You are on page 1of 48

โครงการการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีผลต่อนักศึกษาฝึกงาน

บริษัท LAZADA
(Project to study the impact of the COVID-19 situation that affects
students interns at LAZADA)

ผู้จัดทำโครงการ
นายสรวิชญ์ เครือวัลย์ ระดับชั้น ปวส. 2/1
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์

ที่ปรึกษาโครงการ
นายวีรพล อิม่ กลิ่น ตำแหน่ง Dispatcher
นางสาวนิภาพร รักษาวงศ์ ตำแหน่ง ครูพิเศษสอน

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564


สาขางานการจัดการคลังสินค้า สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
วิทยาลัยเทคนิคระยอง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีผลต่อนักศึกษาฝึกงาน
บริษัท LAZADA
(Project to study the impact of the COVID-19 situation that affects
students interns at LAZADA)

ผู้จัดทำโครงการ
นายสรวิชญ์ เครือวัลย์ ระดับชั้น ปวส. 2/1
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์

ที่ปรึกษาโครงการ
นายวีรพล อิม่ กลิ่น ตำแหน่ง Dispatcher
นางสาวนิภาพร รักษาวงศ์ ตำแหน่ง ครูพิเศษสอน

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564


สาขางานการจัดการคลังสินค้า สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
วิทยาลัยเทคนิคระยอง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ชื่อโครงการ : การศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ของนักศึกษาฝึกงาน


บริษัท LAZADA
คณะชื่อนักศึกษา : นายสรวิชญ์ เครือวัลย์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ นิภาพร รักษาวงศ์
ภาควิชา : การจัดการโลจิสติกส์

บทคัดย่อ
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ของนักศึกษาฝึกงาน
บริ ษ ั ท LAZADA เพื ่ อ ลดการแพร่ ร ะบาดโรควิ ด -19 ภายในบริ ษ ั ท ลาซาด้ า เอ็ ก เพรส จำกั ด จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 (โควิด-19) ทำให้ผู้คนเกิดความวิตกกังวลไปทั่วโลก มีการปิด
เมือง ปิดประเทศ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค สนามบิน เงียบเหงา สถานที่ท่องเที่ยวแทบร้าง
ผู้คน หลายธุรกิจได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม จนต้อง ลดพนักงาน เลิกจ้าง หรือปิดตัวเองลง
ผู้คนไม่จำเป็นก็ไม่ออกนอกบ้าน ไม่กล้าอยู่ในที่คนพลุกพล่าน และคอยติดตามข่าวสารเพื่ออัพเดทการแพร่
ระบาดของไวรัสตัวนี้ ซึ่งข้อมูลที่ได้รับนั้นก็มีทั้งจริงและ ปลอมปะปนกัน หรือบางข้อมูลที่เราเคยยึดถือเป็น
แนวทางในการป้องกันการติดเชื้อ ก็อาจต้อง ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ขึ้น เช่น การใช้ช้อนกลาง
ตักอาหารก็มีโอกาสเสี่ยงติดเชื้อจากการ สัมผัสช้อนร่วมกันได้ ต้องเปลี่ยนมากินร้อน ช้อนใครช้อนมัน และ
หมั่นล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ

กิตติกรรมประกาศ
การจัดทำโครงการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ของนักศึกษาฝึกงานบริษั ท
LAZADA สามารถสำเร็จลุล่วงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จำกัด ซึ่งข้าพเจ้าได้
ออกปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จนถึงวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2564 และได้จัดทำ
โครงการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ของนักศึกษาฝึกงานบริษัท LAZADA ทำให้ข้าพเจ้า
ได้สัมผัสถึงประสบการณ์การทำงานที่ แท้จริง ได้ฝึกการทำงานอย่างเป็นระบบ ตามแผนที่วางไว้และรู้จั ก
การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่ เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อขณะทำงาน ได้ความรู้การปฏิบัติงานและการศึกษางานที
ยังไม่มีประสบการณ์มาก่อน ทั้งนี้เป็นผลอันเนื่องมาจากความร่วมมือในการให้คำปรึกษา และชี้แนะแนว
ทางการปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้แก่ข้าพเจ้าได้เข้าใจด้วยความดูแลเอาใจใส่ของพนักงานและนักศึกษาฝึกงาน
ทุก ๆ ท่านในบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จำกัด ดังนั้นข้าพเจ้าจึงขอระบุรายนามผู้ที่ให้ความอนุเคราะห์ต่อ
ข้าพเจ้าตลอด ระยะเวลาการปฏิบัติงานในโครงการครั้งนี้ได้แก่
1. นายวีรพล อิ่มกลิ่น ตำแหน่ง Dispatcher
2. นางสาวภัสสรา ยงสวัสดิกลุ ตำแหน่ง หัวหน้าแผนก
และรวมถึงบุคคลท่านอื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามทุกท่านที่ได้แนะนำและช่วยในการจัดทำ โครงการ
รวมไปถึง อาจารย์ นิภาพร รักษาวงศ์ ที่ให้คำปรึกษาในการทำโครงงานเล่มนี้ขึ้นมาจนเสร็จ สมบูรณ์
ตลอดจนการดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตการทำงานที่แท้จริง ข้าพเจ้าขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้

สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญ(ต่อ) ง
สารบัญตาราง จ
สารบัญภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1
1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
1.5 นิยามศัพท์ 2
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 โรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4-6
2.2 แนวคิดผลกระทบการฝึกงานของนักศึกษา 6
2.3 แผนผังสาเหตุและผล หรือแผนภูมิก้างปลา (Fishbone Diagram) 6-10
2.5 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง 10-12
บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงการ
3.1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 13
3.2 ศึกษาขั้นตอนในการปฏิบัติงาน 14
3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 16
3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 16-17
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล 17
3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล 18-19
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
4.1 ศึกษาระบบการทางาน 20-21
4.2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้แผนผังก้างปลา 21-22
4.3 ผลการปรับปรุงวิธีการดาเนินงานการทาแบบสอบถาม
ผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด19 22-23

สารบัญ(ต่อ)
เรื่อง หน้า
4.4 ผลการประเมินแบบสอบถาม 24-26
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา
5.1 สรุปผลการศึกษา 27-28
5.2 อภิปรายผลการศึกษา 28-29
5.3 ข้อเสนอแนะ 29-30
บรรณานุกรม 31
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบเสนอขออนุมัติโครงการ
ภาคผนวก ข ภาพถ่ายขณะปฏิบัติงาน
ภาคผนวก ค แบบประเมินความพึงพอใจ
ภาคผนวก ง เอกสารประกอบการนาเสนอ

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงเพศของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม 24
ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม 24
ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) จานวนและร้อยละ
ของความรู้ทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 24

สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 2.1 โครงสร้างของผังก้างปลา 8
ภาพที่ 2.2 ส่วนประกอบของผังก้างปลา 9
ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินงาน 16
ภาพที่ 4.1 แผนผังแสดงขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ 20
ภาพที่ 4.2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้ผังก้างปลา 21
ภาพที่ 4.3 แบบประเมินผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 23
1

บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของโครงกำร
บริษัท ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส จากัด เป็นธุรกิจขนส่งสินค้า เป็นบริษัทในเครือลาซาด้าที่จัดตั้งขึ้น
เพื่อดาเนินการจัดการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การรับสินค้าจากผู้ประกอบการหรือจุดบริการรับ
สินค้า (Drop-off Point) ที่มีอยู่กว่า 800 แห่งทั่วประเทศไปยังศูนย์คัดแยกสินค้า ตลอดจนการขนส่งจาก
ศู น ย์ คั ด แยกสิ น ค้ า ไปยั ง จุ ด หมายปลายทาง โดยมี เ ป้ า หมายส าคั ญ เพื่ อ อ านวยความสะดวกของ
ผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่สั่งซื้อสินค้าผ่านช่องทางอีคอมเมิร์ซโดยอาศัยนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้ าง
ประสิทธิภาพ และช่วยลดต้นทุน และในจังหวัดระยองก็มีศูนย์กระจายสินค้า ลาซาด้าระยองอีกด้วย
แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้ส่งผลกระทบอย่าง
รุนแรงต่อเศรษฐกิจไทย ส่งผลต่อการฝึกงานของนักศึกษา และความปลอดภัยของนักศึกษาในการฝึกงาน
โดยมีมาตรการชะลอการฝึกงานเพื่อให้นักศึกษาไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อในการทางาน และเพื่อรับมือกับ
สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ทาให้การดาเนินโครงการถูกผลกระทบอย่างมาก เพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
จึงมีการป้องกันตนเองในมาตรการของสถานศึกษา และศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ใน
การฝึกปฏิบัติงาน
ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ทาโครงการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีผลต่อนักศึกษา
ฝึกงานบริษัท LAZADA เพื่อเสนอแนวทางการปรับเปลี่ยน และพัฒนาภารกิจด้านต่าง ๆ ของนักศึกษา
และเพื่อศึกษาผลกระทบที่ได้รับจากการฝึกงานครั้งนี้อีกด้วย

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงกำร
1.2.1 เพื่อประเมินผลกระทบของโควิด-19 ต่อการฝึกงานของนักศึกษา ทั้งด้านบวก และด้านลบ
1.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาการปรั บ ตั ว กั บ การด าเนิ น วิ ถี ชี วิ ต ใหม่ (New Normal Behavior) หลั ง จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักศึกษาฝึกงาน
2

1.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ปัญหาและบรรเทาผลกระทบการฝึกงานจากสถานการณ์การ
แพร่ ร ะบาดของโรคอุ บั ติ ใ หม่ ไ วรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ เ หมาะสมกั บ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก งาน
วิทยาลัยเทคนิคระยอง

1.3 ขอบเขตของโครงกำร
1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหาศึกษาผลกระทบการฝึกงานจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) การปรับตัวกับการดาเนิน วิถีชีวิตใหม่ (New Normal Behavior) หลังจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดจนแนวทางในการ
แก้ปัญหาและบรรเทาผลกระทบ การฝึกงานของนักศึกษาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบัติ
ใหม่ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ที่เหมาะสมกับนักศึกษาฝึกงานบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด
1.3.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาฝึกงานในบริษัทลาซาด้าเอ็กเพรส
จานวน 4 คน และพนักงานจัดส่งสินค้า จานวน 6 คน
1.3.3 ขอบเขตด้านสถานที่ บริษัทลาซาด้าเอ็กเพรส จากัด
1.3.4 ขอบเขตด้านเวลา ตั้งแต่ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 - 10 กันยายน พ.ศ. 2564

1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.4.1 เพื่อที่จะได้ทราบถึงผลกระทบต่อการฝึกงานของนักศึกษา
1.4.2 เพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น อย่างทันท่วงที

1.5 นิยำมศัพท์
1.5.1 โรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมายถึง ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
เป็นตระกูลของไวรัสที่ก่อให้อาการป่วยตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดา ไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น
โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
3

(SARS-CoV) เป็นต้น ซึ่งเป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ก่อให้เกิดอาการป่ วยระบบ ทางเดิน


หายใจในคน และสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้
1.5.2 ผลกระทบทางเศรษฐกิจ หมายถึง ผลจากการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา
2019 OVID-19) ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการประกอบอาชีพ รายได้รายจ่าย หนี้สินและ การออม
ของประชาชน นาไปสู่ การพยายามปรับสภาพปัญ หาหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิ ดขึ้น จากผลกระทบ
ดังกล่ าว และพยายามปรับเปลี่ ย นพฤติก รรมของผู้ไ ด้รับผลกระทบให้ เข้ ากั บสภาพ ทางเศรษฐกิ จ ที่
เปลี่ยนแปลงไป
1.5.3 ผลกระทบทางสังคม หมายถึง ผลจากการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ที่ ท าให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงในวิ ถีชี วิ ต ทางด้ า นวั ฒ นธรรม ประเพณี กิ จ กรรมทางสังคม
การศึกษาและการเรียนรู้ การเฉลิมฉลองเทศกาลต่าง ๆ การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ตามความเชื่อ
การสาธารณสุข (ดูแลสุขภาพ) และการบริโภค การเดินทาง เป็นต้น น าไปสู่ การพยายามปรับสภาพ
ปัญหาหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากผลกระทบดังกล่าว และพยายาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้
ได้รับผลกระทบให้เข้ากับสภาพทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
1.5.4 การฝึกงาน หรือเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า Internship (อินเทิร์นชิพ) หมายถึง การนา
ทักษะและวิชาที่ได้เรียนรู้มาในระดับชั้นมหาวิทยาลัยไปใช้จริงในสภาพแวดล้อมจริงในการทางาน โดยการ
เข้าไปหาประสบการณ์ตรงจากบริษัทที่เปิดทาการอยู่จริง เรียนรู้งานจากรุ่นพี่ในบริษัทที่มีประสบการณ์
ทางานจริงมาแล้ว เพื่อให้เสริมสร้างทักษะและเรียนรู้ถึงชีวิตในการทางานจริงๆนั่นเอง ทั้งหมดนี้เพื่อเป็น
การเตรียมพร้อมให้นักศึกษาพร้อมที่จะออกไปทางานในชีวิตจริงด้วยตนเอง
4

บทที่ 2
เอกสำรและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
เพื่อเป็นแนวทางการจัดทาโครงการครั้งนี้ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสาร และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ต่างๆ ดังนี้
2.1 โรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2.2 แนวคิดผลกระทบการฝึกงานของนักศึกษา
2.3 แผนผังแสดงสาเหตุและผล หรือผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 โรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19)
กรมควบคุ ม โรค (2563) ได้ อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ โรคอุ บั ติ ใ หม่ ไ วรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่
ประกอบด้วยลักษณะของโรค อาการของผู้ป่วย การรักษา ลักษณะของเชื้อไวรัส การป้องกันตนเอง และ
การแพร่กระจายของเชื้อ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 เป็นตระกูลของไวรัสที่
ก่อให้อาการป่วยตั้งแต่โรคไข้หวัด ธรรมดาไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ
ตะวันออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) เป็นต้น ซึ่ง
เป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบ มาก่อนในมนุษย์ก่อให้เกิดอาการป่วยระบบทางเดินหายใจในคน และ
สามารถแพร่เชื้อจากคนสู่ คนได้ โดยเชื้อไวรัสนี้พบครั้ งแรกในการระบาดในเมื อ งอู่ ฮั่น มณฑลหูเป่ย์
สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019
1.อำกำรของผู้ป่วยไวรัสโคโรนำสำยพันธุ์ใหม่ 2019
อาการทั่วไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ หายใจถี่ หายใจลาบาก ในกรณี ที่อาการ
รุนแรงมาก อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชีวิต
2.กำรรักษำผู้ป่วยไวรัสโคโรนำสำยพันธุ์ใหม่ 2019
การรักษาแบบประคับประคองเพื่อบรรเทาอาการป่วยต่าง ๆ โดยปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรค
5

3.ลักษณะของเชื้อไวรัส
ระยะเวลาการมีชีวิตอยู่ของเชื้อในสิ่งแวดล้อม เช่น บนสิ่งของ อาหาร ยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน ว่า
ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 อยู่บนพื้นผิวได้นานเพียงใด ขณะที่ข้อมูลเบื้องต้นแสดงให้เห็นว่า ไวรัส
อาจอยู่รอดได้ในไม่กี่ชั่วโมง โดยน้ายาฆ่าเชื้อสามารถฆ่าเชื้อไวรัสไม่ให้สามารถแพร่เชื้อได้
4.ควำมรุนแรงของเชื้อไวรัสโคโรนำสำยพันธุ์ใหม่ 2019
เมื่อเทียบกับไวรัสโคโรนาสายพันธุ์อื่น ๆ นั้น ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 มีอาการ
คล้ายไข้หวัด อาการทางเดินหายใจ เช่น มีไข้ ไอ มีน้ ามูก ในผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการรุนแรง ท าให้เกิด
ภาวะแทรกซ้ อ น เช่ น ปอดบวม ปอดอั ก เสบ ไตวาย หรื อ อาจเสี ย ชี วิ ต แม้ ว่ า อาการ หลายอย่ า งจะ
คล้ายคลึง แต่เนื่องจากเกิดจากเชื้อไวรัสที่แตกต่างกัน จึงเป็นเรื่องยากที่จะสามารถระบุโรคตามอาการ
เพียงอย่างเดียว จึงต้องอาศัยการทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันเชื้อ
5.กำรแพร่กระจำยของเชื้อ
ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 มีความเป็นไปได้ที่มีสัตว์เป็นแหล่งรังโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจาย
ผ่าน การสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ ผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ามูก น้าลาย ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐาน
สนับสนุนการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางการพื้นผิวสัมผัสที่มีไวรัสแล้วมาสัมผัส ปาก จมูกและตา สามารถ
แพร่เชื้อผ่านทาง Fexo-oral route ได้ด้วย
6.กำรป้องกันตนเอง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดผู้มีอาการป่วย รักษาระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร หลีกเลี่ยง การสัมผัส
บริเวณตา จมูกและปาก โดยไม่ได้ล้างมือ ควรล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน้าและสบู่ หรือน้ายา แอลกอฮอล์ล้าง
มือ 70% หากมีไข้ ไอ หายใจลาบาก ให้ไปพบแพทย์ทันที และแจ้งประวัติการเดินทาง
เมื่อมีอาการป่วยควรป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น โดยควรพักอยู่ที่บ้าน ปิ ดปากและ จมูก
ด้วยทิชชูทุกครั้งที่ไอหรือจาม และทิ้งลงถังขยะ ทาความสะอาดและทาลายเชื้อตามวัสดุสิ่งของ และ
ผิวสัมผัสต่าง ๆ และหากสงสัยว่ามีอาการป่วยจากไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยเฉพาะ ผู้ป่วยสงสัย
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 จะมีอาการไข้ ร่วมกับ อาการทางเดินหายใจ เช่น ไอจาม มี
น้ามูก เหนื่อยหอบ และมีประวัติเดินทางไปยังประเทศจีน ภายใน 14 วันก่อนเริ่ม มีอาการ หากมีอาการ
6

และประวัติเดินทางดังกล่าว ควรรีบไปพบแพทย์ พร้อมแจ้งประวัติการเดินทาง เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย


และรักษาต่อไป
ชนิดของหน้ากากอนามัยที่สามารถป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาได้นั้น หากบุคคลที่ไม่มี อาการ
ระบบทางเดินหายใจ ไม่จาเป็นต้องสวมหน้ากากอนามัย (Surgical Mask) เนื่องจากไม่มีหลักฐานแสดงถึง
การป้องกันบุคคลที่ไม่ป่วย อย่างไรก็ตามอาจสวมใส่หน้ากากอนามัย ในประเทศที่มี ความเสี่ยง หรือเมื่อ
อยู่ในที่ชุมชนที่มีคนจานวนมากเพื่อป้องกันตัวเอง ส่วนบุคคลที่มีอาการระบบ ทางเดินหายใจควรสวม
หน้ากากอนามัย (Surgical Mask) และไปพบแพทย์ หากมีไข้ ไอ และหายใจ

2.2 แนวคิดผลกระทบกำรฝึกงำนของนักศึกษำ
ในปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคไวรัส COVID-19 ยังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงส่งผลกระทบหลาย
ด้านไม่ว่าจะเป็นการค้า การท่องเที่ยว และการให้บริการหลายๆด้านร่วมทั้งบริการทางด้านจัดส่งสินค้า
ให้กับลูกค้า ผลกระทบนี้ได้ส่งผลกับตัวนักศึกษาที่ได้รับการฝึกงานที่บริษัท ลาซาด้า เอ็กเพรส อีกด้วย
เนื่องจากการบริการส่งสิ นค้ามีความเสี่ยงในการส่งของให้กับลูกค้าในหลายพื้นที่ ร่วมถึงพื้นที่เสี่ยง และ
ใกล้ชิดกับผู้คนเป็นจานวนมากในหลายพื้นที่ จึงเป็นอันตรายต่อตัวนักศึกษาในการฝึกงาน เพื่อป้องกัน
นักศึกษาจากโรคระบาดนี้ ส่งผลกระทบให้นักศึกษาต้องทาการชะลอการฝึกงาน เพื่อความปลอดภัยต่อตัว
นักศึกษา อาจจะทาให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์ได้ไม่เต็มที่มากพอ

2.3 แผนผังแสดงสำเหตุและผล หรือผังก้ำงปลำ (Fish Bone Diagram)


ผังก้างปลา (Fishbone diagram) เป็นผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุของ
ปัญหา ทั้งหมด ชื่อเรียกผังก้างปลานี้เนื่องจากเป็นผังที่มีลักษณะคล้ายปลาที่ประกอบด้วย หัวปลา โครง
ร่างกระดูก แกนกลาง และก้างปลา โดยระบุปัญหาที่หัวปลา ระบุสาเหตุหลักของปัญหาเป็นลูกศรเข้าสู่
กระดูกแกนกลาง และระบุสาเหตุย่อยที่เป็นไปได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหานั้นเป็นลูกศรเข้ าสู่สาเหตุ
หลัก นอกจากนี้ ผังก้างปลามีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แผนผังอิชิกาว่า (Ishikawa Diagram)
7

เมื่อไหร่จึงจะใช้ผังก้ำงปลำ
1. เมื่อต้องการค้นหาสาเหตุของปัญหา ซึ่งปัญหาหนึ่งอาจมีปัจจัยหรือสาเหตุที่เกี่ยวข้องหลาย
ปัจจัย
2. เมื่อต้องการใช้ระดมความคิด เพื่อให้สมาชิกของกลุ่มร่วมกันหาสาเหตุของปัญหาที่ระบุไว้ที่หัว
ปลา
วิธีกำรสร้ำงผังก้ำงปลำ
1. กาหนดหรือเขียนปัญหาที่หัวปลาทางด้านขวาของแผนภาพ ควรกาหนดให้ชัดเจน มีความ
เป็นไปได้ ซึ่งหากเรากาหนดประโยคปัญหานี้ไม่ชัดเจนตั้งแต่แรก จะทาให้ต้องใช้เวลามากในการค้นหา
สาเหตุ และจะใช้ เวลานานในการทาผังก้างปลา
2. เขียนสาเหตุหรือปัจจัยหลักๆ ซึ่งอาจมีหลายสาเหตุไว้ที่ปลายก้างปลาแต่ละก้าง โดยสาเหตุ
หรือ ปัจจัยนั้นสามารถที่จะช่วยให้เราแยกแยะและกาหนดสาเหตุต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ และเป็นเหตุ
เป็นผล ซึ่ง สาเหตุหรือปัจจัยหลักๆ อาจเปลี่ยนแปลงไปขึ้นกับบริบทของปัญหา เช่น
- 4M 1E (Man Machine Material Method Environment)
- 4P (Place Procedure People Policy)
- 4S (Surrounding Supplier System Skill)
3. เขียนสาเหตุย่อยต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบในแต่ละสาเหตุหรื อปัจจัยหลักไว้ที่ก้างปลาย่อย
หากมีสาเหตุย่อย ๆ อีกก็จะเขียนไว้ที่ก้างปลาย่อยที่เกี่ยวข้อง โดยอาจใช้คาถามทาไม หลายๆ ครั้งในการ
เขียนแต่ละก้างปลาย่อย
4. เมื่อสิ้นสุดคาถามแล้ว จึงขยับไปที่ก้างต่อๆ ไป จนกว่าจะได้ผังก้างปลาที่สมบูรณ์
5. เมื่อทาผังก้างปลาเรียบร้อยแล้ว ก่อนที่จะนาผังก้างปลาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ควรตรวจทานดู
ว่าการเขียนเหตุผลบนผังมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ โดยให้ทดลองอ่านจากก้างที่เล็กที่สุด ไปยังก้างที่ใหญ่
ที่สุดจนกระทั่งถึงหัวปลา
8

ผังก้ำงปลำประกอบด้วยส่วนต่ำงๆดังต่อไปนี้
ส่วนปัญหาหรือผลลัพธ์ (Problem or Effect) ซึ่งจะแสดงที่หัวปลา
ส่วนสาเหตุ (Causes) จะสามารถแยกย่อยออกได้อีกเป็น
ซึ่งสาเหตุของปัญหา จะเขียนไว้ในก้างปลาแต่ละก้าง ก้านย่อยเป็นสาเหตุของก้านรอง ละก้างรอง
เป็นสาเหตุของก้างหลัก เป็นต้น

ภาพที่ 2.1 โครงสร้างของผังก้างปลา


ที่มา : ผู้ศึกษา
9

ภาพที่ 2.2 ส่วนประกอบของผังก้างปลา


ที่มา : ผู้ศึกษา

ข้อดีและข้อเสียของผังก้ำงปลำ
ข้อดี
1. ไม่ต้องเสียเวลาแยกความคิดเห็นต่างๆที่กระจัดกระจายแต่ละสมาชิก แผนภูมิก้างปลาจะชวน
รวบรวมความคิดของสมาชิกในทีม
2. ทาให้ทราบสาเหตุหลัก ๆ และสาเหตุย่อย ๆ ของปัญหา ทาให้เราทราบสาเหตุที่แท้จริงของ
ปัญหา ซึ่งทาให้เราสารถแก้ปัญหาได้ถูกวิธี
10

ข้อเสีย
1.ความคิดไม่อิสระต่อเนื่องจากแผนภูมิก้างปลาเป็นตัวกาหนด ซึ่งความคิดเห็นของสมาชิกในทีม
จะมารวมอยู่ที่แผนภูมิก้างปลา
2. ต้องอาศัยความสามารถสูง จึงจะสามารถใช้แผนภูมิก้างปลาในการระดมความคิดสาหรับ ใช้
เครื่องมือแก้ไขปัญหายังไม่จบแค่นี้ ยังมีอีกหลายเครื่องมือน่าสนใจ ขึ้นอยู่กับเราต้องดูประเภทของปัญหา
ว่า เหมาะสมกับการใช้เครื่องมือชนิดใด ที่จะแก้ไขและได้ผลที่สุด ผมจะยังเสนอเครื่องมืออีกเรื่ อย ๆ
เพื่อให้ทุกคนเข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้ถูกต้อง ทั้งนี้ต้องขอขอบคุณครูอาจารย์ทุกท่าน ที่ได้สั่งสอนวิชา
ต่าง ๆ ทาให้เกิดปัญญาในการเรียนรู้มากขึ้น

2.4 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโรค อุบัติใหม่
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังมีไม่มากนักสามารถสรุปได้ ดังนี้ พงษ์มนัส ดีอด (2563) ได้ศึกษา
ผลกระทบของการแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อการประกอบอาชีพบริก ารจั ดส่งอาหาร มี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.) ศึกษาสภาพการทางานของ ผู้บริการ ส่งอาหารในสภาวะการเกิดการแพร่
ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตกรุงเทพมานครและ ปริมณฑล 2.) ศึกษาความคิดเห็นต่อมาตรการของ
รัฐบาลและความวิตกกังวลของผู้บริการ ส่งอาหาร ในสภาวะการเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019
โดยผลการวิจัยในประเด็นแรกพบว่า สภาพการทางานในสภาวะการเกิดโรคระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง กล่าวคือ ผู้ให้บริการส่งอาหารไปยังที่พักยังสามารถที่จะปรับตัวต่อการ
เกิดการแพร่ระบาดไวรัส โคโรนา 2019 ได้ เนื่องมาจากตัวผู้ให้บริการส่งอาหารไปยังที่พักเอง มีการ
ป้องกันตัวเองเพื่อไม่ให้ มีการติดต่อของโรคระบาด และทางบริษัทมีมาตรการป้องกันต่าง ๆ ออกมา
ช่วยเหลือ เช่น ให้เว้น ระยะและเลี่ยงการสัมผัส เป็นต้น ส่งผลให้การบริการส่งอาหารไปยังที่พักยังคงที่จะ
ดาเนินการ ประกอบอาชีพต่อไปได้เป็นจานวนมาก ต่อมาในประเด็นมาตรการเยี่ยวยาจากทางภาครัฐ ผู้
ให้บริการ ส่งอาหารไปยังที่พัก เห็นว่ารัฐบาลควรมีมาตรการเยียวยาอื่น และควรมีการแจกเงินเยี่ยวยา
ประชาชน ให้มากขึ้น ส่วนด้านมาตรการบริหารจัดการสถานการณ์ที่ดี และมาตรการที่ประชาชนเข้าถึงได้
ง่าย พบว่ารัฐบาลยังไม่สามารถที่จะจัดการและทาให้ประชาชนเข้าถึงมาตรการต่าง ๆ ของรัฐบาลได้ง่าย
11

อีกทั้งในประเด็นเรื่องของความวิตกกังวล พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ให้บริการส่งอาหารมีความกังวลในด้ าน


เศรษฐกิจมากที่สุด เห็นได้ว่าการเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ไม่
เพียงแต่ในประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้นโดยส่งผลกระทบทุกประเทศทั่วโลก ดังนี้หากการ แก้ปัญหา
วิกฤตจึงต้องร่วมกันแก้ปัญหาโดยประชาชนทุกคนทั่วโลกเพื่อเป็นการยับยั้งการแพร่ระบาด ของไวรัสโคโร
นา 2019 ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยต่าง ๆ ที่พบว่าการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกรทบ
ต่อความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจทาให้ผู้ประกอบการไม่กล้าลงทุน (Scott R. Baker et al., 2020) และ
แนวโน้มของเศรษฐกิจโลกมีการชะลอตัวเป็นอย่างมากทาให้เศรษฐกิจถดถอย ไปด้วย (Baldwin, R. &
Tomiura, E., 2020) ขณะเดียวกันได้มีการศึกษาของ Lekfuangfu, Piyapromdee, Porapakkarm and
Wasi (2020) ศึ ก ษาผลกระทบของการแพร่ ร ะบาดต่ อ แรงงานในประเทศไทย โดยแบ่ ง แรงงานไทย
ออกเป็น ตามความง่ายในการปรับเปลี่ยนสถานที่ทางาน และดัชนีด้านลักษณะงานที่ต้องทาใกล้ชิดกับคน
อื่น คณะผู้ วิจัยพบว่าร้อยละ 31.5 ของแรงงานไทยทางานในกลุ่มงานที่ต้องอาศัยเครื่องจักรและ ไม่
สามารถทางานผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารได้ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างแรงงานเพศชายและแรงงาน เพศ
หญิง แรงงานเพศชายส่วนมากทางานที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรมากกว่าแรงงานเพศหญิง ดังนั้น แรงงาน
เพศชายจึงมีแนวโน้มได้รับผลกระทบมากกว่าแรงงานเพศหญิง นอกจากนี้แรงงานกลุ่มอายุ 46 ปีขึ้นไปมี
แนวโน้มทางานที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสารทดแทนไม่สะดวกจึงพบอุปสรรคในการปรับตัว ทางานที่บ้าน กลุ่มที่
ได้รับผลกระทบน้อยสุดคือ กลุ่มแรงงานที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป เพราะรูปแบบงานเอื้อให้
ทางานจากที่บ้านและแรงงานกลุ่มนี้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 24 มากกว่า การล็อกดาวน์ใน
เดื อ นมี น าคมส่ ง ผลให้ ก ลุ่ ม ลู ก จ้ า งรายได้ ร ะดั บ ไม่ เ กิ น 12,000 ต่ อ เดื อ น จ านวน 1.6 ล้ า นคน ได้ รั บ
ผลกระทบมากที่สุด ตัวอย่างอาชีพที่ได้รับผลกระทบสูงสุด เช่น พนักงาน ทาความสะอาด พนักงานบริการ
ในร้านอาหาร ครูในโรงเรียนอนุบาล ผู้นาเที่ยว และทันตแพทย์ Kaplan, Moll, and Violante (2020)
ศึกษาผลกระทบต่อแรงงานกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยแบ่งกลุ่มอาชีพตามลักษณะงาน
ออกเป็ น สี่ ก ลุ่ ม ตามความง่ า ยในการปรั บ เปลี่ ย น สถานที่ ท างาน และรู ป แบบการปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ คน
คณะผู้วิจัยใช้แบบจาลองเศรษฐศาสตร์ เพื่อพยากรณ์ผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสต่อรายได้ใน
กรณีที่รัฐบาลสหรัฐไม่ดาเนิน นโยบายใด ๆ งานวิจัยสรุปว่า หากไม่มีการล็อกดาวน์ แรงงานในสายงานที่
ไม่สามารถทางานที่บ้าน และรูปแบบงานมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ได้รับผลกระทบมากสุดจากรายได้ที่
ลดลงกว่าร้อยละ 27 ในขณะที่แรงงานในสายงานที่มีปฏิสั มพันธ์กับผู้อื่นสูงแต่สามารถทางานที่บ้านได้ มี
รายได้ลงลงร้อยละ 15 แรงงานที่เหลือมีรายได้ลดลงร้อยละ 5 Coition, Gorodnichenko, and Weber
12

(2020) ศึกษาฐานข้อมูลของ Nielsen home scan ซึ่งได้จากการสารวจครัวเรือนในสหรัฐอเมริกา และ


พบว่าการแพร่ระบาดของโรคไวรัสส่งผลกระทบ ต่ออัตราการว่างงานในสหรัฐสูงกว่าตัวเลขทางการของ
การยื่นขอเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน เนื่องจาก แรงงานที่ตกงานส่วนหนึ่งไม่ถูกนับว่าอยู่ในตลาดแรงงาน
เพราะไม่ได้กาลังมองหางานใหม่ในระยะเวลา นี้ ดังนั้น ตัวเลขสถิติอัตราว่างงานจะเพิ่มขึ้นแค่เพียงราว ๆ
ร้อยละ 2 แม้ว่าในความเป็นจริงแรงงาน กว่าร้อยละ 7 ออกจากตลาดแรงงาน จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะ
เห็ น ได้ ว่ า ผลกระทบทางเศรษฐกิ จ เป็ น ผลกระทบเป็ น อั น ดั บ ต้ น ๆ และเป็ น รู ป ธรรมมากที่ สุ ด จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นกับทุกประเทศทั่ว
โลก อย่างไรก็ตาม ผลกระทบทางสังคม ซึ่งเป็นผลกระทบ ที่แฝงอยู่และยังไม่ค่อยมีการศึกษาวิจัยมากนัก
การศึกษาครั้งนี้จึงได้ทาการศึกษาผลกระทบดังกล่าว ควบคู่กับผลกระทบทางเศรษฐกิจ นาไปสู่การ
พยายามปรับสภาพปัญหาหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากผลกระทบดังกล่าว และพยายามปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมของผู้ได้รับผลกระทบให้เข้ากับสภาพทาง เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
13

บทที่3
วิธีกำรดำเนินโครงกำร
รู ป แบบโครงการ (Project format) เป็ น การวิ จั ย เชิ ง ส ารวจ (เชิ ง ปริ ม าณ) เพื่ อ วิ เ คราะห์
ผลกระทบจาก COVID-19 ต่ อ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก งานบริ ษั ท ลาซาด้ า เอ็ ก เพรส มี วิ ธี ก ารด าเนิ น โครงการ
ดังต่อไปนี้
3.1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3.2 ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติงาน
3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.4 เครื่องมือในการจัดทาโครงการ
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 กำรศึกษำข้อมูลเบื้องต้นของโรคไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19)


เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19)พบได้ทั่วโลก โดยในเขตอบอุ่น (temperate climates) มัก
พบเชื้อโคโรนาไวรัสในช่วงฤดูหนาวและฤดูใบไม้ผลิ การติดเชื้อโคโรนาไวรัสอาจทาให้เกิดอาการในระบบ
ทางเดินหายใจส่วนบนได้ถึงร้อยละ 35 และสัดส่วนของโรคไข้หวัดที่เกิดจากเชื้อโคโรนาไวรัสอาจสูงถึง
ร้อยละ 15 การติดเชื้อพบได้ในทุกกลุ่มอายุ แต่พบมากในเด็ก อาจพบมีการติดเชื้อซ้าได้ เนื่องจากระดับ
ภูมิคุ้มกันจะลดลงอย่างรวดเร็วภายหลังการติดเชื้อ สาหรับการติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
หรือซาร์ส (SARS CoV) พบการระบาดปี พ.ศ. 2546 โดยพบเริ่มจากประเทศจีนแล้วแพร่กระจายไปทั่ว
โลกพบรายงานผู้ป่วยโรคซาร์สทั้งสิ้นมากกว่า 8, 000 ราย และเสียชีวิตมากกว่า 750 ราย
การติดเชื้อไวรัสโคโรนาในระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Coronaviruses) อาจทาให้เกิด
อาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มีน้ามูก เจ็บคอ ไอ โดยในทารกที่มีอาการรุนแรง อาจมีลักษณะของปอด
อักเสบ (Pneumonia) หรือ หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) ในเด็กโตอาจมีอาการของหอบหืด
(Asthma) ส่วนในผู้ใหญ่ อาจพบลักษณะปอดอักเสบ (Pneumonia) หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic
bronchitis) หรือการกลับเป็นซ้าของโรคหอบหืดได้ และอาจทาให้เกิดอาการรุนแรงได้มากในผู้สูงอายุ
หรือผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยพบการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการได้ในทุกอายุ และหากแสดงอาการ
มักพบร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจอื่นๆ เช่น Rhinovirus, Adenovirus หรือเชื้ออื่นๆ
ปัญหาในการฝึกงานของนักศึกษาฝึกงานซึ่งมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากการส่งสินค้าให้กับ
ลูกค้าในแต่ละวัน มีความเสี่ยงมากซึ่งต้องส่งในหลายพื้นที่ จึงเกิดผลกระทบกับการฝึกงานของนักศึกษา
14

3.2 ศึกษำขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
จากการศึกษาผู้วิจัยได้วิเคราะห์ปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตัวนักศึกษา ซึ่งมีลาดับขั้นตอนใน
การปฏิบัติงานด้านผลกระทบต่อการฝึกงานของนักศึกษา ดังนี้
ขั้นตอนกำรดำเนินงำนวิจัย
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาการดาเนินงาน

กำหนดวัตถุประสงค์และประโยชน์ในกำรศึกษำ

ศึกษาผลกระทบจากไวรัส ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัย ศึกษาแนวคิดของ


โคโรนา 2019 (COVID- ที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
19) ที่นักศึกษาได้รับ

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูล

สังเกตการณ์และสัมภาษณ์พนักงาน เก็บรวบรวมข้อมูล จดบันทึกข้อมูล


และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการทางาน จากนั้นนาข้อมูลมาวิเคราะห์

กาหนดแนวทางแก้ไขปรับปรุง
15

ขั้นตอนที่ 3 นาเครื่องมือมาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา

วิเคราะห์ปัญหาโดยใช้เครื่องมือ กาหนดหัวข้อปั ญหาหลักและปั ญหารองเพื่อ


แผนผังก้างปลา ใช้ในการแก้ไขปรับปรุง

วิเคราะห์ผลกระทบจากโควิด 19 แสดงขั้นตอนในการสอบถามผลกระทบที่
ที่สง่ ผลต่อนักศึกษาฝึ กงาน เกิดขึน้ โดยการใช้แบบประเมินในการรวบรวม
ข้อมูลของนักศึกษาฝึกงานและพนักงาน

เพื่อปรับปรุงการดาเนินงานก่อน
การรวบรวมและบันทึกข้อมูลก่อน
และหลังในการหาผลกระทบของ
และหลังการทางานของพนักงาน
นักศึกษาฝึ กงาน

ขั้นตอนที่ 4 ดาเนินงานปรับปรุงตามแผน

ทาการลงพืน้ ที่

ดาเนินการปรับปรับแก้ไข เปรียบเทียบข้อมูลก่อนและหลังการ
ดาเนินงานสอบถามเกี่ยวกับผลกระทบจากโควิด 19
16

ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการศึกษา
อภิปรายและสรุปผลการศึกษา

ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินงาน


ที่มา : ผู้ศึกษา

3.3 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
3.3.1 ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่างๆ ทั้งหมดที่ผู้ศึกษาสนใจ ซึ่งอาจเป็นกลุ่มของคน สัตว์
สิ่งของ หรือสถาการณ์ต่างๆ รวมทั้งอาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ ซึ่ง การศึกษาครั้งนี้ ประชากร
หมายถึง นักศึกษาฝึกงานและพนักงานในแผนกจัดส่งสินค้า บุคคลที่เกี่ยวข้อง
3.3.2 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาฝึกงาน จานวน 4 คน และพนักงานด้านการ
จัดส่งสินค้าที่มีประสบการณ์ จานวน 6 คน

3.4 เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ
3.4.1 หนังสือ ตารา วารสาร และบทความวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง หรือ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆบน
เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
3.4.2 การสังเกตการณ์ ทาโดยผู้ศึกษเริ่มหาข้อมูลเบื้องต้นขอองค์กร ได้แก่ ประวัติความเป็นมา
การดาเนินการภายในองค์กร โครงสร้างขององค์กร โดยได้รับความอนุเคราะห์จากฝ่ายต่างๆ
3.4.3 การสัมภาษณ์ ทาโดยผู้ศึกษาได้ใช้วิธีสอบถามนักศึกษาฝึกงานและพนักงานภายในองค์กร
โดยมีตาแหน่งงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เริ่ มต้นจากการสอบถาม เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและทัศนคติ
เพื่อหาสาเหตุของปัญหา
3.4.4 แบบสอบถามหรือประเมินสาหรับผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 แบบประเมินแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปิด ซึ่งเป็นคาถาม
ที่จัดลาดับในการตอบ และระดับความพึงพอใจ โดยแบ่งเป็นมาตราส่วน ประเมินคาตอบ (Likert Scale
Questions) แต่ละคาถามมีคาตอบให้เลือกตามลาดับความสาคัญ 5 ระดั บ โดย กาหนดค่าน้าหนักของ
การประเมิน ดังนี้
17

ระดับ 5 หมายถึง ความพึงพอใจมากที่สุด


ระดับ 4 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
ระดับ 3 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
ระดับ 1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยที่สุด
ใช้การประเมินผลโดยการหาค่าคะแนนเฉลี่ย แบ่งระดับออกเป็น 5 ระดับชั้น โดยการหา
ช่วงความกว้างของอัตราภาคชั้นดังนี้ (ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2553)
ความพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 4.50 – 5.00 คะแนน
ความพึงพอใจมาก มีค่าเท่ากับ 3.50 – 4.49 คะแนน
ความพึงพอใจปานกลาง มีค่าเท่ากับ 2.50 – 3.49 คะแนน
ความพึงพอใจน้อย มีค่าเท่ากับ 1.50 – 2.49 คะแนน
ความพึงพอใจน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 1.00 – 1.49 คะแนน
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆเพื่อปรับปรุงการจัดการลงพื้นที่ การจัดส่งสินค้าในจังหวัดระยองเป็น
แบบสอบถามปลายปิด เพื่อรับข้อเสนอแนะจากผู้ประกอบการ และพนักงานแผนกที่เกี่ยวข้องกับ
ผลกระทบที่ ไ ด้ รั บ จากสถานการณ์ ไ วรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และมี
ประสิทธิภาพ
3.5 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ระยะเวลาเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จนถึง วันที่
10 กันยายน พ.ศ. 2564 โดยดาเนินงานตามขั้นตอนดังนี้
3.5.1 การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด, ทฤษฎี
ต่างๆที่เกี่ยวข้องการศึกษาบทความ, วารสาร, วิชาการ, สืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต (Internet) และ
งานวิจัยโดยผู้วิจัยได้ทาการศึกษาไว้ในแง่มุมต่างๆที่เกี่ยวข้อง
3.5.2 การเก็บรวบรวมข้ อมูลจากพื้ นที่จ ริง ภายในบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด การเก็ บ
รวบรวมข้อมูลการวิจัยโดยผู้วิจัยได้ทาการสอบถาม โดยการจดบันทึกจากผู้ให้ข้อมูล
18

3.6 กำรวิเครำะห์ข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้จัดทาได้ใช้โปรแกรม SPSS มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่
ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation)
3.6.1 ความถี่ (Frequency) เป็นปริมาณที่บ่งบอกจานวนครั้งที่เหตุการณ์เกิดขึ้นในเวลา
หนึ่ง การวัดความถี่สามารถทาได้โดยกาหนดช่วงเวลาคงที่ค่าหนึ่ง นับจานวนครั้งที่เหตุการณ์
เกิดขึ้น นาจานวนครั้งหารด้วยระยะเวลา และ คาบ เป็นส่วนกลับของความถี่ หมายถึงเวลาที่ใช้ไป
ในการเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบจะหาค่าความถี่จากสูตรดังต่อไปนี้ (กัลยา วาณิชย์บัญชา. 2545. การ
ใช้ SPSS for Windows ในการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล , กรุ ง เทพมหานคร: ส านั ก พิ ม พ์ จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย)

3.6.2 ร้อยละ (Percentage) เป็นค่าสถิติที่นิยมใช้กันมาก โดยเป็นการเปรียบเทียบความถี่


หรือจานวนที่ต้องการกับความถี่หรือจานวนทั้งหมดที่เทียบเป็น 100 จะหาค่าร้อยละจากสูตร
ต่ อ ไปนี้ (กั ล ยา วาณิ ช ย์ บั ญ ชา. 2545. การใช้ SPSS for Windows ในการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ,
กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ค่าร้อยละจะแสดงความหมายของค่าและสามารถนาค่าที่ได้ไปเปรียบเทียบ
19

3.6.3 ค่าเฉลี่ย (Mean) เป็นค่าที่มีความสาคัญมากในวิชาสถิติ เพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น


ค่ากลางหรือเป็นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด เนื่องจาก เป็นค่าที่ไม่เอนเอียง, เป็นค่าที่มีความคงเส้น
คงวา, เป็นค่าที่มีความแปรปรวนต่าที่สุด และเป็นค่าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด แต่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตก็มี
ข้อจากัดในการใช้ เช่น ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก หรือ ข้อมูลบางตัวมีค่ามากหรือน้อย จนผิดปกติ
หรือ ข้อมูลมีการเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะไม่สามารถเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทนที่ดี
ของข้ อ มู ล ได้ จะหาค่ า เฉลี่ ย จากสู ต รต่ อ ไปนี้ (กั ล ยา วาณิ ช ย์ บั ญ ชา. 2545. การใช้ SPSS for
Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

3.5.4 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวัดการกระจายที่นิยมใช้


กั น มากเขี ย นแทนด้ ว ย S.D. หรื อ S จะหาค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานจากสูต รต่ อ ไปนี้ (กั ลยา
วาณิ ช ย์ บั ญ ชา. 2545. การใช้ SPSS for Windows ในการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล , กรุ ง เทพมหานคร:
สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
20

บทที่ 4
กำรวิเครำะห์ข้อมูล

4.1 ศึกษำระบบกำรทำงำน
4.1.1 ข้อมูลพืน้ ฐานของบริษัท
บริ ษั ท ลาซาด้ า เอ็ ก ซ์ เ พรส ธุ ร กิ จ ขนส่ ง สิ น ค้ า เป็ น บริ ษั ท ในเครื อ ลาซาด้ า ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ
ดาเนินการจัดการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การรับสินค้าจากผู้ประกอบการหรือจุดบริการรับ
สินค้า (Drop-off Point) ที่มีอยู่กว่า 800 แห่งทั่วประเทศไปยังศูนย์คัดแยกสินค้า ตลอดจนการขนส่งจาก
ศู น ย์ คั ด แยกสิ น ค้ า ไปยั ง จุ ด หมายปลายทาง โดยมี เ ป้ า หมายส าคั ญ เพื่ อ อ านวยความสะดวกของ
ผู้ประกอบการและผู้บริ โภคที่สั่งซื้อสินค้าผ่านช่องทางอีคอมเมิร์ซโดยอาศัยนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพ และช่วยลดต้นทุน และในจังหวัดระยองก็มีศูนย์กระจายสินค้า ลาซาด้าระยองอีกด้วย
4.1.2 ขั้นตอนการลงพื้นที่สอบถามผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์โควิด 19

จัดทาแบบสอบถามเพื่อใช้ใน ลงพื้นที่สอบถามข้อมูลจากพนักงานและ
การสอบถามข้อมูล นักศึกษาฝึกงานในบริษัทโดยใช้
แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล

นาตัวเลขที่ได้จากการหาค่ามา นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
สรุปผลและแสดงผลโดยใช้แผนภูมิ สูตรค่าสถิติร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, การหา
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ภาพที่ 4.1 แผนผังแสดงขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์


ที่มา : ผู้ศึกษา
21

1. จัดทาแบบสอบถามเพื่อให้ง่ายต่อการรวบรวมในสอบถามข้อมูลจากผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก
สถานการณ์โควิด 19
2. ลงพื้นสอบถามข้อมูลจากพนักงานและนักศึกษาฝึกงานภายในบริษัทโดยใช้แบบสอบถามใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนามาวิเคราะห์ต่อไป
3. นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้สูตรค่าสถิติร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และการหาส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ทาการวิเคราะห์หาค่าต่างๆ
4. นาตัวเลขที่ได้มาสรุปผลและแสดงผลโดยใช้แผนภูมิ
4.2 วิเครำะห์หำสำเหตุของปัญหำโดยใช้แผนผังก้ำงปลำ

Man Method

การสอบถาม
พนักงานมาทางาน
ข้อมูลมีความล่าช้า
นักศึกษาฝึกงาน อย่างจากัดจานวน
มีจานวนน้อย มีความเสี่ยงจาก
โรคระบาดโควิด
-19 ในการคัด
แบบสอบถามที่ใช้ แยกสินค้า
การลงพื้นที่มีความ เก็บรวบรวมข้อมูล ระบบการทางาน
เสี่ยงจากโรคระบาด มีจานวนจากัด เกิดขัดข้อง

Environment Materiel Machine

ภาพที่ 4.2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้ผังก้างปลา


ที่มา : ผู้ศึกษา
22

จากการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิก้างปลาในข้างต้น พบว่า การสอบถามผู้ที่ได้รับจาก


สถานการณ์โควิดมีความล่าช้าในการทาแบบประเมิน ดังหัวข้อต่อไปนี้
1. Man : เกิดจากนักศึกษาฝึกงานและพนักงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องในงานมีน้อยและมี
หน้าที่ต่างกันในการทางานอาจเกิดการตกหล่นในการทาแบบสอบถามที่ไม่ทั่วถึง
2. Method : ในการลงพื้นทีใ่ นการให้พนักงานทาแบบสอบถามเกิดความล่าช้าทาให้มี
การเคลื่อนเวลาหรืออาจจะต้องเลื่อนออกไป
3. Environment : การลงพื้นที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-
19) ทาให้ยากลาบากต่อการทางาน
4. Materiel : ในแบบสอบถามที่มีจานวนจากัด ข้อมูลที่ได้รับจากทาแบบสอบถามอาจ
ไม่ทั่วถึงต่อการนามาวิเคราะห์ข้อมูล
5. Machine : เกิดการขัดข้องในระหว่างดาเนินงาน มีการหยุดพักการทางานเนื่องจาก
สถานการณ์โควิด19 ระบาดหนักขึ้น จึงทาในการรวบรวมข้อมูลจากพนักงานล่าช้า
จากปัญหาข้างต้นนี้ ทางผู้วิจัยจึงได้ทาการวิเคราะห์เพื่อกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา
ดังนั้นโดยสรุปคือ เลือกการแก้ไขปัญหาโดยการวางแผนลงพื้นที่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความครบถ้วนจาก
พนักงานที่ปฏิบัติงานและได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 หลีกเลี่ยงในการไปพื้นที่เสี่ยง มีการ
ป้องกันตนเองตามมาตรการสาธารณะสุขอย่างเคร่งครัด เพราะสาเหตุทางผู้ศึกษาสามารถดาเนินการได้
จริงเนื่องจากสาเหตุที่เกิดขึ้นเป็นเรือ่ งกระบวนการทางานและวางแผน
4.3 กำรทำแบบสอบถำมผลกระทบที่ได้รบั จำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโควิด19
จากการสารวจผลกระทบในการฝึกงานที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด19
โดยใช้แบบสอบถามในการสารวจแล้วนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจมาดูว่าจากสถานการณ์โควิด19ที่เกิดขึ้น
มีผลกระทบในด้านใดมากที่สุดแล้วจัดลาดับแสดงแผนภูมิ โดยแบบสอบถามมี ดังนี้
1. มีการทางานที่เสี่ยงต่อการติดโรคระบาดไวรัสโควิด19
2. รู้สึกกังวล วิตก และเครียด
23

3. รู้สึกว่าชีวิตไม่เป็นไปได้อย่างที่ต้องการ
4. รู้สึกว่าปรับตัวไม่ได้เลยกับ กิจกรรมทุกอย่างในชีวิต ที่เปลี่ยนไป
5. รู้สึกว่าควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างดี

ภาพที่ 4.3 แบบประเมินผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19


ที่มา : ผู้ศึกษา
24

4.4 ผลกำรประเมินแบบสอบถำม
ตอนที1่
ผลกำรวิเครำะห์แบบสอบถำมเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม ได้แก่ เพศ อำยุ
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มที่ตอบแบบสอบถาม ดังนี้
เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ
ชาย 8 80
หญิง 2 20
รวม 10 100

ตารางที่ 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงเพศของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม


ที่มา : ผู้ศึกษา
จากตารางที่ 4.1 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงเพศของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม จานวน 10
คน เพศชายคิดเป็นร้อยละ 80 จานวน 8 คน และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 20 จานวน 2 คน

อำยุ จำนวน (คน) ร้อยละ


19-26 ปี 7 70
27-30 ปี 3 30
รวม 10 100

ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม


ที่มา : ผู้ศึกษา
จากตารางที่ 4.2 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงอายุของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม อายุ
19-26 ปี คิดเป็นร้อยละ 70 จานวน 7 คน อายุ 27-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 30 จานวน 3 คน
25

ตอนที่ 2
ประเมินควำมพึงพอใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19
ประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม รายละเอียดดังนี้
(n=10)

รำยกำรประเมิน S.D. ระดับควำมพึงพอใจ

1. ด้ำนควำมรู้
1.1 อาการแสดงที่สาคัญของการติดเชื้อ โรคโค
4.30 0.63 พึงพอใจมาก
วิด-19 คือ ไข้ ไอ แห้ง อ่อนเพลีย
1.2 อาการคัดจมูก น้ามูกไหล และจาม 4.10 0.66 พึงพอใจมาก
1.3 แพร่เชื้อโรคได้จากทางลมหายใจ 4.10 0.66 พึงพอใจมาก
1.4 ผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 ไม่สามารถจะส่งต่อเชื้อ
4.40 0.70
ไวรัสให้คนอื่นเมื่อไม่มีอาการไข พึงพอใจมาก
โดยรวม 4.23 0.66 พึงพอใจมำก
2. ด้ำนทัศนคต
2.1 โรคโควิด-19 สามารถถูกควบคุมได้ 4.10 0.66 พึงพอใจมาก
2.2 ประเทศไทยสามารถเอาชนะโรค โควิด-19 4.30 0.63 พึงพอใจมาก
โดยรวม 4.20 0.65 พึงพอใจมำก
3. ด้ำนพฤติกรรม
3.1 ท่านไปในที่มีคนจานวนมากหรือไม่ 4.50 0.53 พึงพอใจมากที่สุด
3.2 ท่านสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออกจาก บ้าน
4.80 0.41 พึงพอใจมากที่สุด
หรือไม่
โดยรวม 4.65 0.47 พึงพอใจมำกที่สุด
ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) จานวนและร้อยละของความรู้
ทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19
ที่มา : ผู้ศึกษา
26

ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์พบว่า ระดับการศึกษา ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับการ เชื้อไวรัส


โควิด-19 มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ามากกับพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากการ ติดเชื้อไวรัส
โควิด-19
27

บทที่ 5
สรุปผลกำรศึกษำ
การศึกษาครั้งนี้ได้ทาการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด -19 ที่มีผลต่อ
นักศึกษาฝึกงานบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 นั้น
เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ทาให้การฝึกงานต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงเพื่อให้ นักศึกษายังสามารถ
เรี ย นรู้ ถึ ง แม้ จ ะมี ข้ อ จ ากั ด ซึ่ ง จ าเป็ น ต้ อ งหาแนวทางการแก้ไ ขปั ญ หาและหลัก การแนวคิ ด ต่ า ง ๆ มา
ประยุกต์ใช้เพื่อให้ผู้เรียนยังคงสามารถศึกษาและเรียนได้อย่างปลอดภัย ทาให้ได้ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์
ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เพื่อส่งผลให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 สรุปผลการศึกษา
5.2 อภิปรายผลการศึกษา
5.3 ข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลกำรศึกษำ
จากผลการศึกษาทาให้ทราบถึงการแพร่ระบาดโรคโควิด -19 มีผลกระทบต่อ นักศึกษาฝึกงานบริษัท
ลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด เนื่องจากในการฝึกงานมีความเสี่ยงต่อการโรคโควิด -19 จนทาให้ส่งผลต่อ
นักศึกษาฝึกงานของบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด ได้พักการปฏิบัติงาน พบว่ามีปัจจัยที่ทาให้ ส่งผลถึง
บริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด มีปัจจัยดังนี้
1. ไม่สวมหน้ากากอนามัย จากสถานการณ์โรคติดเชื้อโควิด -19 ได้แพร่กระจายอย่า ง
รวดเร็วทาให้โรคติดต่อทางเดินหายใจระบาดได้ง่ายโดยแพร่เชื้อผ่านละอองน้ามูกน้าลายเวลาไอหรือจาม
แต่ถ้าทุกคนสวมหน้ากากอนามัย/ผ้าตามแนวทางวิถีชีวิตใหม่จะสามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อทั้งตัวเอง
และผู้อื่น เพิ่มความปลอดภัยทางสังคมความสาคัญของหน้ากากอนามัย
2. ไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้อ เมื่อครั้งโควิด -19 ระบาดทั่วโลกใหม่ๆ เดอะสเตรตไทมส์
(The Straits Times) เว็ บ ไซต์ ข่ า วภาษาอั ง กฤษที่ นิ ย มมากที่ สุ ด ในสิ ง คโปร์ ไ ด้ เ ผยแพร่ ข่ า วเตื อ นใจ
ประชาชนว่าให้ระวัง “โควิดไม่แสดงอาการ” ซึ่งเป็นเหตุให้ผู้ติดเชื้อละเลยการป้องกันตัวเองและแพร่เชื้อสู่
ผู้อื่นมากขึ้นร้อยละ 70 ของผู้ที่เข้ารับการตรวจหาเชื้อปอดอักเสบโควิด -19 ได้ผลเป็นบวก แต่ไม่แสดง
อาการป่วยออกมา เมื่อติดเชื้อแล้วสามารถส่งเชื้อแพร่กระจายสู่ผู้อื่นได้อย่างไม่รู้ตัวโควิดไม่แสดง คือ
28

อาการระยะแรก ที่มีโอกาสส่งเชื้อสู่ผู้อื่นสูง ได้แก่ อาการไอ จาม แม้ตัวผู้ป่วยจะไม่มีอาการรุนแรงใน


ระยะแรก แต่เป็นช่วงที่ไวรัสเพิ่มจานวนได้สูง การเดินทางไปสู่สถานที่เสี่ยง มีผู้ คนแออัดโดยไม่สวม
หน้ากากอนามัย มีโอกาสรับละอองที่มีเชื้อไวรัสจากผู้ติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย Medical News Today เว็บ
ข่าวด้านสุขภาพในสหรัฐอเมริกามีงานวิจัยพบว่าผู้ป่วยติดเชื้อ SARS-CoV-2 ที่อายุน้อยกว่า 20 ปี กว่า
81.9% ป่วยโควิดไม่แสดงอาการ
นอกจากนี้พบว่าในกลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 6.6 มีอาการที่
รุนแรง เราควรรับบทเรียนเหล่านี้ มาช่วยกันปกป้องผู้สูงอายุที่มีโรคประจาตัว ให้พักอยู่ที่บ้าน งดการ
เดินทางสังสรรค์ เพื่อไม่ให้โควิด-19 สร้างความเจ็บป่วยแทรกซ้อนกับโรคเดิมที่เป็นอยู่
3. ใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ โควิดไม่แสดง คือ อาการระยะแรก ที่มีโอกาสส่งเชื้อสู่ผู้อื่นสูง ได้แก่
อาการไอ จาม แม้ตัวผู้ป่วยจะไม่มีอาการรุนแรงในระยะแรก แต่เป็นช่วงที่ไวรัสเพิ่มจานวนได้สูง การ
เดินทางไปสู่สถานที่เสี่ยง มีผู้คนแออัดโดยไม่สวมหน้ากากอนามัย มีโอกาสรับละอองที่มีเชื้อไวรัสจากผู้ ติด
เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
4. จับกลุ่มสังสรรค์ มีการรวมคนจานวนมากที่จะมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของ
เชื้อโรค และงดหรือชะลอการเดินทางออกนอกชุมชนโดยไม่จาเป็น กรณีจาเป็นต้องเดินทางออกนอก
ชุมชน ต้องให้ความร่วมมือการตรวจคัดกรองและปฏิบัติตามมาตรการที่ชุมชนกาหนด

5.2 อภิปรำยผลกำรศึกษำ
จากผลการศึกษา ทาให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลส่งต่อการแพร่ระบาดโรคโควิด -19 ภายใน
บริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด การที่จะทาให้การแพร่ระบาดโรคโควิด -19 ภายบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส
จากัด เพื่อให้การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพิ่มขึ้นมีประเด็นมาอภิปรายดังนี้
1. จัดให้มีคาแนะนาการเฝ้าระวังป้องกันเชื้อไวรัสไวรัสโควิด -19 ติดประกาศในจุดที่เห็น
ได้ สะดวก เพื่ อ สื่ อ สารเจ้ า หน้ า ที่ และบุ ค คลภายนอกที่ ต้ อ งเข้ า มาประสานและติ ด ต่ อ ในสถาน
ประกอบการ
2. กาหนดให้เจ้าหน้าที่ พนักงานทุก คน และบุคคลภายนอกที่เข้ามา ต้องสวมหน้ากาก
อนามัย หรือหน้ากากผ้า100% ตลอดเวลา ห้ามคนไม่สวมหน้ากากเข้ามาในสถานประกอบการ
3. จัดให้มีจุดวางแอลกอฮอล์หรือเจลล้างมือ ให้บริการอย่างเพียงพอ ในบริเวณจุดคัด
กรอง ทางเข้า-ออก ของสถานประกอบการ
29

4. มีการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายสอบถามประวัติเสี่ยงประวัติการเดินทางในช่วง14วัน
ที่ผ่านมาและอาการของเจ้าหน้าที่ พนักงานทุกคน และบุคคลภายนอกที่เข้ามา ในสถานประกอบการ ณ
จุดคัดกรอง
4.1 บุคคลที่มีอาการเข้าได้กับนิยามผู้สงสัยติดเชื้อไวรัสโควิด -19 ที่เข้าเกณฑ์สอบสวน
โรค (Patient Under Investigation: PUI) ต้องใหผู้ปฏิบัติงานและผู้มาติดต่องานพบแพทย์ทันที และ
แจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ภายใน 3 ชั่วโมงนับแต่พบบุคคลดังกล่าว
4.2 บุคคลที่ไม่มีอาการเข้าได้กับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด -19 แต่เป็นผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูง
ของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ให้บุคคลนั้นหยุดงานเป็นระยะเวลา 14 วันนับจากวันที่สัมผัส ผู้ป่วย
ยืนยันวันสุดท้ายเพื่อแยกกักตนเองที่บ้าน (Home quarantine) ติดตามผู้ปฏิบัติงานที่ต้อง กักกันตัวที่
บ้านอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ และแจ้งเจ้ าหน้าที่สาธารณสุขใน พื้นที่เพื่อติดตาม
อาการและเก็บตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ
5. พิจารณาปรับรูปแบบการทางาน เช่น มีการจัดใหทางานที่บ้าน (Work from home)
กรณีที่งานนั้นสามารถทาที่บ้านได้ มีการจัดการประชุมทางโทรศัพท์หรืออินเตอร์เน็ตแทนการจัด 26
ประชุ ม ที่ พ นั ก งานตองมารวมตั ว กั น การใช้ ร ะบบการใหบริ ก ารโดยไม่ ล งจากรถ (drive - through
service) การใชระบบ cashless การใชระบบยื่นเอกสารแบบ online
6. กาหนดการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในระหว่างปฏิบัติ
หน้าที่ หรือทากิจกรรมใด ๆ ในพื้นที่สวนกลางของสถานที่ทางาน เชน การต่อแถวซื้ออาหาร การนั่งใน
ห้อง ประชุม การนั่งในจุดติดต่องาน การใช้จุดพักผ่อน เป็นต้น พื้นที่สูบบุหรี่ให้ใช้ได้ทีละคน

5.3 ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาผลกระทบต่อนักศึกษาฝึกงานบริษัทลาซาด้า เอ็กเพรส จากัด ได้มีการ
แก้ไขปัญหาจากการใช้ทฤษฎีที่ได้จากการศึกษามาโดยที่นี้ จึงขอเสนอ แนวทางในการแก้ปัญหาดังนี้
1. ออกจากบ้านเมื่อจาเป็นเท่านั้น หากออกนอกบ้านให้เว้นระยะห่างจากคนอื่นอย่าง
น้อย 1- 2 เมตรหลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นที่ที่มีคนหนาแน่น แออัด หรือพื้นที่ปิด
2. สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลา เมื่ออยู่นอกบ้าน
3. ใช้รถสาธารณะเมื่อจาเป็นเท่านั้น และหลีกเลี่ยงชั่วโมงเร่งด่วน หากต้องซ้อนมอเตอร์
ไซด์ ควรนั่งหันข้าง
30

4. ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนรับประทานอาหาร หลังใช้


ส้วม หรือหลังจากไอจาม หรือหลังสัมผัสจุดเสี่ยงที่มีผู้ใช้งานร่วมกันในที่สาธารณะ เช่น กลอนหรือลูกบิด
ประตู ราวจับหรือราวบันได เป็นต้น
5. หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็น
6. ผู้ ที่ เ ป็ น กลุ่ ม เสี่ ย ง ผู้ สู ง อายุ ที่ อ ายุ ม ากกว่ า 70 ปี ผู้ มี โ รคเรื้ อ รั ง เช่ น เบาหวาน
โรคหัวใจ โรค ความดันโลหิตสูง โรคปอด และเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ให้เลี่ยงการออกนอกบ้าน เว้นแต่
จาเป็น ให้ออก นอกบ้านน้อยที่สุด ในระยะเวลาสั้นที่สุด
7. แยกของใช้ส่วนตัว ไม่ควรใช้ของร่วมกับผู้อื่น
8. เลือกทานอาหารที่ร้อนหรือปรุงสุกใหม่ๆ ควรทานอาหารแยกสารับ หรือหากทาน
อาหาร ร่วมกันให้ใช้ช้อนกลางส่วนตัว ออกกาลังกายสม่าเสมอ และพักผ่อนให้เพียงพอ
9. หากเดินทางกลับจากประเทศหรือพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ควร
กัก ตัวเองที่บ้าน14 วัน และปฏิบัติตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข
10. หมั่นสังเกตอาการตนเอง หากมีอาการไอ เจ็บคอ มีน้ามูก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับ
รส ให้ ไปรับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลใกล้บ้านทันที
31

บรรณำนุกรม
กรมควบคุมโรค. กระทรวงสำธำรณสุข. (2563ก). คู่มือการป้องกันและควบคุมโรคติด
เชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 สาหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ
ไทย. สืบค้นเมือ่ วันที่ 4 สิงหาคม 2564
กรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข. (2563ข). รายงานโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 5
สิงหาคม 2564
บัญชำ เกิดมณี, สุรชัย ธรรมทวีธิกุล, ญำนพินิจ วชิรสุรงค์, บดินทร์ชำติ สุขบท
(2563). แนวคิดและทิศทางการแก้ปัญหาโควิด-19. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 20(1) สืบค้นเมือ่
วันที่ 5 สิงหาคม 2564
ศูนย์ปฏิบัติกำรภำวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข. (2563). ข้อมูล
สาหรับ การป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 เอกสารเผยแพร่สาหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2564
สำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัด. (2563). รายงานการติดเชื้อโคโรน่า 2019. HDC–
Dashboard. สืบค้นจาก https://sp.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php. สืบค้นเมื่อวันที่ 8
สิงหาคม 256
Al-Hanawi, M. K., Angawi, K., Alshareef, N., Qattan, A. M., Helmy, H. Z.,
Abudawood, Y..,.. & Alsharqi, O. (2020). Knowledge, attitude, and practice toward
COVID-19 among the public in the Kingdom of Saudi Arabia: A cross-sectional study.
Frontiers in Public Health, 8, 217. doi: 10.3389/fpubh.2020.00217. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม
2564
Azlan, A. A., Hamzah, M. R., Sern, T. J., Ayub, S. H., & Mohamad, E.
(2020). Public knowledge,attitudes and practices towards COVID-19: A cross-sectional
study in Malaysia. PLOS ONE, 15(5), e0233668. doi: 10.1371/journal.pone.0233668 สืบค้น
เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2564
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบเสนอขออนุมัติโครงการ
แบบเสนอขออนุมัติโครงการ
วิทยาลัยเทคนิคระยอง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ชื่อโครงการ การศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีผลต่อนักศึกษาฝึกงานบริษัท LAZADA
ผู้จัดทาโครงการ นายสรวิชญ์ เครือวัลย์ ระดับชั้น ปวส.2/1 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
ที่ปรึกษาโครงการ 1.นายวีรพล อิ่มกลิ่น ตาแหน่ง Dispatcher
2.นางสาวนิภาพร รักษาวงศ์ ตาแหน่ง ครูพิเศษสอน
ลงชื่อ..................................ผู้จัดทาโครงการ
(นายสรวิชญ์ เครือวัลย์)
......./......../.......
ความคิดเห็นของครูที่ปรึกษา ความคิดเห็นของสถานประกอบการ
......................................................... ...............................................................
......................................................... อนุมัติโครงการวันที่....เดือน.......พ.ศ.....
ลงชื่อ................................................... ลงชื่อ........................................ Dispatcher
(นางสาวนิภาพร รักษาวงศ์) (นายวีรพล อิ่มกลิ่น)
ลงชื่อ.....................................กรรมการ ลงชื่อ..........................................กรรมการ
(นางสาวภัสสรา ยงสวัสดิกุล) (นายกฤษณ ทองคา)
หัวหน้าแผนกการจัดการโลจิสติกส์ หัวหน้างานวิจัย วิทยาลัยเทคนิคระยอง
ความคิดเห็นของรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ อนุมัติ ไม่อนุมัติ
.............................................................
ลงชื่อ........................................................ ว่าที่เรือตรี..............................................
(นายอานุภาพ วาสะสิริ) (ชูชีพ อรุณเหลือง)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคระยอง
......./......../....... ......./......../.......
ภาคผนวก ข
ภาพถ่ายขณะปฏิบตั ิงาน
ภาคผนวก ข.1 คัดแยกสินค้าตามพื้นที่ต่างๆ
ที่มา : ผู้ศึกษา

ภาคผนวก ข.2 ยิงบาร์โค้ดเพื่อทำการออกส่งสินค้า


ที่มา : ผู้ศึกษา
ภาคผนวก ค
แบบประเมินความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ
โครงการ การศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ที่มีผลต่อนักศึกษาฝึกงาน
บริษัท LAZADA EXPRESS จำกัด

คำชี้แจง : แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความพึงพอใจของหัวหน้างานและพนักงานต่อการ
การเพิ่มมาตรการในการป้องกันผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ให้กับบุคคลากรภายในองค์กร
ตอนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ( กรุณาทำาเครื่องหมาย √ หน้าข้อความตามจริง )
1. เพศ ชาย หญิง
2. อายุ น้อยกว่า 25 ปี 25-35 ปี 36-45 ปี 46 ปีขึ้นไป
3. ตำแหน่งงาน หัวหน้า รองหัวหน้า พนักงาน นักศึกษาฝึกงาน
ตอนที่ 2 : แบบสอบถามความพึงพอใจของบุคคลากรภายในองค์กรต่อ การศึกษาผลกระทบจาก
สถานการณ์ COVID-19
ระดับความพึงพอใจ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยมาก
ระดับความพึงพอใจ
ข้อที่ รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1 มีมาตรการป้องกันที่ดี
2 สามารถปรับตัวในสถานการณ์ COVID-19
3 การสวมหหน้ากากอนามัยทุกคน
ปฏิบัติตามคำแนะนำของสถานประกอบการอย่าง
4
เคร่งครัด
5 คู่มือมาตรการควบคุม COVID-19 ใช้ได้จริง

ตอนที่ 3 : ข้อเสนอแนะ
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ภาคผนวก ง
เอกสารประกอบการนำเสนอ
ประวัติผู้จัดทำโครงการ

ชื่อ-สกุล นายสรวิชญ์ เครือวัลย์


ชื่อเล่น ออย
วัน เดือน ปีเกิด วันพฤหัสบดี ที่ 8 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2544
อายุ 19 ปี 10 เดือน
ที่อยูป่ ัจจุบัน 196 หมู่ 11 ตำบล บ้านนา อำเภอ แกลง จังหวัด ระยอง
รหัสไปรษณีย์ 21110
ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา
- โรงเรียนบ้านชำฆ้อ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น
- โรงเรียนบ้านชำฆ้อ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย
ระดับมัธยมศึกษา
- โรงเรียนชำฆ้อพิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
- โรงเรียนชำฆ้อพิทยาคม ระดับชั้นมัธยมตอนปลาย
ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ขั้นสูง (ปวส.) สาขวิชา การจัดการโลจิสติกส์

ประวัติการฝึกงาน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) ปี 2564 นักศึกษาฝึกงาน


บริษทั ลาซาด้า เอ็กเพรส จำกัด แผนก จัดส่งสินค้าและแอดมิน
ระยะเวลา 4 เดือน

You might also like