวที่รักสุขภาพใหมาสัมผัสกับบรรยากาศที่เปนธรรมชาติอยางแทจริงและ
เปนรีสอรททางเลือกใหกับคนที่ชอบรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ดังนั้นธุรกิจที่กลาวมาจะประสบ
ความสําเร็จไดนั้นตองสรางความแตกตางจากคูแขงในทุกๆดานจึงสงผลใหเกิดการไดเปรียบเหนือ
คูแขง
ธุรกิจรีสอรทสุขภาพนั้นจะนําความแตกตางและความชัดเจนในสิ่งที่ตองการขายมานําเสนอ
กับผูบริโภคโดยโครงสรางโดยรวมคือใหความสําคัญกับการใหบริการโดยเนนความเปนธรรมชาติให
ไดมากที่สุดทั้งการบริการ อาหาร และกิจกรรม เพื่อตอบสนองความตองการของผูที่ชอบทองเที่ยว
ชอบธรรมชาติและรักสุขภาพ ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพจึงมีแนวโนมไดรับความสนใจของนักทองเที่ยว
เนื่องดวยเทรนการรักและดูแลสุขภาพกําลังเปนที่นิยมในปจจุบัน ดังนั้นการบริการจึงเปนสวนสําคัญ
ในการดึงดูดผูบริโภควาผูบริโภคตองการบริการในดานใดมากนอยอยางไรภายในรีสอรทเพื่อสุขภาพ
ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการทําใหเกิดการสรางรีสอรทเพื่อสุขภาพขึ้น รีสอรทเพื่อสุขภาพสรางคุณคาใหกับ
ธุรกิจในอุตสาหกรรมในดานการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษธรรมชาติและการสงเสริมใหคนหัน
มาดูแลและรักษาสุขภาพ ธุรกิจประเภทนี้มีทั้งคูแขงรายเกาและเพิ่มคูแขงรายใหมที่เขาสูตลาด จึงตอง
มีการแขงขันทางดานการตลาดชองทางการสื่อสารใหผูบริโภคไดรับรูใหเร็วมากขึ้น และพัฒนาธุรกิจ
ใหทันสมัยอยูเสมอเพื่อนําคูแขง และรักษาระดับ คุณภาพการบริการอยางตอเนื่องจะชวยใหธุรกิจอยู
ในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวไดตอไปอยางมั่นคง

7.1 การบริหารความเสี่ยง
การประกอบธุรกิจทุกรูปแบบยอมมีความเสี่ยงในการลงทุนจากสาเหตุปจจัยทั้งภายนอกและ
ภายในทั้งควบคุมไดและควบคุมไมไดดังนั้นจึงตองมีการบริหารความเสี่ยง ดังนี้
7.1.1 กรณีไดกําไรมากที่สุด
กรณีนี้จะเกิดจากปจจัยหลายดาน ในดานสิ่งแวดลอมภายนอกที่สงเสริมตอธุรกิจและองคที่เฮื้อ
ประโยชนตอธุรกิจ เชน การเขาสูระบบ สมาคม AEC ทําใหสงผลดีตอธุรกิจการทองเที่ยวมากขึ้น และ
ทําใหมีนักทองเกินทางเขามาใชบริการเพิ่มขึ้น
7.1.2 กรณีไดผลกําไรที่เปนไปไดมากที่สุด
194

กรณีจะเกิดจากปจจัยทั้งภายนอกและภายใน ไมเกิดเหตุการณผันแปรใดๆโดยดําเนินธุรกิจ
ตามแผนที่วางไว ตั้งแตการ การวางกลุมเปาหมาย การสรางความแตกตาง การดึงดูด การกระตุนการ
รับรูของผูบริโภครวมไปถึงการ รักษาฐานผูบริโภคเพื่อใหลูกคายังมาใชบริการของธุรกิจเราตอไปใน
อนาคต
7.1.3 กรณีสงผลกําไรนอยที่สุด
กรณีนี้จะเกิดจากปจจัยสิ่งแวดลอมอยูในสภาวะตกต่ําผันแปรจากที่คาดการณไว ทําใหธุรกิจ
ไมสามารถดําเนินการณตามแผนที่วางไวได เชน ดานการเมืองเกิดความขัดแยง เศรษฐกิจตกต่ํา
ภูมิอากาศแปรปรวน ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เปนตน สาเหตุดังกลาว สงผลตอการใชบริการของ
นักทองเที่ยวทําใหนักทองเที่ยวเกิดการใชจายนอยลงและไมมีการเดินทางออกมาทองเที่ยวดังนั้นจึง
เปนปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจใหมีกําไรนอย

7.2 บทสรุปของธุรกิจโดยรวม
เพศหญิงมากกวาเพศชายที่สนใจและอยูในชวงอายุ 40-50ป มากที่สุด เพราะเปนวัยที่รัก
สุขภาพและมีกําลังทรัพยในการจาย รายไดระดับ 40,000-60,000 มากที่สุด และสวนมากประกอบ
ธุรกิจสวนตัว
ปญหาคือในชวงวันธรรมดาจะมีผูเขาพักนอยกวาวันหยุดเสารอาทิตยหรือชวงวันหยุ ดยาว

7.3 ขอเสนอแนะโครงการ
7.3.1 กอนดําเนินธุรกิจตองมีการวิเคราะหสถานการณ ปจจัยตางๆที่จะสงผลกระทบตอ
ธุรกิจที่จะทํา ชวงเวลาที่เหมาะสมในการลงทุนสําหรับ ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom Clay
House Resort จะสงผลใหดําเนินไปอยางราบรื่น
7.3.2 ควรวางแผนคํานึงถึงกลุมเปาหมาย วาวางกลุมเปาผูบริโภคในกลุมไหน ที่จะสนใจตอ
ธุรกิจของเรามากที่สุด
7.3.3 การวิเคราะหคูแขงเพื่อนํามาสรางความแตกตาง ใหไดเปรียบเหนือคูแขง ความ
แตกตางทางธุรกิจจะชวยดึงดูดความสนใจผูบริโภคไดเปนอยางดี ซึ่งสมารถสงผลกําไรตอธุรกิจมากขึ้น
7.3.4 รักษาคุณภาพสินคาและการบริการใหคงที่เปนสิ่งสําคัญ ทําใหองคกรเกิดความ
นาเชื่อถือ และผูบริโภคเกิดความเชื่อมั่น สงผลใหธุรกิจมีการเดินหนาไปอยางมั่นคงและทําใหผูบริโภค
เกิดการภักดีตอตราสินคาหรือ องคกรในที่สุด
7.3.5 การพัฒนาสินคาอยูเสมอเปนสิ่งจําเปน เนื่องจากผูบริโภคมีความตองการที่
เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการพัฒนาสินคาใหทันความตองการของผูบริโภคได
เปนอยางดี
195

7.3.6 มีการวิเคราะหการประเมินความพึงพอใจของผูบริโภคอยางสม่ําเสมอ เพื่อนํามา


ปรับปรุงแกไขและมาพัฒนาใหตรงตามความตองการของผูบริโภคและทําใหผู บริโภคเกิดความพอใจ
และประทับใจตอการบริการ
7.3.7 การรักษาฐานลูกคา ใหมาใชบริการอยางตอเนื่อง สรางความประทับใจใหลูกคาเพื่อ
ขยายฐานลูกคาเพิ่มขึ้นเพื่อความเติบโตของธุรกิจ
7.3.8 ใหพนักทุกคนมีสวนรวมในการบริหารงานเสนอความคิดเห็นและยอมรับฟงความ
คิดเห็นเหลานั้นของพนักงานเพื่อใหพนักงานรูสึกไดแสดงความสามารถในการปฏิบัติงานและมีกําลังใจ
ในการทํางานสรางใหองคกรมีคุณภาพ
7.3.9 สรางความสัมพันธอันดีตอพันธมิตรและหนวยงานที่เกี่ยวของกับธุรกิจเพื่อการดําเนิน
ธุรกิจที่ราบรื่น และขยายเครือขายพันธมิตรใหมากขึ้นเพื่อสงผลดีตอการดําเนินธุรกิจในอนาคต

7.4 ขอเสนอแนะจากการศึกษา
7.4.1 การจัดตั้งโครงการธุรกิจตองมีการศึกษาวิจัยความคิดเห็นและความตองการของ
ผูบริโภคในดานตางๆเพื่อนํามาจัดสรางใหสอดคลองกับธุรกิจเพื่อใหธุรกิจเปนไปอยางครบวงจรตาม
ความตองการของผูบริโภคและนํามาปรับใชในธุรกิจเพื่อ ใหธุรกิจมีความโดดเดนและแตกตาง
7.4.2 การศึกษาโครงการธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom Clay House Resort มี
ความเปนไปไดในการจัดตั้งโครงการสามารถนําแผนงานไปประยุกตใชกับโครงการอื่นๆที่มีความ
ใกลเคียงกันในการดําเนินงานไดจริง และ ยังใหประโยชนกับผูประกอบการและผู บริโภคดวย
196

บรรณานุกรรม

กรุณา เดชาติวงค ณ อยธยา. (2537). Homestay: รูปแบบการทองเที่ยวแบบใหม .


กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
กฤษฎิ กาญจนกิตติ์. (2541). ปจจัยที่มีผลตอการเลือกใชโรงแรมในอําเภอเมืองจังหวดเชียงใหม .
การคนควาอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม .
กุลธน ธนาพงศธร. (2530). ประโยชนและบริการ.ในเอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานบุคคล
สาขาวิทยาการจัดการ (พิมพครั้งที่ 7). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กอพงษ บุญยการ. (2550). พฤติกรรมและปจจัยในการตัดสินใจของนักทองเที่ยวในการเลือกใช
บริการที่พักใน อําเภอปราณบุรีจังหวัดประขวบคีรีขันธ . การคนควาแบบอิสระ
ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย. (2545). รายงานสถิติการทองเที่ยวประจําป 2549.
กรุงเทพฯ: การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย.
ขจิต กอบเดช. (2535). งานโรงแรมฝายหองพักงานแมบานโรงแรมและสถาบันอื่นๆ.
กรุงเทพฯ: ศรีอนันตการพิมพ.
จารุลกั ษณ งามลักษณ. (2540). ปจจัยดานการตลาดที่มีผลตอการเลือกใช บริการโรงแรมในจังหวัด
เชียงใหม. ปญหาพิเศษปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแมโจ.
จําลอง ทองดี. (2526). ธุรกิจการโรงแรม. กรุงเทพฯ: บํารุงสาสนการพิมพ.
จิตตินันท เดชะคุปต. (2544). เจตคติและความพึงพอใจในการบริการ (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จิรุตม ศรีรัตนบัลล. (2537). คุณภาพของการบริการทางการแพทยกับแนวคิดทางการตลาด.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณเวชสาร.
ชนงกรณ กุณฑลบุตร. (2547). หลักการจัดการ: องคการและการจัดการแนวคดการบริหารธุรกิจใน
สถานการณปจจุบัน (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
โชติพัฒน ศรีธนิตเกียรติ. (2548). พฤติกรรมการเลือกใชโรงแรมของนักทองเที่ยวชาวไทยในอําเภอ
เมือง จังหวัดเชียงใหม. คนควาแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
เทิดศักดิ์ เต็มทรัพยอนันต. (2544). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอลูกคาในการตัดสินใจเลือกใชบริการโรงแรม
กานตมณีพาเลซกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
197

ธีระ อัมพรพฤติ. (2542). ความพึงพอใจของลูกคาที่มีตอการใหบริการของหางอัมพรดีพารทเมนท


สโตร. กรุงเทพฯ: โครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ตุย ชุมสาย, ม.ล. และญิบพัน พรหมโยธิ. (2527). ปฐมบทแหงวิชาการทองเที่ยว. กรงเทพฯ:
ไทยวุฒนาพานิช.
บรรยงค โตจินดา. (2548). องคการและการจัดการ (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: รวมสาสน.
บุญเสริม หุตะแพทย. (2540). อุสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช (พิมพครั้งที่2).
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปรีชา แดงโรจน. (2527). การโรงแรม. กรุงเทพฯ: ศรีอนันต .
เพ็ญจันทร แสนประสาน. (2539). แนวคิดการบริหารมุงคุณภาพการบริการพยาบาล.
กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ.
เพ็ญศรี เจริญวานิช และ สมจิตร จึงสงวนพรสุข. (2542). การใหบริการของโรงแรมตอผูใชบริการ :
ศึกษาเปรียบเทียบของ โรงแรมในประเทศไทย (หนองคาย) และในสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว (เวียงจันทน). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.).
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). จิตวิทยาการบริการ (หนวยที่ 1-7) (พิมพครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2548). เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารทองถิ่น. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย. (2548). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน.
วิวัฒน จันทรกิ่งทอง. (2547). การใหความสําคัญตอสวนประสมทางการตลาดของผูเขาพักโรงแรม .
วารสารหาดใหญวิชาการ,1(2).
วีรพงค เฉลิมจิระรัตน. (2539). คุณภาพในงานบริการ. กรุงเทพฯ: บริษัท มหาชน จํากัด.
วีรวัฒน ปนนิตามัย. (2538). การจัดองคการเพื่อการเปลี่ยนแปลงสูศตวรรษที่ 21. วารสาร
ขาราชการ, 3, 23-45.
วีระรัตน กิจเลิศไพโรจน. (2549). การตลาดธุรกิจบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วรรัช จันทรภัทร. (2547). พฤติกรรมการเลือกใชบริการโรงแรมของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ
ในอําเภอเมืองจังหวด เชียงใหม. การคนควาแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ศิริพร พงศศรีโรจน. (2540). องคการและการจัดการ. กรุงเทพฯ: เทคนิค 19.
สมาคมโรงแรมไทย การทองเทีย่ วแหงประเทศไทยและสมาคมไทยธุรกิจการทองเทีย่ ว. (2545).
มาตรฐานโรงแรมในประเทศไทย. กรงเทพฯ: สมาคมโรงแรมไทย.
198

สมคิด บางโม. (2548). องคการและการจัดการ (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิทยาพัฒน.


อดุลย จาตุรงคกลุ . (2550). พฤติกรรมผูบริโภค (พิมพครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
อนุพันธ กิจพันธพานิช. (2539). ความรูเกี่ยวกับงานโรงแรม (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ฮิว
เมน เฮอริเทจ.
อรุณทิพย วรชีวัน. (2545). ทัศนคติของลูกคาที่มีตอการใหบริการสินเชื่อกลางธนาคารกรุงศรี
อยุธยา. การคนควาอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
อัญมณี ขํากรม. (2543). ปจจัยที่มีผลตอการเลือกใชบริการโรงแรมขนาดใหญในเขตอําเภอเมือง
ขอนแกน. มหาสารคาม: มหาวิทยามหาสารคาม, คณะบริหารธุรกิจ.
เอกรัฐ วงศวีระกุล. (2553). ปจจัยการตัดสินใจเลือกใชบริการสินเชื่อที่อยูอาศัยกับธนาคารพาณิชย
หาคนทํางานใน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน.
Gronroos, C. (1990). Service management and marketing: Managing the moments of
truth service competition. Lexington, MA: Lexington Books.
Parasuraman, A., Berry, L. L., & Zeithaml, V. A. (1990). Delivering quality service:
Balancing customer perceptions and expectations. New York: The Free.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service
quality and its implications for future research. Journal of marketing, 49(Fall),
41-50.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple-item
cale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of
marketing, 64 (1), 12-40.
Parasuraman, A., Berry, L. L., & Zeithaml, V. A. (1991). Refinement and reassessment
of the SERVQUAL scale. Journal of Retailing, 67(4), 420-50.
Parasuraman, A., (1998). The Roles of Price, Performance, and Expectations in
Determining Satisfaction in Service Exchanges. Journal of Marketing, 62(4), 46-
61.
Valarie, A. Z., & Bitner, M.J. (1996). Services marketing. Singapore : McGraw-
Hill College.
199

ภาคผนวก
200

ภาคผนวก ก
บทสรุปผูบริหาร (EXECUTIVE SUMMARY)

ธุรกิจรีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom Clay House เปนธุรกิจประเภทที่พักที่มีความเปน


ธรรมชาติใหสุขภาพที่ดีกับผูที่มาพักอยางครบวงจร ทั้งในดานรูปแบบที่พัก อาหาร และ กิจกรรม
ตางๆใหผูที่มาพักไดผอนคลายและไดสุขภาพที่ ดีกลับไป จะสรางผลตอบตอบแทนเพิ่มขึ้น เรื่อยๆในป
ถัดไป การเงินลงทุนเบื้องตนไดเปนมูลคาทั้งหมดเทากับ 53,000,000 บาทบาท ซึ่งสัดสวนการลงทุน
เทากับ 50% และ 50% ทั้งเงินทุนจากสวนของเจาของและเงินกูยืมจากธนาคาร การประเมินรายได
ของทางโครงการจะกําหนดความเป นไปไดไว 3 ระดับ กรณีความเปนไปไดที่เกิดขึ้นคือ กรณีที่ดีเยี่ยม
(Best case) กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด (Most likely case) และกรณีที่แยที่สุด (Worst case) เพื่อให
สะทอนการตัดสินใจไดดียิ่งขึ้น มาจาก 7 กลุมกิจกรรมประกอบดวย
1. รายไดคาบริการที่พักรีสอรท
2. รายไดคาบริการเต็นท
3. รายไดจากการขายคอรดกิจกรรมรวมกับพันธมิตร (กลุมทัวรและโรงเรียน)
4. รายไดคาบริการหองพักสําหรับลูกคากลุม 7 HRS
5. รายไดจากรานขายสินคาและของที่ระลึก
6. รายไดจากการจัดอีเวนคอนเสิรตภายในรีสอรท
7. รายไดจากกิจกรรมอื่นๆของโครงการฯ (เก็บเห็ดกลับบานและจักรยานน้ํา-บก)

กรณีที่ดีที่สุด กรณีที่เปนไปไดมากที่สุด กรณีที่แยที่สุด


Payback Period (ป) 1 ป 3 เดือน 2 ป 6 เดือน 4 ป 1 เดือน
ROI (%) ป 2558 71.13% 30.63% 14.42%
NPV (บาท) ป 2562 107,159,232 29,148,610 (2,138,981)
IRR (%) ป 2562 93.73% 41.01% 16.70%

เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่วางไว รีสอรทเพื่อสุขภาพ Mushroom Clay House เนนใชกลยุทธ


การเจริญเติบโต (Growthstrategy) สรางความแตกตางและจุดเดนใหกับรีสอรทเพื่อใหเขาถึงไดงาย
ใช กลยุทธดานการสรางความแตกตางของผลิตภัณฑ (Differentiation strategy)โดยการสรางความ
แตกตางในรูปแบบของรีสอรทใหดูแปลกตานาสนใจและสอดคลองกับธรรมชาติใหเหมาะกับการ
พักผอนใหความสําคัญในดานการดูแลสุขภาพใหกับผูที่มาพักมากกวาการมาเพื่อเปลี่ยนสถานที่
201

พักผอน กลยุทธระดับปฎิบัติการ(Operational strategy) กลยุทธดานการตลาด จําแนกกลุมลูกคา


เปาหมาย คือผูที่ชอบการทองเที่ยวพักผอน ชอบธรรมชาติ และรักสุขภาพ และสรางกิจกรรมตางๆ
เพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองผูที่มาเปนหมูคณะทํากิจกรรมรวมกัน นอกจากนี้ รีสอรทเพื่อสุขภาพ
Mushroom Clay House เนนการสรางคุณคา ซึ่งมาจากหนาที่ตางๆ ที่ทําใหธุรกิจขยายตัวไป
ขางหนา โดยการเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย Value Chain และมีชองทางขยายธุรกิจในดานอื่นๆที่
เกี่ยวของเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต
202

ภาคผนวก ข
แบบสอบถาม
โครงการ รีสอรทเพื่อสุขภาพ (mushroom clay house resort )

แบบสอบถามชุดนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจทัศนคติ ความคิดเห็น และโอกาสความเปนไปได


ในการจัดตั้งธุรกิจ โครงการ รีสอรทเพื่อสุขภาพ (mushroom clay house resort )ของนักศึกษา
ปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร สาขาบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่งขอมูล
ขอเสนอแนะของทานจะใชเปนสวนหนึ่งในโครงการดังกลาว โดยมีเนื้อหาของแบบสอบถามจํานวน 4
สวน ดังนี้
สวนที่ 1 คําถามขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม
สวนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมและความพึงพอใจในการเลือกและใชบริการที่พักในเขา
ใหญ
สวนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมและความพึงพอใจในการเลือกใช บริการรีสอรทเพื่อ
สุขภาพ
สวนที่ 4 คําถามและขอเสนอแนะเพิ่มเติมตอ โครงการ รีสอรทเพื่อสุขภาพ (mushroom
clay house resort )

กรุณาทําเครื่องหมาย √ ใน ( ) หนาคําตอบที่ทานเลือก/หรือกรอกขอความลงในชองวาง

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม
1. เพศ
( ) ชาย ( ) หญิง
2. อายุ
( ) 25 – 30 ป ( ) 31 – 35 ป
( ) 36 – 40 ป ( ) 41 – 45 ป
( ) 46 – 50 ป ( ) 51 ปขึ้นไป
3. อาชีพ
( ) รับราชการ/รัฐวิสากิจ ( ) พนักงานบริษัท ( ) ทําธุรกิจสวนตัว
( ) เกษตรกร ( ) นักเรียน/นักศึกษา ( ) รับจางทั่วไป
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ) ...................................................................................................
203

4. รายไดตอเดือน
( ) นอยกวา 15,000 บาท ( ) 15,001 – 20,000 บาท ( ) 20,001 – 25,000 บาท
( ) 25,001 – 30,000 บาท ( ) 30,001 – 40,000 บาท ( ) 40,001 – 50,000 บาท
( ) 50,001 – 60,000 บาท ( ) 60,001 – 70,000 บาท ( ) 70,001 – 80,000 บาท
( ) มากกวา 80,000 บาท
5. วัตถุประสงคที่ทานเดินทางมาเขาใหญ
( ) เพื่อการทองเที่ยวและพักผอน ( ) เพื่อธุรกิจการคา
( ) เพื่อพบญาติ เพื่อนหรือคนรูจัก ( ) เพื่อติดตอหรือปฏิบัติงานราชการ
( ) เพื่อประชุมหรือสัมนา ( ) อื่นๆ (โปรดระบุ)
.................................

สวนที่ 2 พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเลือกและใชบริการที่พักในเขาใหญ
1. ทานมักใชบริการที่พักรูปแบบรีสอรทหรือไม
( ) ใช ( ) ไมใช (ไปที่ขอ 7.)
2. ประเภทรีสอรทที่ทานตองการเขาพัก
( ) ระดับ 3 ดาว ( ) ระดับ 4 ดาว ( ) ระดับ 5 ดาว
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ) ...................................................................................................
3. สื่อที่ทานมักติดตามหรือสื่อที่ทานใชหาสถานที่พักคางคืน
( ) บริษัทนําเที่ยว ( ) เพื่อน/คนรูจัก ( ) นิตยสารทองเที่ยว
( ) Facebook ( ) Twitter ( ) Instagram
( ) เว็บไซตของโรงแรม ( ) บูธตามงานตางๆ ( ) รายการทองเที่ยว
( ) เว็บไซตจองโรงแรม เชน Agoda หรือเว็บไซตอื่นๆ (โปรดระบุ) ..................................
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ) ..........................................................................................................
4. การจองที่พักของทานมักใชโดยวิธีใด
( ) โทรศัพทจองดวยตนเอง
( ) จองทางเว็บไซตของโรงแรม
( ) จองโดยบริษัทนําเที่ยว
( ) จองผานเว็บไซตจองโรงแรม เชน Agoda หรือเว็บไซตอื่นๆ (โปรดระบุ) ........................
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ) ...................................................................................................
204

5. ราคาบานพักที่ทานสามารถจายได
( ) 4,000 บาท (พักได1-2คน) ( ) 5,500 บาท (พักได3-5คน) ( ) 6,500 บาท(พัก6-7)
( ) 7,500 บาท (พักได8-10คน) ( ) 8,500 บาท (พักได10-15คน) ( ) มากกวา 8,500
6. ระยะเวลาในการเขาพักตอครั้ง
( ) 1 – 2 วัน ( ) 3 – 4 วัน
( ) 5 – 7 วัน ( ) 1 สัปดาหขึ้นไป
7. เหตุผลที่ทานไมเลือกใชบริการรีสอรทเพราะอะไร (ตอบไดมากกวา 1. ขอ)
( ) หองพักเดี่ยวราคาถูกกวา
( ) ตองการที่นอนคางคืนเทานั้นไมเนนการพักผอน
( ) โรงแรมสวนใหญอยูในเมืองทําใหมีความสะดวกสบายมากกวา
( ) ไมตองการปลีกตัวจากสังคมเมือง
( ) ไมชอบบรรยากาศธรรมชาติ
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ) ............................................................................

ระดับความพึงพอใจ
ปจจัย มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
1. ทําเลที่ตั้ง
1.1 ใกลแหลงอํานวยความสะดวก
1.2 ความสะดวกในการเดินทาง
1.3 บรรยากาศภายในรีสอรท
ระดับความพึงพอใจ
ปจจัย มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
2. การออกแบบตกแตง
2.1 ตกแตงแบบธรรมชาติ
2.2 มีบานพักหลายแบบใหเลือก
2.3 ขนาดของบานพัก
2.4 ความคุมคาของราคากับบานพัก
205

3. การบริการ
3.1 ความรวดเร็วในการบริการ
3.2 ความเอาใจใสของบุคลากร
3.3 บุคลากรมีความนาเชื่อถือ
3.4 บุคลากรพูดไดหลายภาษา
3.5 มี Promotion
3.6 มีบัตรสมาชิกเพื่อสิทธิพิเศษ
4. สิ่งอํานวยความสะดวก
4.1. มีรถนําทองเที่ยวตามสถานที่ตางๆในเขาใหญ
4.2 มีรถใหเชา
4.3 มี Free WIFI
4.4 มีบริการซักอบรีด

สวนที่ 3 พฤติกรรมและความพึงพอใจในการเลือกใชบริการรีสอรทเพื่อสุขภาพ

ระดับความพึงพอใจ
ปจจัย มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
1. ทําเลที่ตั้ง
1.1 ใกลแหลงอํานวยความสะดวก
1.2 ความสะดวกในการเดินทาง
1.3 ไกลแหลงธรรมชาติมีภูเขาลอมรอบ
1.4 บรรยากาศภายในรีสอรท
2. การออกแบบตกแตง
2.1 วัสดุที่สรางทําจากดินเพื่อความเย็นสบาย
2.2 มีบานพักหลายแบบใหเลือก โดยมีรูปแบบ
ทรงเห็ดและผักชนิดตางๆ
2.3 ขนาดของบานพัก
2.4 ความคุมคาของราคากับบานพัก
206

3. การบริการ
3.1 ความรวดเร็วในการบริการ
3.2 ความเอาใจใสของบุคลากร
3.3 บุคลากรมีความนาเชื่อถือ
3.4 บุคลากรพูดไดหลายภาษา
3.5 มี Promotion
3.6 มีบัตรสมาชิกเพื่อสิทธิพิเศษ
3.7 มีบริการเก็บเห็ดและผักกลับบาน
3.8 มีบริการเรียนรูการปนบานดิน
3.9 มีบริการหองนันทนาการสําหรับเด็ก
3.10 มีบริการกิจกรรมปนจักยานและพายเรือ
ระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
ปจจัย (5) (4) (3) (2) (1)
4. สิ่งอํานวยความสะดวก
4.1.มีรถรับสงไปสถานที่ทองเที่ยวตางๆในสถานที่
ใกลเคียง
4.2 มี Free WIFI
4.3 มีบริการซักอบรีด
4.4 มีบริการชุดลําลองและชุดวายน้ํา
4.5 มีบริการหองออกกําลังกาย
5. ความเปนรีสอรทเพื่อสุขภาพ
5.1 มีรานอาหารเพื่อสุขภาพ (เห็ด ผัก อาหาร
ทะเล )
5.2 มีหองบริการตรวจสุขภาพผิวและรางกาย
5.3 มีสปาเพื่อสุขภาพ
5.4 มีหองสอนโยคะเพื่อสุขภาพ
5.5 มีหองใหความรูวิชาการเกี่ยวกับสุขภาพ
5.6 มีสระออนเซนบริการเพื่อสุขภาพ
207

สวนที่ 4 คําถามและขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรีสอรทเพื่อสุขภาพ (mushroom clay house


resort)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
208

ประวัติผูเขียน

ชื่อ นางสาวนนณภัท ฉายอรุณ


วัน เดือน ป เกิด 29 กันยายน พ.ศ 2531
เชื้อชาติและสัญชาติ ไทย
ศาสนา พุทธ
ประวัติการศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนอันนาลัย
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต คณะดิจิตอลอารต สาขา คอมพิวเตอรอารต
โมชั่นกราฟฟก
ประสอบการการทํางาน
ป 2554 ตําแหนง Editor ของ บริษทั NATION TV
ป 2553 ตําแนงนักศึกษาฝกงาน ของ บริษัท GMM GRAMMY
ที่อยู 161 ถนนเลียบคลองพิทยาลงกรณ แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน
กรุงเทพมหานคร 10150
E-mail address : zoozenzee@hotmail.com

You might also like