You are on page 1of 57

โครงการ

แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้ )

นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์

โครงการนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง


ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสั นติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ปี การศึกษา 2565
ใบรับรองโครงการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสั นติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์

เรื่ อง แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)

โดย นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์ เลขประจาตัว 65728

ได้รับพิจารณาอนุมตั ิให้ดาเนิ นการได้โดยโครงการนี้ นับเป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสู ตร


ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ประเภทวิชาบริ หารธุ รกิจ สาขาวิชาบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ใน
พระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุ ดา สิ ริโสภาพัณณวดี ปี การศึกษา 2565

_________________________ที่ปรึ กษาโครงการ
(อาจารย์กญั ญานี รักยศ)
วันที่…………เดือน…………………………….พ.ศ……………..
ชื่อโครงการแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)

นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์

โครงการนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง


ประเภทวิชาบริ หารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ปี การศึกษา 2565
คานา

โครงการฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชี พชั้นสู ง ประเภท


วิชาบริ หารธุ รกิจ สาขาวิชาการบัญชี โครงการแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้) เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชาโครงการ
จุดประสงค์เพื่อนาเสนอการทาอาหารฟิ วชัน่ รู ปแบบใหม่ โดยการนาอาหารยอดนิ ยมอย่างทงคัตสึ มาแปรรู ป
เป็ นแซนวิชใส้ผลไม้ เช่น กล้วย ข้าวโพด เป็ นต้น โดยนาใส้ผลไม้มาทาเป็ นทงคัตสึ ซึ่ งเป็ นเมนู อาหาร
ที่ ผูจ้ ดั ทาได้คิดค้นขึ้ นมาเพื่อให้ไ ด้เมนู อาหารแบบใหม่ๆ แต่ยงั คงคุณค่าและคุณประโยชน์มากกมายไว้
ทานง่าย รสชาติอร่ อย เหมาะกับทุกวัย มีสารอาหารที่ครบถ้วน และยังสามารถนาไปพัฒนาต่อยอดเป็ นอาชีพ
ได้อีกด้วย
ทั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาหวัง เป็ นอย่างยิ่งว่าโครงการเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์ ต่อส่ วนรวมไม่มากก็ น้อ ย
หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่น้ ี ดว้ ย และจะนาปัญหาที่ได้รับไปปรับปรุ งแก้ไข และพัฒนาอีก
ต่อไป

นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 2
สาขาบัญชี ภาคสมทบ
ปี พ.ศ. 2565

ชื่อเรื่ อง : แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)
ผูด้ าเนินการ : นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์

ที่ปรึ กษา : อาจารย์กญั ญานี รักยศ


สาขาวิชา : บริ หารธุรกิจ
สาขางาน : บัญชี
ปี การศึกษา : 2565

บทคัดย่อ
โครงการ เรื่ อง แซนวิชทงคัตซึ (ผลไม้) จัดทาขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์ (1) เพื่อผลิตอาหารที่มี
ความแปลกใหม่โดยการนาเมนูทงคัตสึ มาแปรรู ปเป็ นแซนวิชใส้ผลไม้ทอดแบบทงคัตสึ (2) เพื่อศึกษาความ
พึ ง พอใจของเมนู แ ซนวิ ช ทงคัต สึ (ผลไม้) (3) เพื่ อ น าไปพัฒ นาสู่ ก ารการประกอบธุ ร กิ จ ในอนาคต
โดยสามารถสร้างรายได้พิเศษเพิ่มเตอม (4) โดยผูจ้ ดั ทาโครงการ มีความเห็นว่าในประเทศไทยเมนูทงคัตสึ
เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย แต่ดว้ ยสภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั ทาให้ราคาเนื้ อสัตว์ในท้องตลาดมีราคาสู งขึ้น
ทางผูจ้ ดั ทาโครงการจึงมีความคิดในการนากระบวนการทอดแบบทงคัตสึ มาใช้กบั ผลไม้แทน โดยนากล้วย
และข้ า วโพดมาห่ อด้ ว ยชี ส และขนมปั งจากนั้ นน าไปชุ บ ไข่ แ ละเกร็ ดขนมปั งแล้ ว น าไปทอด
โดยท าเช่ น เดี ย วกับ การท าทงคัต สึ อี ก ทั้ง ยัง ช่ ว ยลดต้น ทุ น ในการผลิ ต และยัง ส่ ง เสริ ม สิ น ค้า ในชุ ม ชน
สร้างความแปลกใหม่จากเมนู เดิม ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการรับประทานอย่างรวดเร็ วและอิ่ ม
ท้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั จึงนามาปรับเข้ากับอาหารประเภทแซนวิช ซึ่งอุดมไปด้วยวิตามินและ
คาร์โบไฮเดรต และยังมีพลังงานเพียงพอต่อความต้องการในแต่ละวัน
ประชากรที่ศึกษาในการวิจยั ครั้งนี้ คือ ประชาชนในหมู่บา้ นสวัสดิการทหาร โครงการ 1
จานวน 27 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่ มจากประชากร โดยกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) จานวน 27 คน เครื่ องมื อที่ ใ ช้ใ นการวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิ ติที่ ใ ช้ใ นการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล คือ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการการประเมินความพึงพอใจ ประกอบไปด้วยด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านผลิตภัณฑ์
1.1 รสชาติอร่ อย ระดับ 5 มากที่สุด
1.2 วัตถุดิบ สด ใหม่ สะอาด ระดับ 5 มากที่สุด
1.3 รู ปลักษณ์ของอาหาร เช่น สวยงาม น่ารับประทาน ระดับ 5 มากที่สุด
1.4 ปริ มาณมีความเหมาะสม ระดับ 5 มากที่สุด
1.5 บรรจุภณ ั ฑ์มีความสวยงาม ระดับ 5 มากที่สุด
2. ด้านราคา
2.1 คุณภาพเหมาะสมกับราคา ระดับ 5 มากที่สุด
2.2 ปริ มาณเหมาะสมกับราคา ระดับ 5 มากที่สุด
3. ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย
3.1 รับด้วยตนเอง เช่น มีการนัดรับสิ นค้า ระดับ 4 มาก
3.2 แอปพลิเคชัน่ เช่น Line Facebook IG ระดับ 5 มากที่สุด
3.3 เดลิเวอร์รี่ เช่น Grab food , Robinhood ระดับ 4 มาก
4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด
4.1 การส่งเสริ มการขาย เช่น ลดราคา แถม ระดับ 5 มากที่สุด
4.2 สั่งจองสิ นค้าล่วงหน้า ระดับ 5 มากที่สุด
ผลการทดลอง พบว่า ผูต้ อบแบบอบถามส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิ ง มี อายุระหว่าง 20-30 ปี
มี อาชี พราชการ/รั ฐวิสาหกิจ ผูต้ อบแบบอบถามส่ วนใหญ่ใ ห้ความสาคัญกับตวามพึงพอใจต่อโครงการ
แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้) ในระดับมากที่สุดทุกในด้านปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และในด้านด้านราคา ด้านช่องทาง
การจัดจาหน่าย ด้านการส่ งเสริ มการตลาด อยูใ่ นระดับมาก
ผูจ้ ัดท าโครงการจึ ง สรุ ปได้ว่า เมนู แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)สามารถนาไปต่อยอดในการ
ท าธุ รกิ จหรื ออาชี พ เสริ ม เพื่ อสร้ า งรายได้เสริ ม ได้ โดยปรั บ ปรุ ง ด้า นช่ องทางการจัด จาหน่ า ยให้ม ากขึ้ น
และกระจายสิ นค้าให้หลากหลายพื้นที่ ทั้งนี้ ตอ้ งได้รับการพัฒนาและประเมิ นความพึงพอใจใหม่เพื่อให้
สามารถนาไปใช้ได้จริ ง
คาสาคัญ : ทงคัตสึ , แซนวิช, ผลไม้, ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

กิตติกรรมประกาศ

การจัดทาโครงการแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้) สามารถดาเนิ นการจนสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี


ผูจ้ ัดท าได้รับ ความเมตตาจากครอบครั ว เพื่ อนร่ วมชั้นเรี ย น และประชาชนในหมู่บ้านสวัส ดิ ก ารทหาร
โครงการ 1 เป็ นผู ้ใ ห้ ค าช่ ว ยเหลื อ และโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ที่ ป รึ กษาได้ แ ก่ อาจารย์กัญ ญานี รั ก ยศ
ที่ได้ให้คาปรึ กษาในการจัดทาโครงการครั้งนี้ เป็ นอย่างดียิ่ง ทาให้การจัดทาโครงการสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี
และบรรลุ ต ามวัต ถุ ป ระสงค์ ใ นการจัด ท าโครงการครั้ งนี้ ข้า พเจ้า ในนามของคณะผู ้จัด ท าโครงการ
ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กล่าวนามทุกท่านข้างต้นเป็ นอย่างสู งมา ณ โอกาสนี้

นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 2
สาขาบัญชี ภาคสมทบ
ปี พ.ศ. 2565
สารบัญ
เรื่ อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญตาราง ค
สารบัญรู ป ง

บทที่ 1 บทนา 1

1.1 หลักการและแหตุผล 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1
1.3 ประโยชน์ที่ได้รับของโครงการ 1
1.4 วิธีการดาเนินการ 2
1.5 ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการ ระยะเวลา 2
1.6 นิยามคาศัพท์ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 4
2.1 แซนวิช 4
2.2 ทงคัตสึ 5
2.3 ทฤษฎีความพึงพอใจ 6
บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงการ/วิธีดาเนินการวิจยั 12
3.1 วิธีการดาเนินการ 12
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 16
3.3 เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 16
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 17
4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 17
บทที่ 4 ผลการทดลอง 19
4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 19
4.2 ขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูล 19
4.3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 19
บทที่ 5 สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุ ปผลการทดลอง 24
5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง 24
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา 24
บรรณานุกรม 25
ภาคผนวก ก.
* รู ปวัตถุดิบ
* ขั้นตอนการทาแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)
ภาคผนวก ข.
* แบบประเมินความพึงพอใจข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจใน
“แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)”
* รู ปภาพประกอบการแจกแบบสอบถาม
* รู ปภาพผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลแบบสอบถาม

ประวัติผจู ้ ดั ทา

สารบัญตาราง

ตารางที่ 2.ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในอาหารแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)


ตารางที่4.1 แสดงจานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ
ตารางที่4.2 แสดงจานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ
ตารางที่4.3 แสดงจานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ
ตารางที่4.4 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ
ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์
ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ
ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านราคา
ตารางที่ 4.6 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ
ของของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านช่องทางการจัดจาหน่าย
ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ
ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านการส่งเสริ มการตลาด

สารบัญรูป

รู ปภาพที่ 1 วัตถุดิบในการทาแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)


รู ปภาพที่ 2 ขั้นตอนการเตรี ยมขนมปังห่อไส้
รู ปภาพที่ 3 ขั้นตอนการห่อไส้ผลไม้
รู ปภาพที่ 4 ขั้นตอนการทอดทงคัตสึ
รู ปภาพที่ 5 ขั้นตอนการเตรี ยมขนมปังปิ้ ง
รู ปภาพที่ 6 ขั้นตอนการห่ อแซนวิช
1

บทที่ 1
บทนา
1. หลักการและเหตุผล
“ทงคัตสึ ” หมูชุบแป้งทอด เป็ นคาสองคาตามสไตล์ญี่ปุ่นคือ ทง (หมู) + คัตสึ ย่อมาจาก คัตสึ เร็ ทสึ
หรื อ Cutlet ในภาษาอังกฤษเป็ นชื่อเรี ยกอาหารเนื้อสัตว์ชุบแป้ง ไข่และขนมปังแล้วนามาทอดจากนั้นก็หนั่ ให้
เป็ นชิ้น ในช่วงแรกอาหารจานนี้ ยงั ไม่ใช่ทงคัตสึ แบบในปั จจุบนั และมีชื่อเรี ยกว่า พอร์คคัตสึ เร็ทสึ ซึ่งอาหาร
จานนี้ ก็ได้ต่อยอดมาเป็ นคัตสึ คาเรและคัตสึ ดง และได้มาเป็ นทงคัตสึ ในปี 1929 โดยเริ่ มจากคุณชิมาดะ ชินจิ
โร่ พ่อครัวอาหารในกรุ งโตเกียว ได้ใช้เนื้อหมู นามาชุบแป้ง ไข่และเกล็ดขนมปัง นามาทอดในไฟที่ร้อนได้ที่
จนเหลื องทองอร่ า ม แล้วมาหั่นเป็ นชิ้ นพอดี ค า ด้วยความง่ า ย อร่ อย ราคาถู ก และรวดเร็ วนี้ ก็ ทาให้เ กิ ด
ปรากฏการณ์ที่เรี ยกว่า ทงคัตสึ บูมขึ้น
ในประเทศไทยเมนูทงคัตสึ ก็เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย แต่ดว้ ยสภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั ทาให้
ราคาเนื้ อสั ตว์ใ นท้องตลาดมี ราคาสู ง ขึ้ น ทางผูจ้ ัดท าโครงการจึ ง มี ค วามคิดในการนากระบวนการทอด
แบบทงคัตสึ มาใช้กบั ผลไม้แทน โดยนากล้วยและข้าวโพดมาห่อด้วยชีสและขนมปังจากนั้นนาไปชุบไข่และ
เกร็ ดขนมปังแล้วนาไปทอด โดยมีกระบวนการในการทาเช่นเดียวกับการทาทงคัตสึ อีกทั้งยังช่วยลดต้นทุน
ในการผลิต และยังส่งเสริ มสิ นค้าในชุมชน สร้างความแปลกใหม่จากเมนูเดิม ๆ
ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการรับประทานอย่างรวดเร็ วและอิ่มท้องเหมาะสมกับสถานการณ์
ปั จจุ บ ันจึ ง นามาปรั บ เข้ากับอาหารประเภทแซนวิช ซึ่ งอุดมไปด้วยวิตามิ นและคาร์ โบไฮเดรต และยังมี
พลังงานเพียงพอต่อความต้องการในแต่ละวัน
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อลดต้นทุนการผลิตสิ นค้า
2.2 เพื่อหาช่องทางในการสร้างอาชีพเสริ ม
2.3 เพื่อส่งเสริ มผักผลไม้ในชุมชน สร้างรายได้เสริ มให้ผสู ้ ูงอายุ

3. ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ
3.1 ลดต้นทุนการผลิตสิ นค้า เนื่องจากใช้ผกั ผลไม้ที่หาได้ในชุมชนมาใช้แทนเนื้อสัตว์
3.2 มีรายได้จากอาชีพเสริ ม สร้างประสบการณ์ในการประกอบอาชีพ
3.3 ชาวบ้านในชุมชนมีรายได้จากการขายผัก และผลไม้
2
4. ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
กิจกรรม วัน/เดือน/ปี
11 ก.ย. 65 18 ก.ย. 65 25 ก.ย. 65 2ต.ค. 65 9 ต.ค. 65 16 ต.ค. 65
ก. การเตรี ยมการ
1.การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง
2 . ก า ร ติ ด ต่ อ ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ
รวบรวมข้อมูลที่จาเป็ น
3. หาเครื่ องมือที่ใช้ในการจัดท า
โครงการ
4. ทดสอบการทาโครงการ
ข. การเก็บข้อมูล
5. สุ่มตัวอย่าง
6. สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง
ค. การประมวลผลและการวิเคราะห์
ข้อมูล
7. ประมวลผลข้อมูล
8. วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
ง. การเขียนรายงานและการเผยแพร่
ผลงาน
9. เขียนรายงาน
10. จัดพิมพ์รายงาน
5. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการ ระยะเวลา
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ตั้งแต่วนั ที่ 11 กันยายน 2565 – 16 ตุลาคม 2565
1.5.2 สถานที่ดาเนินการ
บ้านของผูจ้ ดั ทาโครงการ
3
6. นิยามคาศัพท์

1. แซนด์ วิ ช [1] (อั ง กฤษ: sandwich) เป็ นขนมปั ง หั่ น แบบคู่ ห นึ่ งประกบกั น ตรงกลาง
มัก มี แ ฮม ชี ส ไข่ ด าว แตงกวาดอง ทามายองเนส มัส ตาร์ ด หรื อแยม ถ้า เป็ นแบบอเมริ กั น มัก ใช้
ขนมปังทั้งแผ่น บางครั้งปิ้ งด้วย ถ้าเป็ นแบบอังกฤษมักเป็ นชิ้นเล็ก ๆ
2. ทงคัตสึ (Tonkatsu) อาหารที่ใช้เนื้ อหมูหั่นชิ้นหนาคลุกแป้ งผสมกับไข่และชุบเกล็ดขนมปังทอด
ชื่อเรี ยกผสมจากคาในภาษาญี่ปุ่นว่าทง (Ton) ที่แปลว่าหมู และคาว่า cutlet ในภาษาอังกฤษ ที่แปลว่าเนื้อทอด
3. ผลไม้ ผลไม้ หมายถึง ผลที่เกิดจากการขยายพันธุ์โดยอาศัยเพศของพืชบางชนิด ซึ่งมนุษย์สามารถ
รับประทานได้ และส่ วนมากจะไม่ทาเป็ นอาหารคาว ตัวอย่างผลไม้ เช่น ส้ม แอปเปิ้ ล กล้วย มะม่วง ทุเรี ยน
รวมถึ ง มะเขือเทศ สามารถจัดได้ว่าเป็ นทั้งผักและผลไม้มาจากการประสมของคาว่า ผล และ ไม้ คานี้ จึง
สามารถอธิ บายได้ว่า สิ่ งที่เป็ นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากสิ่ งมีชีวิตจาพวกพืช โดยลักษณะรวมๆ จะมีรูปทรงคล้าย
ทรงกลมหรื อทรงรี ซึ่ งอาจมีความแตกต่างกันบ้างตามสายพันธุ์ โดยปกติผลไม้จะต้องมีเปลือกหรื อมีสิ่งที่
ห่อหุม้ เนื้อที่อยูข่ า้ งใน
4

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
ในการศึกษาเรื่ องแซนวิชทงคัตสึ ผลไม้ ผูว้ ิจยั ได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ จาก
เอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.1 แซนวิช
เป็ นทั้ง อาหารว่า งและอาหารหลัก ที่ หลายคนต่ า งคุ ้นเคยกันเป็ นอย่า งดี แต่ ป ระวัติ ของแซนด์วิ ช
เป็ นอย่ า งไร อัน ที่ จ ริ ง นั้น แซนด์ วิ ช นั้น สามารถย้อ นต้น ก าเนิ ด ไปได้ต้ ัง แต่ ต้น คริ ส ตกาล โดย “Hillel
the Elder” ผูน้ าทางศาสนาชาวยิว เป็ นผูร้ ิ เริ่ มนาเนื้อแกะมามัดรวมกับสมุนไพรกับขนมปัง
แต่ตน้ กาเนิดที่ทาให้แซนด์วิชโด่งดังจริ งๆ คือในยุคค.ศ.1700 (พ.ศ.2243-2342) เมื่อ “John Montagu,
4th Earl of Sandwich” เอิร์ลที่ 4 แห่ งแซนด์วิชได้ประดิษฐ์แซนด์วิชโดยที่ไม่ได้ต้ งั ใจท่านเอิร์ลเป็ นผูท้ ี่ชอบ
การเล่นพนันเป็ นอย่างมาก เล่นแทบจะตลอดเวลา แม้แต่เวลาอาหารก็ไม่สนใจท่านเอิร์ลจึงสั่งให้คนรับใช้ไป
น าอาหารมา โดยอาหารนั้น มี ข นมปั ง กับ เนื้ อ ท่ า นเอิ ร์ ล จึ ง สั่ ง ให้ น าขนมปั ง ประกบลงบนเนื้ อ เพื่ อ ที่ จะ
ได้ถื อกิ นได้ส ะดวกในเวลาที่ เล่นไพ่ คนอื่ นๆ เมื่ อเห็ นอย่า งนั้นก็ ช อบใจ จึ ง สั่ ง ตามท่ า นเอิ ร์ล แซนด์วิช
จึ ง ได้ถื อ ก าเนิ ด ขึ้ น นับ แต่ น้ ั น และโด่ ง ดัง ไปทั่ว โลก โดยแซนด์ วิ ช ชิ้ น แรกนั้น คื อ เนื้ อ วัว หมัก เกลื อ กับ
ขนมปังปิ้ งสองแผ่น
โดยในประเทศไทยต้นกาเนิ ดแซนวิชเริ่ มมาจากนายแซม เมเจอร์ พ่อค้าชาวอังกฤษ ได้ออกเดินทาง
ไปทัว่ โลกเพื่อค้าขายสิ นค้าไปทัว่ โลก โดยเอาของจากประเทศหนึ่ ง ไปขายอีกประเทศหนึ่ ง พอขากลับก็เอา
สิ นค้าจากที่นั่นไปขายต่ออีกที่ ทาเรื่ อย ๆ อยู่อย่างนี้ จนมีฐานะร่ ารวย วันหนึ่ งเขาได้เดิ นทางมายังน่ า นน้ า
เมืองไทย ในสมัยพระนารายณ์มหาราช ซึ่ งการทูตของไทยกับต่างชาติกาลังบูม หลังจากอยู่ในเมืองไทยได้
2 เดือน เขาก็ได้ลูกเรื อคนใหม่เป็ นชาวไทย ชื่ อ นายสน และเขาก็กาลังจะกลับบ้านที่องั กฤษระหว่างการ
เดิ นทางนั้น ก็มีการค้าขายสิ นค้าอยู่ที่เมื องระยอง ซึ่ งเป็ นเมืองต้นกาเนิ ดของเพลงสกา จนได้เงินทองมา
มากมาย จนกระทัง่ หัวหน้าโจรสลัดพาลูกน้องขึ้นเรื อมาดักปล้น ขณะที่ เรื อกาลังลอยคว้างอยู่กลางทะเล
เพราะกาลังมุ่งหน้าไปแหลมมลายู นายแซม และนายสน และเหล่าลูกเรื อทั้งหลาย ต่างก็ต่อสู ้เพื่อรักษาเรื อ
ของตัวเองไว้อย่างสุ ดกาลัง แต่ก็ไม่อาจต้านทานความเก่งกาจของเหล่าโจรสลัดได้ แถมก่อนจะหนี ไปโจรใจ
ร้ายยังได้เจาะเรื อของพวกเขา จนเป็ นรู นอ้ ยใหญ่หลายจุด
โชคดีที่นายสนเป็ นช่างเรื อที่ ชานาญพอสมควร จึงได้ซ่อมแซมรอยรั่ว แต่น้ าก็ยงั ทะลักเข้ามาไม่ยอม
หยุด นายแซมจึงจะนาเรื อไปซ่อมที่นครศรี ธรรมราช ระหว่างทาง นายแซมต้องเกณฑ์ลูกเรื อทั้งลามาช่วยกัน
วิดน้ าออกจากเรื อ ในตอนที่ซ่อมอยูน่ ้ ี นายแซมเห็นลูกเรื ออ่อนระโหยโรยแรง จึงได้นาปี กไก่มาประกบกับ
5
ขนมปัง แล้วแจกให้คนงานที่วิดน้ าอยู่ได้ทานกัน เพื่อที่ว่าขณะที่กาลังกินอยู่ จะได้มีมืออีกข้างหนึ่ งไว้วิดน้ า
ไม่ให้เข้าเรื อด้วย สุ ดท้ายนายแซม สน และลูกเรื อทั้งหลาย ก็พาเรื อมาถึงนครศรี ธรรมราชด้วยความปลอดภัย
ระหว่างที่รอเรื อ ซ่อมอยูน่ ี่เอง นายสนเกิดความคิดดี ๆ ขึ้น เขาได้นาขนมปังมาประกบกับปี กไก่แบบ
ที่นายแซมเคยทา แล้วนายสนก็ได้นามาขาย ปรากฎว่า ชาวเมืองนครศรี ธรรมราชถูกใจอาหารแปลก ๆ ชิ้นนี้
มาก จึงได้สอบถามนายสนว่านี่คืออะไร นายสนก็อธิ บายไปว่า มันคือขนมที่นายแซมกินตอนวิดน้ าออกจาก
เรื อ คนนครศรี ธรรมราชก็เลยเรี ยกอาหารชนิ ดนี้ ว่า ขนมแซมวิดน้ า หลังจากไปถึงอังกฤษ นายแซม ก็ได้ทา
ขนมแซมวิดน้ าออกวางขายบ้าง แต่มีชื่อเรี ยกที่ยาวเกินไป ชาวอังกฤษเลยเรี ยกแบบสั้นๆว่า ขนมแซมวิช จน
เพี้ยนมาเป็ น แซนวิช จนถึงทุกวันนี้
2.2 ทงคัตสึ
ทงคัตสึ (Tonkatsu) เป็ นอาหารที่ใช้เนื้อหมูหนั่ เป็ นชิ้นหนาคลุกแป้งผสมไข่และชุบด้วยเกล็ดขนมปัง
ทอด คาในภาษาญี่ปุ่น ทง แปลว่าหมู และ cutlet ภาษาอังกฤษ แปลว่าเนื้อทอด เป็ นเมนูตวั แทนของญี่ปุ่น เมนู
ยอดนิยมของญี่ปุ่น
ความเป็ นมา ทงคัตสึ เป็ นอาหารญี่ ปุ่ นที่ ท าจากเนื้ อหมู หั่นเป็ นแผ่นหนาประมาณ 2 เซนติ เมตร
นาไปหมักเกลือและพริ กไทย และนามาโรยแป้งบาง ๆ ชุบแป้งผสมไข่ที่ตีจนเข้ากัน ตามด้วยชุบเกล็ดขนมปัง
หรื อปังโกะ จึงนามาทอดจนสุก รับประทานได้กบั ข้าวสวย กะหล่าปลีและซุปเต้าเจี้ยว
เริ่ มแรกโปรตุ เกสเป็ นผูน้ า Tonkatsu เข้ามายังประเทศญี่ปุ่น เดิมเรี ยก “คัตสึ เร็ ตสึ ” เรี ยกโดยย่อ
“คัต สึ ” นับ เป็ นอาหารในเหล่ า “โยโชกุ ” คื อ อาหารญี่ ปุ่ นที่ น ามาดัด แปลงจากอาหารยุโ รปช่ ว งปลาย
คริ สต์ศตวรรษที่ 1 9 ถึงต้นคริ สต์ศ ตวรรษที่ 2 0 คัตสึ เร็ ตสึ ด้ ัง เดิ ม นั้นจะใช้เนื้ อวัว ส่ วนเนื้ อหมูที่นิ ย มใน
ปัจจุบนั เริ่ มขึ้น ณ ร้านอาหารยุโรปในย่านกินซะ กรุ งโตเกียว ในปี ค.ศ. 1 8 9 0
Tonkatsu มีหมายความว่า ส่ วนที่ทาจากเนื้ อหมู จึงได้บญั ญัติข้ ึนในคริ สต์ทศวรรษที่ 1930 รากศัพท์
ได้มาจากคาในภาษาฝรั่งเศสว่า Cotolette (เนื้อซี่โครงของลูกวัว แกะ หรื อหมู) ในภาษาอังกฤษเรี ยกว่า Cutlet
และถูกนามาใช้เรี ยกในแบบของญี่ปุ่นว่า “คัทสึ เร็ทสึ ”
ช่ วงปลายศตวรรษที่ 19 อาหารตะวันตกคื อ คัทสึ เร็ ทสึ เนื้ อและไก่ ได้เริ่ มแทรกซึ มตามเมนู ข อง
ร้ า นอาหารในญี่ ปุ่ น หลัง จากนั้น เมื่ อ ปี ค.ศ.1895 มี ร้ า นอาหารในกิ น ซะ โตเกี ย ว ได้เ ริ่ ม มี ก ารขายเมนู
‘คัทสึ เร็ ทสึ หมู’ และได้รับความนิ ยมเพิ่มขึ้น จนเมื่อปี ค.ศ.1930 ในย่านอุเอโนะและอะซะคุสะ ในโตเกียว
เริ่ มมีการใช้เนื้อหมูชิ้นหนาในการทาจึงได้ชื่อว่า Tonkatsu เป็ นต้นมา
Tonkatsu มีตน้ กาเนิดมาจากอาหารฝรั่งเศส โดยการใช้ซี่โครงมาปรุ งอาหาร และในสมัยเมจิได้มีการ
นาเทมปุระมาประยุกต์ให้เข้ากันโดยนาเนื้อหมูชุบเกล็ดขนมปังแล้วนาไปทอด จึงกลายเป็ นเอกลักษณ์ของ
6
ญี่ปุ่น ร้าน Tonkatsu แห่งแรกในญี่ปุ่นนั้น เรี ยกอาหารนี้ว่า “พอร์คคัทซึเรตซึ ” คาว่าพอร์คชาวญี่ปุ่นออกเสี ยง
เป็ น ‘ทง’ กลายเป็ น Tonkatsu ในปัจจุบนั
2.3 ทฤษฎีความพึงพอใจ
แนวคิดเกี่ ยวกับความพึงพอใจนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของวิทยานิ พ นธ์ข องการศึ กษาตามหลักสู ต รศิ ล ป
ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรมมหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์ พ.ศ. 2564 ของคุณสุพตั รา คงขา
ความหมายของความพึงพอใจ
Mccormic (1965) กล่ า วว่า ความพึ ง พอใจเป็ นแรงจู ง ใจของมนุ ษ ย์ที่ ต้ งั อยู่บ บความต้อ งการขั้น
พื้นฐาน (Basic needs) มีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด ผลสัมฤทธิ์และสิ่ งจูงใจ (Incentive) และพยายามหลีก
เสี่ ยงสิ่ งที่ไม่ตอ้ งการ
Dalton (1968) กล่าวว่าทัศนคติ หมายถึง ความรู ้สึกของคนใดคนหนึ่งว่าชอบหรื อไม่ชอบในบุคคล
สิ่ งของ หรื อสภาพแวดล้อมที่เขาเข้าไปเกี่ยวข้อง
สิ่ งที่ทาให้เกิดความรู ้สึกพึงพอใจของมนุษย์มกั จะได้แก่ ทรัพยากร (Resources) หรื อสิ่ งเร้า (stimul)
การวิคราะห์ระบบความพึงพอใจคือ การศึกษาว่าทรัพยากรหรื อสิ่ งเร้าแบบใดเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งการที่จะทาให้เกิด
ความพอใจ และความสุ ขแก่มนุ ษย์ ความพอใจจะเกิดได้มากที่สุดเมื่อมีทรัพยากรทุกอย่างที่เป็ นที่ตอ้ งการ
ครบถ้วน
แนวคิดเกีย่ วกับความพึงพอใจ
มีผกู ้ ล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจไว้หลากหลายซึ่งผูว้ ิจยั ได้นามารวบรวมไว้ ดังนี้
wallestein ช้า งถึ ง ใน อัญจณา วังนะสวัสดิ์ , 2544, น. 3) กล่าวว่า ความพึ งพอใจเป็ นความรู ้สึกที่
เกิดขึ้นเมื่อได้รับผล สาเร็ งตามความมุ่งหมายหรื อเป็ นความรู ้สึกขั้บสุ ดท้าย (End-Stalein Feeling) ที่ได้รับผล
สาเร็งตามวัตถุประสงค์
Shelly (อ้างถึงใน อัญจณา วัจนะสวัสดิ์ , 2544, น. 5) ได้ให้ความหมายสรุ ปได้ว่าความพึงพอใจเป็ น
ความรู ้สึกสองแบบของมนุษย์คือ ความรู ้สึกทางบวก ความรู ้สึกทางลบความรู ้สึกทางบวกเป็ นความรู ้สึกที่
เมื่ อเกิ ดขึ้ นแล้วจะทาให้เกิ ดความสุ ข ความสุ ขนั้นเป็ นความรู ้ สึ กที่ แตกต่า งจากความรู ้ สึกทางบวกอื่ น ๆ
กล่าวคือ เป็ นความรู ้สึกที่มีระบบย้อนกลับและความสุ ขนี้ สามารถทาให้เกิดความสุ ขหรื อดวามรู ้สึกทางบวก
เพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นจะเห็นได้วา่ ความสุ ขเป็ นความรู ้สึกสลับชับช้อนและความสุ ขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่า
ความรู ้สึกทางบวกอื่น ๆ
7
ความรู ้ สึ ก ทางลบความรู ้ สึ ก ทางบวกและความสุ ข มี ค วามสั ม พัน ธ์ กัน อย่า งสลับ ชับ ซ้ อ นและ
ความสัมพันธ์ของความรู ้สึกทั้งสามนี้ รียกว่าความพึงพอใจโดยความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อระบบความพึง
พอใจมีความรู ้สึกทางบวกมากกว่าทางลบ
จิตตินนั ท์ เคชะคุปต์ (2544, น. 27) กล่าวว่า "ความพึงพอใจ" ตรงกับภาษาอังกฤษว่า"Satisfacion" ซึ่ง
มีความ หมายโดยทัว่ ไปว่า "ระดับความรู ้สึกในทางบวกของบุคคลต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง"
Peson (างถึงใน สมสันต์ กางการ, 2547, น. 32) ได้ให้ความหมายว่าความพึงพอใจของลูกค้าคือ การ
ที่สินค้ าหรื อบริ การสามารถเป็ นไปตามความดาดหวังของลูกค้าทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจและเมื่อนั้นการ
ซื้อหรื อการใช้บริ การจะเพิ่มมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้นและจะบอกไปยังบุคคลใกล้ชิดต่อไป
Kotler (1997, p.192 ) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าเป็ นระดับความรู ้สึกของบุคคลที่เกิด
จากการเปรี ยบเทียบระหว่างการรับรู ้คุณค่าที่ ได้รับจากสิ นหรื อบริ การกับความคาดหวัง ของแต่ละบุคคล
ก่อนที่จะใช้หรื อได้รับสิ นค้าและบริ การนั้น ๆ
สมวงศ์ พงศ์สถาพร (2547, น. 59) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึง การประเมิน
สิ นค้า หรื อบริ ก ารนั้น ๆ ว่า ได้ตอบสนองความต้องการของตนได้ตามที่ คาดหวังไว้ห รื อไม่ถ ้าใด้ต ามที่
คาดหวังไว้ลูกค้าจะมีความพึงพอใจถ้าไม่ได้ตามที่คาดหวังไว้ในตอนแรกลูกค้าจะไม่พอใจ (Dissatisfaction)
จากการทบทวนวรรณกรรมแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ความพึ ง พอใจ สามารถสั ง เคราะห์ แ ละ
บูรณาการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ขอบเขดการวิชยั และนิยามได้ว่า ความพึงพอใจจะเกิดได้มากที่สุด
เมื่ อทรั พ ยากรทุ ก อย่า งที่เป็ นที่ต้องการครบถ้วน หรื อให้รับผลส าเร็ งตามความมุ่งหมายซึ่ งส่ งผลให้เกิด
ความรู ้สึกทางบวกเป็ นความรู ้สึกที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทาให้เกิดความสุ ข
ทฤษฎีเกีย่ วกับความพึงพอใจ
Millet (อ้างถึงใน พิทกั ษ์ ตรุ ษหิ ม , 2538: น.33) เป้ าหมายสาคัญของการบริ การคือ การสร้างความ
พอใจในการให้บริ การแก่ประชาชนโดยมีหลักหรื อแนวทางคือ
1. การให้บริ การอย่างเสมอภาค (Equitable Service) หมายถึง ความยุติธรรมในการบริ หารงานภาครัฐ
ที่มีฐานคติที่ว่าคนทุกคนเท่าเทียมกันดังนั้นประชาชนทุกคนจะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเท่าเทียมกันในแง่มุม
ของกฎหมาย ไม่มีการแบ่งแยกในการกีดกันในการให้บริ การ ประชาชนจะได้รับการปฏิบตั ิในฐานะที่เป็ น
ปัจเจกบุคคลที่ใช้มาตรฐานการให้บริ การเดียวกัน
2. การให้บ ริ ก ารตรงเวลา (Timely Services) หมายถึ ง การบริ ก ารจะต้อ งมองว่า การให้บ ริ ก าร
สาธารณะจะต้องตรงต่อเวลาผลการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานภาครัฐจะถือว่าไม่มีประสิ ทธิผลเลยถ้าไม่มีการ
ตรงต่อเวลาซึ่งจะสร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชน
8
3. การให้บริ การอย่างเพียงพอ (Ample Service) หมายถึง การให้บริ การสาธารณะต้องมีลกั ษณะมี
จานวนการให้บริ การและสถานที่ให้บริ การอย่างเหมาะสม (The Right Quantity At The Right Geographical
Location) Millet เห็นว่าความเสมอภาคหรื อการตรงต่อเวลาจะ ไม่มีความหมายเลยถ้ามีจานวนการให้บริ การ
ไม่เพียงพอและสถานที่ต้ งั ที่ให้บริ การสร้างความไม่ยตุ ิธรรมให้เกิดขึ้นแก่ผรู ้ ับบริ การ
4. การให้บริ การอย่างต่อเนื่อง (Continuous Service) หมายถึง การ ให้บริ การสาธารณะเป็ นไปอย่าง
สม่าเสมอ โดยยึดประโยชน์ของสาธารณะเป็ นหลักไม่ใช้ยึดความพอใจของหน่วยที่ให้บริ การว่าจะให้หรื อ
หยุดบริ การเมื่อใดก็ได้
5. การให้บ ริ ก ารอย่า งก้า วหน้า (Progression Service) หมายถึ ง การให้บริ ก ารสาธารณะที่ มี ก าร
ปรั บปรุ งคุณภาพและผลการปฏิ บ ัติง านกล่ าวคื อ การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพหรื อความสามารถที่ จะทาหน้า ที่
ได้มากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิม
จากความหมายของความพึงพอใจตังกล่าวข้างต้นสรู ป ได้ว่าความพึงพอใจเป็ นระดับความรู ้สึกหรื อ
ทัศนคติ ของบุคคลที่ มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งจากการเปรี ยบเที ยบระหว่างการรั บรู ้ คุณค่าที่ ได้รับจากสิ นค้าหรื อ
บริ การกับความดาดหวังของแต่ละบุคคลก่อนที่จะได้บริ การนั้น ๆ โดยความรู ้สึกพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความ
ต้องการของบุค คลได้รั บ การตอบสนองตามที่ คาดหวังไว้หรื อไม่เกิ ดขึ้ นหากความต้องการไม่ไ ด้รั บ การ
ตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ในตอนแรก
จากการทบทวนวรรณกรรมทฤษฎี เกี่ ย วกับความพึ งพอใจสามารถสังเคราะห์และบูรณาการให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจยั และนิยามได้วา่ หลักหรื อแนวทางในการสร้างความพอใจในการ
ให้บริ การแก่ ประชาชน ได้แก่ การให้บริ การอย่างเสมอภาค การให้บริ การตรงเวลา การให้บริ การอย่า ง
เพียงพอ การให้บริ การอย่างต่อเนื่อง และการให้บริ การอย่างก้าวหน้า
ความสาคัญของความพึงพอใจ
วันชัย คาเจริ ญ (2545 , น. 51-52) กล่าวว่า กลยุทธ์การสร้างความพึงพอไจให้ กบั ลูกค้าเป็ นเป้าหมาย
สู งสุ ดของความสาเร็ ง ในการดาเนิ นงานบริ การเพื่อ ให้ลูกค้าเกิดความรู ้สึกที่ดีและประทับใจในบริ การที่
ได้รับจนติดใจและกลับมาใช้บริ การอีก นามาซึ่ งความได้เปรี ยบในเชิ งการแข่งขันทางการตลาดส่ งผลให้
สังคมส่ วนรวมมี คุณภาพที่ ดีข้ ึน กล่าวได้ว่าความพึงพอใจของถูกค้าจึงเป็ นตัวแปรสาคัญในการประเมิ น
คุณภาพของการบริ การ หากกิจการ ใดนาเสนอการบริ การที่ดีมีคุณภาพตรงกับความต้องการตามคาดหวังของ
ลูกค้ามีผลทาให้ลูกค้าพึงพอใจต่อบริ การนั้นและมีแนวโน้มจะใช้บริ การช้ าอีกต่อไป คุณภาพการบริ การที่จะ
ท าให้ ถู ก ค้ า พึ ง พอใจขึ้ น อยู่ กับ ลัก ษณะการบริ ก ารที่ ป รากฎให้เ ห็ น เช่ น สถานที่ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้แ ละ
บุคลิกลักษณะของพนักงานบริ การ ฯลฯ ความนาเชื่อถือไว้วางใจของการบริ การความเต็มใจที่จะให้บริ การ
9
ตลอดจบความรู ้ความสามารถในการให้บริ การด้วยความเชื่ อมัน่ และความเข้าใจต่อผูอ้ ื่นสามารถแบ่งเป็ น 2
ประเด็น ดังนี้
1. องค์การบริ การพยายามค้นหาปั จจัยที่กาหนดความพึงพอใจของลูกค้าสาหรับนาเสนอบริ การที่
เหมาะสมเพื่อแข่งขันแย่งชิงส่ วนแบ่งตลาดของธุ รกิจบริ การผูร้ ับบริ การย่อมได้รับบริ การที่มีคุณภาพและ
ตอบสนองความต้องการที่ตนคาดหวังไว้ได้
2. การดาเนิ นชี วิตที่ตอ้ งพึ่งพาการบริ การในหลาย ๆ สถานการณ์ ทุกวันนี้ ย่อมนาไปสู่ การพัฒนา
คุณภาพชี วิตที่ดีตามไปด้วยเพราะการบริ การในหลายค้านช่วยอานวยความสะดวกและแบ่งเบาภาระการ
ตอบสนองความต้องการ ของบุคคลด้วยตนเอง
ผูป้ ฏิบตั ิงานบริ การพัฒนาคุณภาพของงานบริ การและอาชีพบริ การซึ่งเป็ นงานที่สาคัญต่อชีวิตของ
คนเราเพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ในการดารงชีวิตและการแสดงออกถึงความสามารถในการทางานให้สาเร็ จลุล่วง
ไปด้วยดีเป็ นที่ยอมรับว่าความพึงพอใจในงานมีผลต่อการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของงาน ในแต่
ละองค์การเมื่อองค์การบริ การ ให้ความสาคัญกับการสร้างความพึงพอใจในงานให้กั บผูป้ ฏิบตั ิงานบริ การทั้ง
ในด้านสภาพแวดล้อมในการทางานค่า ตอบแทนสวัส ดิการและความก้าวหน้าในชี วิตการงาน พนักงาน
บริ การก็ยอ่ มทุ่มเทความพยายามในการเพิม่ คุณภาพมาตรฐานของงานบริ การให้กา้ วหน้ายิง่ ขึ้น ๆ ไป
จิตตินนั ท์ เดชะคุปต์ (2544, น. 21) กล่าวว่า เป้าหมายสู งสุ ดของความสาเร็ จในการดาเนิ นงานขึ้นอยู่
กับกลยุทธ์การสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิดความรู ้สึกที่ดีและประทับใจในการบริ การ
เพราะฉะนั้นการศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าจึงเป็ นเรื่ องสาคัญเพราะความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องนี้ จะนามา
ซึ่งความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขันและเพื่อความก้าวหน้าและเติบโตของธุรกิจ
สรุ ปได้ว่า ความสาคัญของความพึงพอใจเกี่ยวข้องกับความพึงพอไงของผูร้ ับบริ การต่อการบริ การ
และความพึงพอใจในงานของผูป้ ฏิบตั ิงานบริ การซึ่งนับว่าความพึงพอใจทั้งสองลักษณะมีความสาคัญต่อการ
พัฒนาคุณภาพของการบริ การและการดาเนินงานบริ การให้ประสบผลสาเร็ จเพื่อสร้างและรักยาความรู ้สึกที่ดี
ต่อบุคคลทุกคนที่เกี่ยวข้องกับการบริ การ
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้นาแนวติดเกี่ยวกับความพึงพอใจมาใช้เป็ นแนวทางการศึกษาซึ่งจะเห็นถึง
ความสาคัญของความพึงพอใจเกี่ยวข้องกับความพึงพอไจของผูร้ ับบริ การต่อการบริ การและความพึงพอใจ
ในงานของผูป้ ฏิบตั ิงานบริ การซึ่งนับว่าความพึงพอใจทั้งสองลักษณะมีความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของ
การบริ การและการดาเนินงานบริ การให้ประสบผลสาเร็ จ เพื่อสร้างและรักษาความรู ้สึกที่ดีต่อบุคคลทุกคนที่
เกี่ ย วข้อ งกับ การบริ ก าร จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ ย วกั บความส าคัญ ของความพึ ง พอใจ สามารถ
สังเคราะห์และบูรณาการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจยั และนิยามได้วา่ การสร้างความพึง
10
พอใจให้กบั ลูกค้ามีความสาคัญต่อองค์กรอย่างมาก เนื่องจากถูกคาคือ สิ่ งที่สาคัญที่สุดที่ทาให้องค์กรประสบ
ความสาเร็ง องค์กรจึงจาเป็ นต้องสร้งกลยุทธ์ใบการสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า
แนวคิดคุณภาพของการบริการ
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับคุณภาพของอาหาร (Food Quality)
คุณภาพ หมายถึง ระดับหรื อสมบัติของผลิตภัณฑ์เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้วประกอบด้วยความ
ต้องการของผูบ้ ริ โภค ในขณะเดียวกัน ก็เป็ นไปตามมาตรฐานการผลิตที่ทาให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความเชื่ อมัน่ ใน
ผลิ ตภัณฑ์ (อรอุม า วงศางาม, 2556) คุ ณภาพอาหาร หมายถึ ง คุณภาพของอาหารและผลิ ตภัณฑ์อาหาร
ประกอบด้ว ย คุ ณ ภาพ ทางประสาทสั ม ผัส คุ ณ ภาพค้า นโภชษาการและคุ ณ ภาพด้า นความปลอดภัย
อุตสาหกรรมอาหารเป็ น อุตสาหกรรมที่ตอ้ งคานึงถึงความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภคมากเป็ นพิเศษ เนื่องจากมี
ความเสี่ ยงสู งที่จะ ก่อให้เกิดอันตรายต่อผูบ้ ริ โภคอย่างกว้างขวางและรุ นแรงมากกว่าอุดสาหกรรมอีกหลาย
ประเภท เช่น สิ่ งทอ เฟอร์ นิเจอร์ เครื่ องประดับ ทั้งนี้ เพราะอาหารมี โอกาสก่ ออันตรายกับผูบ้ ริ โภคได้ ทั้ง
อันตราย ทางกายภาพ อันตรายทางเคมี และอันตรายทางจุลินทรี ยต์ วั อย่างเช่น อาหารกระป๋ องที่ผ่านการฆ่า
เชื้อด้วยความร้อนไม่เพียงพอ อาจทาให้ผบู ้ ริ โภคเสี ยชีวิต เนื่ องจากสารพิษของเชื้อแบค ที่เรี ยคลอสตริ เดียม
โบทูไลนัม (Clostidium Botulinum) หรื อการล้างผักและผลไม้ที่ ไม่สะอาด อาจมีสารพิษ ทางการเกษตร
(Pestiides) เหลือตกค้างจนอาจเป็ นอันตราย เป็ นตัน รวมทั้งสารพิษที่แบคทีเรี ย หรื อเชื้ อราสร้างขึ้น อีกทั้ง
อาหารบางประเภทยังทาให้เกิดการแพ้อาหาร (Food Allergen) กับ ผูบ้ ริ โภคบางราย ซึ่งมีสถิติเพิ่มสู งขึ้น
คุณภาพของอาหาร หมายถึง ลักษณะใบต้นต่าง ๆ ของอาหารที่มีผลต่อความต้องการของ ผูบ้ ริ โภค
และสอดคล้องกับมาตรฐานที่กฎหมายกาหนด (พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิ ธิยา รัตนาปนนท์, 2556)
ประกอบไปด้วย
1. คุณค่าทางโภชนาการ (อรอุมา วงศางาม, 2556) คือ ปริ มาณของสารอาหารต่าง ๆ ที่ประกอบ
รวมกันในอาหาร ตัวอย่าง เช่น โปรตีน เป็ นสารประกอบอินทรี ย ์ ซึ่งเป็ นโพลิเมอร์สายยาวของกรดแอมิใน
(Amino Acid) ในแง่โภชนาการ โปรตีนเป็ นสารอาหาร ที่ให้พลังงาน คือโปรตีน 1 กรัมให้พลังงาน 4 แคลอรี
(Calorie) โปรตี น เป็ นส่ ว นประกอบของร่ า งกาย ที่ มี ป ริ ม าณมากเป็ นอัน ดับ สองรองจากน้ า โดยเป็ น
ส่ วนประกอบพื้นฐานของเซลล์ของสิ่ งที่มีชีวิตทุกชนิ ด เช่น เอนไซม์ (Enzyme) ฮอร์ โมน ซึ่ งจาเป็ นต่อการ
ทางานและการดารงชีวิต มีความสาคัญต่อการเจริ ญเติบโตและ การเสริ ม สร้างเนื้ อเยื่อส่ วนที่สึกหรอของสัตว์
เมื่อรับประทานอาหารที่มีโปรตีนร่ างกายจะย่อยสลายโปรตีนได้เป็ นกรดแอมิโนและกรดแอมิโนที่ร่างกาย
ได้รับจากอาหารจะนาไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ
11
2. คุณลักษณะทางกายภาพ เป็ นคุณภาพที่สัมผัสรับรู ้ได้ดว้ ยประสาทสัมผัส จึงเรี ยกคุณภาพในแง่น้ ี
ได้เป็ น คุ ณลัก ษหกณะเชิ ง ประสาทสัมผัส (Sensory Properties หรื อ Organoleptic Properies) ซึ่ งสามารถ
แบ่งย่อยได้เป็ น 3 ประเภทด้วยกัน (พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิ ธิยา รัตนาปนนท์ , 2556) คือ เนื้ อสัมผัส
(Texture) เป็ นคุณสมบัติที่ รับรู ้ได้ดว้ ยการสัมผัส หรื อรับรู ้จากการขับเคี้ยว เช่น ความเหนี ยว ความร่ วน และ
ความแข็ง เป็ นต้น กลิ่นรส (Flavor) เป็ นคุณสมบัติที่รับรู ้ได้ตวั ยการดมกลิ่น และชิมรสด้วยลิ้น และสี (Color)
เป็ นคุณสมบัติที่รับรู ้ได้ดว้ ยการมองด้วยตา ซึ่ งมี อิทธิ พลต่อความชอบในผลิตภัณฑ์อาหารบางอย่างถ้ามีสี
ผิดเพี้ยนไปจากธรรมชาติก็อาจจะถือว่าด้อยคุณภาพ
3. ความปลอดภัยต่อการบริ โภค คือ ความปลอดภัยของอาหารจึงควรเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดเสมอ โดย
ความปลอดภัยต่อการบริ โภค (ยูบิสีเวอร์ฟูดโซคูชนั่ ส, 2556) อันตราย 3 ประเภท คือ
1) อันตรายทางชีวิทยาประกอบด้วยแบดที่เรี ย ปรสิ ต เชื้อรา และไวรัส ซึ่ งเกิดขึ้นได้ในอาหารที่ผา่ น
การจัดการที่ไม่ดีหรื อผ่านทางการปนเปื้ อนจากแหล่งภายนอก
2) อันตรายทางเดมื คือ สารอันตราช อย่างยาฆ่าแมลงน้ ามันเครื่ องโลหะที่สลายตัวหรื อสารปรุ งแต่ง
อาหารจานวนมากเกินพอดี อันตราย เหล่านี้อยูใ่ นทุกขั้นตอนของการเตรี ยมอาหาร
3) อันตรายทางร่ างกาย คือ วัตถุต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่ง ของอาหาร และไม่ได้จะทาเป็ นอาหารแต่
เข้าไปอยู่ในอาหารได้ด้วยสาเหตุบางอย่าง ตัวอย่างเช่ น เศย แก้วหรื อโถหะ ไม้จิ้มฟั นและเครื่ องประดับ
(ยูมิสีเวอร์ฟูดโชกูชนั่ ส์, 2556)
12
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการวิจัย

3.1 วิธีการดาเนินงาน :
รู ปภาพที่ 1 วัตถุดิบสาหรับแซนวิชทงคัตสึ

1.ขนมปังแซนด์วิช 2 แผ่น
2.ผักกาดแก้ว 50 กรัม
3.มะเขือเทศหั่นแว่น 4 ชิ้น
4.กล้วยหอม 1/2 ลูก หรื อข้าวโพด 10 กรัม
5.ไข่ไก่ 1 ฟอง
6.เกล็ดขนมปัง 100 กรัม
7.ชีสแผ่น 1 แผ่น
8.ซอสมะเขือเทศ/มายองเนส
9.น้ ามันสาหรับทอด 2 ถ้วยตวง
13
วิธีทา
STEP 1 : ทอดทงคัตสึ
รู ปภาพที่ 2 การเตรียมขนมปังห่ อไส้

1. นาขนมปังมากลึงให้บางเพื่อเตียมห่อกล้วยและข้าวโพด

รู ปภาพที่ 3 การห่ อใส้ ผลไม้

2. นากล้วยหรื อข้าวโพดที่เตรี ยมไว้มาห่อด้วยชีสและขนมปัง ชุบไข่ จากนั้นนาไปชุบเกล็ดขนมปัง


14
รู ปภาพที่ 4 การทอดทงคัตสึ

3. นาไปทอดในน้ ามันร้อน จนสี เหลืองกรอบ พักให้สะเด็ดน้ ามัน

STEP 2 : ประกอบร่ างแซนด์วิช


รู ปภาพที่ 5 การเตรียมขนมปังปิ้ ง

1. นาขนมปังที่เหลือทาเนยไปนาบบนกระทะหรื อปิ้ งด้วยเครื่ องปิ้ ง


15
รู ปภาพที่ 6 การห่ อแซนวิช

2. นาขนมปั งแซนด์วิชมาวาง ตามด้วยผักกาดแก้ว มะเขือเทศหัน่ แว่น และบีบซอสใส่ จากนั้นวางกล้วยหรื อ


ข้าวโพดทงคัตสึ ลงไป วางขนมปั งอีกชั้นตามด้วยผักกาดแก้วด้านบน และวางมะเขือเทศ จากนั้นวางกล้วย
หรื อข้าวโพดทงคัตสึ ลงไป และบีบซอสใส่ ปิ ดด้วยขนมปังแซนด์วิช
16
3.2.1 ประชากร
ประชากรในการวิจยั ครั้งนี้ได้แก่ ประชาชนในหมู่บา้ นสวัสดิการทหาร โครงการ 1 ตาบล
โพธิ์กลาง อาเภอเมืองนครราชสี มา จังหวัดนครราชสี มา จานวน 27 คน
3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนในหมู่บา้ นสวัสดิการทหาร โครงการ 1 โดย
เป็ นข้าราชการบานาญ จานวน 1 คน ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ จานวน 9 คน พนักงานเอกชนจานวน 7 คน และ
รั บจ้างทัว่ ไป จานวน 3 คน นักเรี ยน/นักศึกษา จานวน 6 คน และอื่น ๆ จานวน 1 คน รวมทั้งสิ้ น 27 คน
สถานที่ บ้านเลขที่ 50/2 และสถานที่ออกกาลังกายกลางหมู่บา้ น

3.3 เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล


เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ที่ผูว้ ิจยั สร้างขึ้นโดยมีข้ นั ตอนในการ
สร้างเครื่ องมือ ดังนี้
การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อประสิ ทธิภาพของแซนวิชทงคัตสึ ผูศ้ ึกษาได้ใช้แบบสอบถาม
(Questionnaire) เป็ นเครื่ องมือหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผูจ้ ดั เป็ นผูส้ อบถามข้อมูลจากตัวอย่าง โดย
รวบรวมผ่าน Google Form เป็ นการใช้คาถามแบบปิ ด ซึ่ งการตั้งคาถามที่เป็ นการกาหนดให้ผตู ้ อบเลือกตอบ
ตรงตามความคิ ด เห็ น ของตนเอง ผู ้ศึ ก ษาได้เ ลื อ กใช้ค าถามแบบให้ ผู ้ส อบถามสามารถเลื อ กตอบใน
แบบสอบถาม 1 ชุด ประกอบด้วย 2 ส่ วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 : ความพึงพอใจที่มีต่อประสิ ทธิภาพของแซนวิชทงคัตสึ

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4.1 แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ได้ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามต่อตวาม
พึงพอใจในรสชาติของแซนวิชทงคัตสึ จานวน 27 ชุด ซึ่งจะเก็บรวบรวมข้อมูลในแบบสอบถาม
3.4.2 แหล่ ง ข้อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ (Secondary Data) โดยค้น คว้า จากหนั ง สื อ ต าราวิ ช าการ
วิทยานิ พนธ์ และผลงานวิจยั โดยใช้ขอ้ มูลเหล่านี้ มาใช้ในการกาหนดแนวทางการศึกษาและข้อมูลจากเว็ป
ไซต์ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
17
3.4.3 ผูจ้ ัดท าโครงการแบ่งจานวนแบบสอบถามตามจานวนประชากรในหมู่บ้า นโดย
แบ่ ง เป็ น 2 สถานที่ คื อบ้า นเลขที่ 50/2 และสถานที่ ออกก าลังกายกลางหมู่บ้าน เพื่ อสะกวกต่อการเก็ บ
รวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม
3.4.4 ผูจ้ ดั ได้รวบรวมข้อมูลตามจานวนประชากรในหมู่บ้าน โดยรวบรวมผ่าน Google
Form โดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานความแตกต่าง
ของคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ สาหรับการวัดตัวแปรเกี่ยวกับความพึงพอใจในรสชาติของแซนวิชทงคัตสึ
โดยแบ่งระดับความพึงพอใจ ดังนี้
ความพึงพอใจมากที่สุด 5 คะแนน
ความพึงพอใจมาก 4 คะแนน
ความพึงพอใจปานกลาง 3 คะแนน
ความพึงพอใจน้อย 2 คะแนน
ความพึงพอใจน้อยที่สุด 1 คะแนน
ส่วนเกณฑ์การวัดความพึงพอใจของประชากรในหมู่บา้ นสวัสดิการทหาร โครงการ 1 ได้ใช้
เกณฑ์มาตรฐานเปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี่ยที่คานวณ ดังนี้
คะแนนเฉลี่ยน 4.51 – 5 หมายถึง ความพึงพอใจมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ยน 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
คะแนนเฉลี่ยน 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉลี่ยน 1.51 - 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
คะแนนเฉลี่ยน 1.00 - 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยที่สุด

4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
1.สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา คือสถิ ติที่ใช้เพื่ออธิบาย บรรยาย หรื อสรุ ป ลักษณะของกลุ่มข้อมูลที่เป็ น
ตัวเลข ที่เก็บรวบรวมมาซึ่ งไม่สามารถอ้างอิงลักษณะประชากรได้ (ยกเว้นมีการเก็บข้อมูลของประซากร
ทั้งหมด) ตัวอย่างสถิติเชิงพรรณนา เช่น การแจกแจงความถี่ การวัดค่ากลางของข้อมูล การวัดการกระจายของ
สถิติที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ
18
1. ค่าร้อยละ (Percentage)
𝑓 ×100
สูตร P=

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ
f แทน จานวนหรื อความถี่ที่ตอ้ งการหาค่าร้อยละ
n แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด
2. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean)
𝛴𝑥
𝑥̅ =
𝑁
โดย
𝑥̅ = ค่าเฉลี่ย
∑𝑥 = ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
𝑁 = จานวนข้อมูลทั้งหมด

3. การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation)


𝑛∑𝑥 2 −(∑𝑥)2
S.D. = √
𝑛(𝑛−1)
เมื่อ S.D แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
𝑥 แทน ข้อมูลแต่ละจานวน
𝑥̅ แทน ค่าเฉลี่ยของข้อมูลแต่ละจานวน
𝑛 แทน จานวนข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
19
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การจัดทาโครงการครั้ งนี้ มุ่งศึ กษาเรื่ องการทาแซนวิ ชทงคัตสึ (ผลไม้) วิทยาลัยอาชี วศึ กษาสั นติ
ราษฎร์ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิ ริโสภาพัณณวดี การวิเคราะห์ขอ้ มูล
และแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
เมื่อ
N แทน ข้อมูลของประชากร
𝑛 แทน จานวนข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
𝑥̅ แทน ค่าเฉลี่ยของข้อมูลแต่ละจานวน
S.D แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4.2 ขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลได้นาเสนอผลตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยแบ่งการนาเสนอออกเป็ นส่วน
ตามลาดับ ดังนี้
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 : ความพึงพอใจที่มีต่อประสิ ทธิภาพของแซนวิชทงคัตสึ
4.3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ตอนที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์ของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตาราง 4.1 แสดงจานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ
รายละเอียด จานวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 9 33.3
หญิง 18 66.7
รวม 27 100
จากตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะห์พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 18 คน คิดเป็ นร้อย
ละ 66.7 และเพศชาย จานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.3 ตามลาดับ
20
ตาราง 4.2 แสดงจานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ
รายละเอียด จานวน ร้อยละ
อายุ
ต่ากว่า 18 ปี 2 7.4
อายุ 20 – 30 ปี 15 55.6
อายุ 30 ปี ขึ้นไป 10 37
รวม 27 100
จาก ตารางที่ 4.2 ผล การวิ เ คราะ ห์ พ บว่ า ผู ้ ต อบแบบส อบถ ามส่ วนใหญ่ เ ป็ น อายุ 20 – 30 ปี
จานวน 15 คน คิดเป็ นร้อยละ 55.6 ช่วงอายุ 30 ปี ขึ้นไป จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 37 และอายุต่ากว่า
18 ปี จานวน 2 คนคิดเป็ นร้อยละ 7.4 ตามลาดับ

ตาราง 4.3 แสดงจานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ


รายละเอียด จานวน ร้ อยละ
นักเรี ยน/นักศึกษา 6 22.2
ราชการ/รัฐวิสาหกิจ 9 33.3
ข้าราชการบานาญ 1 3.7
พนักงานเอกชน 7 25.9
รับจ้างทัว่ ไป 3 11.1
อื่น ๆ 1 3.7
รวม 27 100
จากตารางที่ 4.3 ผลการวิเคราะห์พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีอาชีพราชการ/รัฐวิสาหกิจ จานวน
9 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.3 อาชีพพนักงานเอกชน จานวน 7 คน คิดเป็ นร้อยละ 25.9 อาชีพนักเรี ยน/นักศึกษา
จานวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 22.2 อาชี พรับจ้างทัว่ ไป จานวน 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 11.1 และน้อยที่สุดคือ
อาชีพอื่น ๆ และข้าราชการบานาญ จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 3.7 ตามลาดับ
21

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดของ


แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)
การวิเคราะห์และแปลผล โดยรวมคะแนนคาตอบแต่ละข้อในแต่ละประเด็นความคิดเห็นและนามา
กาค่าเฉลี่ยเกณฑ์วดั ผลตามระบบ like scales แบ่งเป็ น 5 ระดับ
คะแนนเฉลี่ยน 4.51 – 5 หมายถึง ความพึงพอใจมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ยน 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
คะแนนเฉลี่ยน 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉลี่ยน 1.51 - 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
คะแนนเฉลี่ยน 1.00 - 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยที่สุด
ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของปัจจัยส่วนประสม
ทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์
ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด
𝑥̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
ด้านผลิตภัณฑ์
รสชาติ 4.78 0.51 มากที่สุด
วัตถุดิบ เช่น สด ใหม่ กรอบ 4.59 0.57 มากที่สุด
รู ปลักษณ์ของอาหาร เช่น สวยงาม น่า
4.70 0.54 มากที่สุด
รับประทาน
ปริ มาณมีความเหมาะสม 4.74 0.53 มากที่สุด
บรรจุภณ ั ฑ์มีความสวยงาม 4.37 0.69 มาก
รวม 4.64 0.42 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดโครงการแซน


วิชทงคัตซึ (ผลไม้) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.42
เมื่ อ พิ จ ารณาในรายละเอี ย ดโดยเรี ย งล าดับ จากมากไปหาน้อ ย พบว่า ค่ า เฉลี่ ย สู ง ที่ สุ ด คื อ ด้า นรสชาติ
มีค่าเฉลี่ย 4.78 ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51 รองลงมาคือ ด้านปริ มาณความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 4.74
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53 และน้อยที่สุดคือบรรจุภณ ั ฑ์มีความสวยงาม มีค่าเฉลี่ย 4.37 ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.69
22
ตารางที่ 4.5 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดด้านราคา
ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด
𝑥̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
ด้านราคา
คุณภาพเหมาะสมกับราคา 4.48 0.58 มาก
ปริ มาณเหมาะสมกับราคา 4.52 0.51 มากที่สุด
รวม 4.50 0.48 มาก

จากตารางที่ 4.5 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดโครงการ


แซนวิชทงคัตซึ (ผลไม้) ด้านราคาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 ค่าส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.48 เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย พบว่า ค่าเฉลี่ยสู งที่สุดคือด้าน
ปริ มาณเหมาะสมกับราคา มีค่าเฉลี่ย 4.52 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51และรองลงมาด้านคุณภาพเหมาะสม
กับราคา มีค่าเฉลี่ย 4.48 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.58

ตารางที่ 4.6 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของของปัจจัยส่วนประสมทาง


การตลาดด้านช่องทางการจัดจาหน่าย
ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด
𝑥̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
ด้านช่ องทางการจัดจาหน่ าย
รับด้วยตนเอง เช่นนัดรับสิ นค้า 4.19 0.79 มาก
แอปพลิเคชัน่ เช่นLine Facebook IG 4.44 0.64 มาก
เดลิเวอร์รี่ เช่น Grab food , Robinhood 4.30 0.67 มาก
รวม 4.31 0.52 มาก

จากตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดโครงการแซน


วิ ช ทงคัต ซึ (ผลไม้) ด้า นช่ อ งทางการจัด จ าหน่ า ย โดยภาพรวมอยู่ใ นระดับ มาก มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 4.31
ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52 เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย พบว่า ค่าเฉลี่ย
สู ง ที่ สุ ด คื อ ด้า นแอปพลิ เ คชั่น เช่ น Line Facebook IG มี ค่ า เฉลี่ ย 4.44 ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.64
รองลงมาคื อ ด้า นเดลิ เวอร์ รี่เ ช่ น Grab food , Robinhood มี ค่าเฉลี่ ย 4.30 ค่าส่ วนเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.67
และน้อยที่สุด คือด้านรับด้วยตัวเอง เช่น นัดรับสิ นค้ามีค่าเฉลี่ย 4.19 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79
23
ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ด้านการส่งเสริ มการตลาด
ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด
𝑥̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
ด้านการส่ งเสริมการตลาด
การส่งเสริ มการขาย เช่น ลดราคา แถม 4.48 0.64 มาก
สั่งจองสิ นค้าล่วงหน้า 4.33 0.78 มาก
รวม 4.41 0.59 มาก

จากตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดโครงการแซน


วิ ช ทงคัต ซึ (ผลไม้) ด้า นการส่ ง เสริ ม การตลาด โดยภาพรวมอยู่ ใ นระดับ มาก มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 4.41
ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.59 เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อยพบว่าค่าเฉลี่ย
สู ง ที่ สุ ด คื อ ด้า นการส่ ง เสริ ม การขาย เช่ น ลดราคา แถมมี ค่ า เฉลี่ ย 4.48 ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.64
และรองลงมาคือด้านสั่งจองสิ นค้าล่วงหน้า มีค่าเฉลี่ย 4.33 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.78
24
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ
การศึกษาโครงการแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้) ได้วิเคราะห์ขอ้ มูล และนาข้อมูลดังกล่าวมาสรุ ป อภิปราย
ผลและข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้

5.1 สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ ข้อมูลปัจจัยส่ วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ ผู ้ต อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ เ ป็ นเพศหญิ ง จ านวน 18 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 66.7
และเพศชาย จานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.3
2. อายุ ผู ้ต อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ เ ป็ นอายุ 20 – 30 ปี จ านวน 15 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 55.6
ช่วงอายุ 30 ปี ขึ้นไป จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 37 และอายุต่ากว่า 18 ปี จานวน 2 คนคิดเป็ นร้อยละ 7.4
3. อาชีพ ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีอาชีพราชการ/รัฐวิสาหกิจ จานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ
33.3 อาชี พ พนัก งานเอกชน จ านวน 7 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 25.9 อาชี พ นัก เรี ย น/นัก ศึ ก ษา จ านวน 6 คน
คิ ดเป็ นร้ อยละ 22.2 อาชี พ รั บ จ้า งทั่วไป จานวน 3 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 11.1 และน้อยที่ สุ ดคืออาชี พอื่ น ๆ
และข้าราชการบานาญ จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 3.7

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ ค่าเฉลีย่ และค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่ วนประสมของโครงการ


แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)
1. ด้านผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดของโครงการแซนวิชทงคัตสึ
(ผลไม้) โดยภาพรวมอยู่ ใ นระดับ มากที่ สุ ด มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 4.64 ค่ า ส่ ว นเบี่ ย ง เบนมาตรฐาน 0.42
เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย พบว่า ค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือด้านรสชาติ มีค่าเฉลี่ย
4.78 ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.51 รองลงมาคื อ ด้ า นปริ มาณความเหมาะสม มี ค่ า เฉลี่ ย 4.74
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53 และน้อยที่สุดคือบรรจุภณ ั ฑ์มีความสวยงาม มีค่าเฉลี่ย 4.37 ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.69
2. ด้านราคา ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดของโครงการแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)
โดยภาพรวมอยู่ ใ นระดับ มาก มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 4.50 ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.48 เมื่ อ พิ จ ารณา
ในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย พบว่า ค่าเฉลี่ยสู งที่สุดคือด้านปริ มาณเหมาะสมกับราคา
มีค่าเฉลี่ย 4.52 ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51และรองลงมาด้านคุณภาพเหมาะสมกับราคา มีค่าเฉลี่ย 4.48
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.58
25
3.ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดของโครงการแซน
วิชทงคัตสึ (ผลไม้) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52
เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย พบว่า ค่าเฉลี่ยสู งที่สุดคือด้านแอปพลิเคชัน่ เช่น
Line Facebook IG มีค่าเฉลี่ย 4.44 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.64 รองลงมาคือด้านเดลิเวอร์รี่เช่น Grab food
, Robinhood มี ค่ า เฉลี่ ย 4.30 ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 0.67 และน้อ ยที่ สุ ด คื อ ด้า นรั บ ด้ว ยตัว เอง เช่ น
นัดรับสิ นค้ามีค่าเฉลี่ย 4.19 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79
4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดของโครงการแซน
วิชทงคัตสึ (ผลไม้) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.59
เมื่อพิจารณาในรายละเอียดโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อยพบว่าค่าเฉลี่ยสู งที่สุดคือ ด้านการส่ งเสริ มการ
ขาย เช่นลดราคา แถม มีค่าเฉลี่ย 4.48 ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.64 และรองลงมาคือด้านสั่งจองสิ นค้า
ล่วงหน้า มีค่าเฉลี่ย 4.33 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.78
5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง
เนื่องจากการนากล้วยและข้าวโพดมาทอดแบบทงคัตสึ โดยการชุบแป้งทอดจะทาให้วตั ถุดิบเสี ย
รสชาติ และข้าวโพดไม่สามารถทอดได้โดยตรง ทางผูจ้ ดั ทาจึงนาวัตถุดิบมาห่ อด้วยขนมปังก่อนนาไปชุบไข่
ชุบแป้งทอด ทาให้ได้รูปร่ างที่สวยงามและรสชาติของวัตถุดิบยังคงอยู่
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีความสวยงามมากขึ้นเห็นควรปรับปรุ งกล่องบรรจุภณ ั ฑ์ให้เหมาะสมกับขนาด
ของผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าของแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)
26
บรรณานุกรม
https://physicslek.wordpress.com/2011/06/14/brief-history-of-tonkats/
https://www.calforlife.com/th/calories/banana
https://www.calforlife.com/th/calories/corn-sweet-yellow-raw
https://food.trueid.net/detail/ykWgQrz4R7Pk
https://www.japankakkoii.com/japanese-food/tonkatsu-recipe/

https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKE
wjdyZH57c_6AhV66jgGHVJyCsEQFnoECA4QAQ&url=http%3A%2F%2Flibdoc.dpu.ac.th%2Fthesis%2
FSupatra.Kon.pdf&usg=AOvVaw04ozhkXe6siNsBdOriyPdB)
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก.
วัตถุดิบและขั้นตอนการทา

วัตถุดิบสาหรับแซนวิชทงคัตสึ

ขั้นตอนที่ 2 การห่ อไส้ ผลไม้


ขั้นตอนที่ 3 การทอดทงคัตสึ

ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมขนมปังปิ้ ง
ขั้นตอนที่ 5 การห่ อแซนวิช
ภาคผนวก ข.
แบบประเมินความพึงพอใจ ข้ อมูลเกีย่ วกับความพึงพอใจใน “แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)”
รู ปภาพประกอบการแจกแบบสอบถาม
รู ปผลการวิเคราะห์ แบบสอบถาม
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
เรื่ อง โครงงานแซนวิชทงคัตซึ (ผลไม้)

แบบประเมินผลนี้ ทาขึน้ เพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มที่ได้ ทดลองชิมแซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)

คาชี้แจง : แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 2 ตอน ดังนี้


ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยประชากรศาสตร์ของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในอาหารแซนวิชทงคัตสึ
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยประชากรศาสตร์ของผูต้ อบแบบสอบถาม
1. เพศ
ชาย หญิง อื่น ๆ
2. อายุ
ต่ากว่า 18 ปี อายุ 19 – 30 ปี
มากกว่า 30 ปี ขึ้นไป
3. อาชีพ
นักเรี ยน/นักศึกษา ราชการ/รัฐวิสาหกิจ ข้าราชการบำนาญ
พนักงานเอกชน รับจ้างทั่วไป อื่น ๆ
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในอาหารแซนวิชทงคัตสึ
ความพึงพอใจ
รายละเอียด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยที่สุด
5 4 3 2 1
ด้านผลิตภัณฑ์
1. รสชาติอร่ อย
2. วัตถุดิบ เช่น สด ใหม่ กรอบ
3. รู ปลักษณ์ของอาหาร เช่น สวยงาม น่ารับประทาน
4. ปริ มาณมีความเหมาะสม
5. บรรจุภณ ั ฑ์มีความสวยงาม
ด้านราคา
6. ปริ มาณเหมาะสมกับราคา
7. คุณภาพมีความเหมาะสมกับราคา
ด้านช่ องทางการจัดจาหน่ าย
8. รับด้วยตนเอง เช่น นัดรับสินค้า
9. แอปพริ เคชัน่ เช่น Line facebook IG
10. เดลิเวอร์รี่ เช่น Grab foods Robinhood
ด้านการส่ งเสริมการตลาด
11. การส่งเสริ มการขาย เช่น ลดราคา แถม
12. สั่งจองสิ นค้าล่วงหน้า
รู ปภาพประกอบ การแจกแบบสอบถามประเมินความพึง่ พอใจ โครงการ “แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)”
รู ปภาพประกอบ การแจกแบบสอบถามประเมินความพึง่ พอใจ โครงการ “แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)”
รู ปภาพประกอบ การแจกแบบสอบถามประเมินความพึง่ พอใจ โครงการ “แซนวิชทงคัตสึ (ผลไม้)”
รู ปผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ตาราง 4.4 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์
ตาราง 4.5 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางการตลาดด้านราคา
ตาราง 4.6 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางการตลาดด้านช่องทางการจัดจาหน่าย
ตาราง 4.7 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทางการตลาดด้านการส่งเสริ มการตลาด
ประวัติผ้ จู ัดทา

ชื่ อ – นามสกุล นางสาวชนิดาภา นาเมืองรักษ์ เลขประจาตัว 65728


วัน เดือน ปี เกิด วันที่ 11 กันยายน 2535
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นสู ง ชั้นปี ที่ 2
สาขา การบัญชี (ภาคสมทบ)
สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาสั นติราษฏร์ ในพระอุปถัมภ์ ฯ

You might also like