You are on page 1of 48

ชื่อโครงงาน เครื่องดูดของเหลว

อเนกประสงค์ (Versatile liquid extractor)


ผู้จัดทำ 1. นางสาวสุธิดา เปรียบสม
2. นายภูวดล จันทะวงศ์
3. นายณัฐวุฒิ สุปะมา
ครูที่ปรึกษา 1. นางสาวณัฐณิชา ซุยจอหอ
2. นายเฉลิมชัย ธิสานสังข์
3. นายอมร ดอนคูน
ปี การศึกษา: 2565
สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพพล

บทคัดย่อ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ดูดของเหลว


อเนกประสงค์ จัดทำขึน
้ เพื่อศึกษาการสร้างอุปกรณ์เครื่อง
ดูดของเหลวอเนกประสงค์ ศึกษาประสิทธิภาพการดูดของเหลว
โดยเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ ศึกษาความพึงพอใจ ต่อการใช้งานของอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ พบว่า ความเหมาะสมต่อการ
สร้างอุปกรณ์ดูดของเหลวโดยรวมอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 2 มี
2

ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.58) เมื่อพิจารณาเป็ น


รายด้าน ด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ลดระยะเวลาใน
การใช้งาน ( =4.72) การหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์ พบว่า ประสิทธิภาพของอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับเครื่องดูดของเหลวแบบ
ทั่วไปเพิ่มขึน
้ คิดเป็ นร้อยละ 28.04 และความพึงพอใจต่ออุปกรณ์
ดูดของเหลวโดยรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด (
=4.59)

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว


อเนกประสงค์ สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์
และสนับสนุนเป็ นอย่างดี จากการสนับสนุนในการจัดทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์
ท่านผู้อำนวยการสิริสมัย เย็มรัมย์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยการ
อาชีพหนองสองห้อง รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
วิทยาลัยการอาชีพพล ท่านรองผู้อำนวยการวุฒิไกร โฮชิน
3

รองผู้อำนวยการฝ่ ายวิชาการ คุณครูอมร ดอนคูน คุณครูแผนก


ช่างกลโรงงาน คุณครูเฉลิมชัย ธิสานสังข์ คุณครูปรียาภรณ์
อบมาและคุณครูณัฐณิชา ซุยจอหอ ครูผส
ู้ อนรายวิชาวิทยาศาสตร์
แผนกสามัญสัมพันธ์ ที่ให้การแนะนำในการออกแบบชิน
้ งาน เป็ นที่
ปรึกษา ตรวจสอบ และแก้ไขข้อบกพร่องในการทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์จนเสร็จสมบูรณ์
คณะผู้จัดทำโครงงานมีความรู้สึกภาคภูมิใจและซาบซึง้ เป็ น
อย่างยิ่งที่ได้รับความกรุณา จากท่านที่ได้กล่าวมาข้างต้นจึงขอ
ขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านเป็ นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี ้

คณะผู้จัดทำ
4

สารบัญ

เรื่อง
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ

สารบัญเรื่อง

สารบัญตาราง

สารบัญรูปภาพ

บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญ
1
1.2 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1
1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1
5

1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
2
1.5 ตัวแปร
2
1.6 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ
2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ลักษณะเหล็กฉาก
3
2.2 ลักษณะของน็อต
4
2.3 ลักษณะปั๊ มดูด
5
2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง
6
2.5 ลักษณะของสวิตซ์
7
2.6 ลักษณะของแบตเตอรี่
7
2.7 ลักษะของท่อ PVC
8
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษาค้นคว้า
6

3.1 วัสดุและอุปกรณ์
9
3.2 วิธีการทดลอง
9
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า
4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์13
4.2 ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลว
แบบทั่วไป 14
และอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
4.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ 15
สารบัญ(ต่อ)

เรื่อง
หน้า
บทที่ 5 สรุป และอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า

5.1 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
16
5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
16 5.3 ประโยชน์
16
7

5.4 ข้อเสนอแนะ
16 เอกสารอ้างอิง
17
ภาคผนวก
18
8

สารบัญตาราง

หน้า

4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์ 13
4.2 ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
14
และอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
4.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ 15
9

สารบัญภาพ

หน้า

รูปภาพที่ 2.1 ลักษณะเหล็กฉาก


3
รูปภาพที่ 2.2 ลักษณะของน็อต
4
รูปภาพที่ 2.3 ลักษณะปั๊ มดูด
5
10

รูปภาพที่ 2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง


6
รูปภาพที่ 2.5 ลักษณะของสวิตซ์
7
รูปภาพที่ 2.6 ลักษณะของแบตเตอรี่
7
รูปภาพที่ 2.7 ลักษะของท่อ PVC
8
รูปภาพที่ ผนวก ข
20
รูปภาพที่ ผนวก ค
22
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
จัดทำขึน
้ เพื่อประกอบการเรียนวิชาโครงงานคณะผู้จัดทำจึงได้
ประดิษฐ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ ที่มีประโยชน์ต่อการใช้
งาน ในการประกอบอาชีพช่างยนต์ และ ช่างกลโรงงาน สามารถ
ลดระยะเวลาการทำงาน และเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์นี ้
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการประกอบอาชีพ อื่น ๆ อีกด้วย
เนื่องจากปั จจุบันน้ำมันเครื่องเป็ นสารหล่อลื่นของเครื่องยนต์
และเครื่องจักรต่าง ๆ การถ่ายน้ำมันเครื่องแต่ละครัง้ นัน

ต้องเสียเวลาเปลี่ยน ต้องใช้อุปกรณ์หลายอย่างและหลายขัน
้ ตอน
ในการปฏิบัติงาน แต่การเปลี่ยนถ่ายเครื่องจักร เช่น เครื่องกลึง
เครื่องกัน เครื่องไส เวลาเปลี่ยนถ่ายจะมีน้ำมันเครื่องตกค้างไม่
สามารถนำน้ำมันออกมมาได้หมด ส่งผลต่อการปฏิบัติงานครัง้ ต่อ ๆ
ไป ซึ่งอาจทำให้อุปกรณ์และผู้ปฏิบัติงานเกิดผลตามมา เช่น
ทำงานได้ไม่สะดวกสบาย
ดังนัน
้ คณะผู้จัดทำจึงได้ค้นหาอุปกรณ์ที่เหลือใช้จากแผนกมา
ประยุกต์เป็ นอุปกรณ์ ดูดของเหลวต่าง ๆ เช่น น้ำหรือ
น้ำมันเครื่อง เป็ นต้น เพื่อเป็ นการถ่ายน้ำมันเครื่องที่หมดอายุใช้งาน
และยังง่ายต่อการปฏิบัติ ไม่ต้องใช้อุปกรณ์มากในการปฏิบัติงาน

1.2 จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1.2.1 ศึกษาการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
1.2.2 ศึกษาประสิทธิภาพการดูดของเหลวโดยเครื่องดูด
ของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
1.2.3 ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานของอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลวอเนกประสงค์

1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1. อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวต่างกันมีความเหมาะสมต่อการ
ดูดของเหลวต่างกัน
2. อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ที่สร้างขึน
้ มี
ประสิทธิภาพดีกว่าเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
3. สถานประกอบการมีความพึงพอใจต่อการใช้งานของ
อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าระดับมาก

1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1.4.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์สร้างขึน
้ ให้ทำงานได้
อย่างสะดวกและไม่ทำให้พ้น

ปฏิบัติงานสกปรก
1.4.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัย
การอาชีพพล
1.4.3 ขอบเขตด้านเวลา
การจัดทำเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์มีกำหนด
ระยะเวลา ตัง้ แต่วันที่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 20 กรกฎาคม
2565

1.5 ตัวแปร
การทดลองที่ 1 การสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ แบบของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ตัวแปรตาม คือ ความเหมาะสมต่อการใช้งาน
ตัวแปรควบคุม คือ ของเหลว (Liquid) ของที่ไม่แข็ง
การทดลองที่ 2 การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้
เครื่องดูดของเหลวทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ ตูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่อง
ดูดของเหลวอเนกประสงค์
ตัวแปรตาม คือ ระยะเวลาที่ดูดของเหลว
ตัวแปรควบคุม คือ ของเหลว (Liquid) ของที่ไม่แข็ง

การทดลองที่ 3 ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานของอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ตัวแปรต้น คือ อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน
ตัวแปรควบคุม คือ ของเหลว (Liquid) ของที่ไม่แข็ง

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
1. เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ (Versatile liquid
extractor) คือ เครื่องที่สามารถดูด
ของเหลว เช่น น้ำ น้ำมันเครื่อง
2. ของเหลว (Liquid) ของที่ไม่แข็ง มีทงั ้ แบบใสและแบบขุ่น
ไหลได้อย่างน้ำ

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการทำโครงงานครัง้ นีไ้ ด้ดำเนินการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและ


งานการทำโครงงานเกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้เป็ นข้อมูลประกอบ
ดำเนินงาน มีดังนี ้
1.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเหล็กฉาก
2.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับน็อต
3.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับปั ้ มดูด
4.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับสีกระป๋อง
5.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับสวิตช์ไฟฟ้ า
6.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบตเตอรี่มอเตอร์ไซค์
7.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับท่อ PVC
2.1 ลักษณะของเหล็กฉาก
เหล็กฉาก (Angle) เป็ นวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานโครงสร้างเหล็ก
ต่อมุมแต่ละจุดให้มีความมั่นคงแข็งแรง เช่น ทำชัน
้ วางของ โครง
หลังคาโรงงาน บ้าน อาคาร เสาส่งไฟฟ้ าและวิทยุ ป้ ายโฆษณา
รวมถึงงานตกแต่งผนังทัง้ ภายในและภายนอกอีกมากมาย โดยทั่วไป
มีลักษณะเป็ นหน้าตัดรูปตัวแอล (L) ที่มีมุมฉากตัง้ ตรง 90 องศา
ขนาดขาสองข้างยาวเท่ากันทัง้ สองด้าน ทำมาจากเหล็กกล้าตีขน
ึ ้ รูป
ที่มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทาน น้ำหนักเบา รับน้ำหนักได้มาก
ประกอบติดตัง้ และรื้อถอนได้ง่าย และสามารถนำกับมาใช้งาน
ใหม่ได้อีก จึงช่วยทำให้ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บและลดค่าใช้จ่าย
ได้มาก

ภาพที่ 1 ลักษณะของเหล็กฉาก

2.2 ลักษณะของน็อต
น็อต (Nut) หรือที่หลาย ๆ คนรู้จักกันในชื่อ “น็อตตัวเมีย”
หรือ “หัวน็อต” นัน
้ มีลักษณะ ที่สำคัญ คือ มีรูปร่างคล้ายกับ
แหวน มีรูตรงกลาง ทัง้ นีก
้ ็เพื่อให้นำมาใช้งานได้ง่าย และยังมีให้เลือก
ใช้หลายประเภทอีกด้วยรูปร่างลักษณะของน็อตมีอยู่ด้วยกันหลาย
แบบ ในการเลือกใช้จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับลักษณะงาน เพื่อให้
นำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และลดความเสียหายที่
อาจเกิดขึน
้ กับอุปกรณ์ วัสดุ รวมถึงลดปั ญหางานสะดุดหรือความล้า
ช้าที่จะเกิดขึน
้ ในอนาคต เนื่องจากการใช้น็อตผิดประเภทได้หน้าที่
ของน็อตหกเหลี่ยม คือ ล็อคตัวสกรูยึดวัสดุไว้ให้มีความแน่นหนามาก
ขึน
้ ป้ องกันการคลายหรือหลุดของตัวสกรู ซึ่งอาจส่งผลต่อความเสีย
หาย ทำให้วัตถุทงั ้ 2 ชิน
้ เลื่อนหลุดจากกัน ในส่วนของหลักการ
ทำงานทั่วไปของน็อตหกเหลี่ยม คือ ใช้สกรูร้อยผ่านรูตรงกลางของ
น็อต เพื่อยึดวัตถุทงั ้ 2 ชิน
้ ตามตำแหน่งที่ได้กำหนดไว้ จากนัน
้ ใช้
ไขควงหรืออุปกรณ์เครื่องมือช่าง เพื่อที่จะหมุนเกลียวของน็อต
หกเหลี่ยมให้เข้าที่ เป็ นการป้ องกันไม่ให้วัตถุทงั ้ 2 ชิน
้ แยกจากกัน

ภาพที่ 2 ลักษณะของน็อต
2.3 ลักษณะของปั ้ มดูด
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) ในชุดประกอบด้วย
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V วัสดุทำจากทองเหลืองและเพลาสแตน
เลส,เกียร์โลหะ ซึ่งมีข้อต่อทองเหลืองมา 1/2"ด้วยจำนวน 2 ตัว
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ถูกสร้างขึน
้ สำหรับการใช้งานต่อเนื่องได้
ใช้ได้นานหลายปี
คุณสมบัติ ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V : ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V
( Gear pump ) : เกียร์ไฟฟ้ าในตัวรองพื้นปั๊ มเหมาะสำหรับน้ำมัน
หล่อลื่นและของเหลวหนืด
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) : วัสดุทำจากทองเหลือง
และสแตนเลส
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) : ปั๊ มถูกสร้างขึน
้ สำหรับ
การใช้งานต่อเนื่อง
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) : กระแสไฟฟ้ าสูงสุด :
10A
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) : ท่อส่ง 1/2"
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) : ระยะดูดลึก 1-3 เมตร
ปั๊ มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V ( Gear pump ) : สามารถดูดน้ำมันเกียร์
ได้ไม่เกินเบอร์ 30
การประยุกต์ใช้ป๊ ั มเกียร์ดูดน้ำมัน DC12V
ใช้กับน้ำมันดีเซล , น้ำมันหล่อลื่น , ของเหลวหนืด , น้ำและน้ำมัน
เชื้อเพลิงเครื่องจักร ( ยกเว้นน้ำมันเบนซิน )
ปั๊ มถูกสร้างขึน
้ สำหรับการใช้งานต่อเนื่อง
การถ่ายน้ำมันหล่อลื่น น้ำมันดีเซล, การถ่ายโอนน้ำ และของเหลว
ต่างๆ
ไม่แนะนำให้ใช้ป๊ ั มดูดน้ำมันกับน้ำมันเบนซิน

ภาพที่ 3 ลักษณะของปั ้ มดูด

2.4 ลักษณะของสีกระป๋อง
สีกระป๋อง(canned paint)เป็ นสีของเหลวที่สามารถส่งไปยัง
พื้นผิวผ่านหัวฉีดสเปรย์ คำนีม
้ ักใช้กับสีต่าง ๆ ที่มีอยู่ในกระป๋องส
เปรย์พกพาราคาไม่แพง สีที่ใช้ใน (airbrushes) และปื นสเปรย์เป็ น
รูปแบบของสีสเปรย์ แต่ในการใช้งานทั่วไปคำว่า "สีสเปรย์" มีความ
หมายเหมือนกันกับรูปแบบสเปรย์กระป๋องสามารถเรียกว่า "สีสเปรย์"
สามารถใช้สีได้ทุกที่ที่ใช้สี แต่มันมีความเกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กับป้ ายเทศบาลและรูปแบบศิลปะใต้ดินที่เรียกว่ากราฟฟิ ตีสเปรย์สีส
เปรย์มีให้เลือกหลายสีจากทุกร้านที่มีสีหรืออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
กระป๋องถูกจัดเก็บและขนย้ายอย่างง่ายดายและเป็ นที่นิยมสำหรับ
การใช้งานสีที่หลากหลาย แรงดันของก๊าซจะทำให้สีออกจากกระป๋อง
ในกระแสที่สม่ำเสมอโดยปกติไม่จำเป็ นต้องใช้แปรงหรือลูกกลิง้ เพื่อ
กระจายสีไปยังพื้นผิว กระป๋องส่วนใหญ่รวมถึงลูกบอลด้านในเพื่อ
ผสมสีทำให้เกิดเสียงสั่นเมื่อกระป๋องสั่นสามารถใช้สีสเปรย์เพื่อสร้าง
สัญลักษณ์และสัญลักษณ์ได้อย่างรวดเร็วและเป็ นระเบียบโดยใช้ลาย
ฉลุที่บล็อกสีจากทัง้ หมดยกเว้นบริเวณที่ต้องการ กระบวนการนีย
้ ังให้
ตัวเองกับกราฟฟิ ตี, การปฏิบัติของข้อความภาพวาดหรืองานศิลปะ
ไปยังอาคารสะพานทางเท้าหรือพื้นผิวอื่น ๆ มักจะผิดกฎหมาย
หลายเมืองมีกฎหมายควบคุมการขายสีสเปรย์และวัสดุอ่ น
ื ๆ
เนื่องจากกราฟฟิ ตี ในขณะที่มันมักจะถูกระบุด้วยความป่ าเถื่อนไม่
กราฟฟิ ตีทงั ้ หมดเป็ นสิ่งผิดกฎหมาย; เจ้าของทรัพย์สินบางรายมองว่า
เป็ นรูปแบบศิลปะและอนุญาตหรือแม้แต่มอบหมาย
ภาพที่ 4 ลักษณะของสีกระป๋อง

2.5 ลักษณะของสวิตซ์
สวิตช์ไฟฟ้ าใช้ในการเปิ ด-ปิ ดอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ โดยใช้หลัก
การที่สวิตช์เปิ ดหรือปิ ดหน้าสัมผัสซึ่งคล้ายกับสะพานที่เชื่อมให้
กระแสสามารถไหลได้ในวงจรไฟฟ้ า หน้าสัมผัสปิ ด (Closed
Contact) คือหน้าสัมผัสเชื่อมต่อกันทำให้กระแสไหลผ่านได้ ส่วน
หน้าสัมผัสเปิ ด (Open Contact) คือหน้าสัมผัสแยกออกจากกัน
ทำให้กระแสไม่สามารถไหลผ่านได้
ภาพที่ 5 ลักษณะของสวิตซ์

2.6 ลักษณะของเหล็กแบตเตอรี่มอเตอร์ไซค์
แบตมอไซค์แบบแห้ง จะพบเจอได้บ่อยในตอนนี ้ สามารถวาง
คว่ำได้ ไม่เหมือนแบตน้ำที่ต้องวางแค่แนวตัง้ มีซีลปิ ดอย่างดี และมี
เส้นไฟเบอร์คอยดูดซับน้ำกรด ไม่ให้หกกระเด็นไปข้างนอกตัวแบต
น้ำกลั่นก็ไม่ต้องเติม มีเซฟตีว้ าล์วให้พร้อม ใช้งานได้นานกว่าแบบน้ำ
ด้วย และก็จะมีแบบเจลเช่นกัน โดยแบบเจลจะมีข้อแตกต่างเล็ก
น้อยตรงที่ใช้เจลผสม

ภาพที่ 6 ลักษณะของแบตเตอรี่มอเตอร์ไซค์
2.7 ลักษณะของท่อ PVC
ท่อ PVC คือ ท่อที่ทำขึน
้ จากโพลิไวนิลคลอไรด์ โดยไม่ผสม
พลาสติกไซเซอร์ ซึ่งชื่ออย่างเป็ นทางการที่ได้ระบุใน มอก. คือ ท่อพีวี
ซีแข็ง แต่คนทั่วไปนัน
้ จะรู้จักมักคุ้นกันในชื่อท่อ PVC กันมากกว่า
โดยในปั จจุบันท่อชนิดนีเ้ ป็ นที่นิยมอย่างมากในวงการก่อสร้าง
เพราะด้วยคุณสมบัติที่ดีหลายอย่างไม่ว่าจะเป็ น คุณสมบัติที่มีความ
เหนียวยืดหยุ่นตัวได้ดี  ทนต่อแรงดันน้ำ  ทนต่อการกัดกร่อน ไม่
เป็ นฉนวนนำไฟฟ้ าเพราะไม่เป็ นตัวนำไฟฟ้ า  เป็ นวัสดุไม่ติดไฟ น้ำ
หนักเบาอีกทัง้ ยังราคาถูกอีกด้วย ท่อ PVC จึงถูกนำมาใช้ในงาน
หลาย ๆ ระบบ อาทิเช่น ระบบประปา ระบบงานร้อยสาย
ไฟฟ้ า ระบบงานระบายน้ำทางการเกษตร อุตสาหกรรม

ภาพที่ 7 ลักษณะของท่อ PVC


บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการศึกษาค้นคว้า
3.1 วัสดุและอุปกรณ์
3.1.1 วัสดุ
1. แบตเตอรี่มอเตอร์ไซค์ จำนวน
1 ลูก
2. ปั๊ มดูด จำนวน 1
เครื่อง
3. สายยางดูดน้ำมัน 6.5 x 10 มม. จำนวน
1 เส้น
4. สายไฟ เบอร์ 22 จำนวน
1 เส้น
5. เหล็กกล่อง ขนาด 2 x 1 หนา 1.2 มม. จำนวน
1 เส้น
6. เหล็กฉาก ขนาด 2 x 1 หนา 1.2 มม. จำนวน
1 เส้น
7. สกูรน็อต จำนวน
6 ตัว
8. ท่อ PVC ขนาด 4 นิว้ 1.8 มม. จำนวน
1 เส้น
9. สวิชต์เปิ ด-ปิ ด จำนวน
1 อัน
10. ก๊อกน้ำ จำนวน 1
อัน
3.1.2 อุปกรณ์
1. เครื่องตัดเหล็ก จำนวน 1
เครื่อง
2. ตู้เชื่อม จำนวน 1
เครื่อง
3. เลื่อยตัดท่อ PVC จำนวน
1 อัน
4. สีกระป๋อง จำนวน 1
กระป๋อง

3.2 วิธีการทดลอง
3.2.1 วิธีสร้างอุปกรณ์
1. ตัดเหล็กกล่องและเหล็กฉาก ขนาดพอเหมาะ เพื่อ
สร้างเป็ นโครงเหล็ก
2. ตัดท่อ PVC เพื่อทำการติดตัง้ กับโครง และเจาะท่อ
PVC เพื่อต่อหัวก๊อกและสายยาง
3. ทำการติดตัง้ แบตเตอร์รี่และต่อวงจรไฟฟ้ า
4. พ่นสีเพื่อความสวยงาม

3.2.2 วิธีการทดลองอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
3.2.2.1 ตอนที่ 1 ทำการเปรียบเทียบผลการออกแบบ
อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว โดยทดสอบความเหมาะสมและ
ความสามารถในการทำงานของเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์แล้ว
บันทึกผลการทดลอง
3.2.2.2 ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องดูด
ของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
1. ใช้อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป ข
จำนวน 3 ครัง้ โดยการจับเวลา (วินาที)
2. ใช้อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
จำนวน 3 ครัง้ โดยการจับเวลา (วินาที)
3. นำเวลาที่ได้ทงั ้ 3 ครัง้ มาวิเคราะห์ผล โดยการ
หาค่าเฉลี่ย

3.2.2.3 ตอนที่ 3 ทดสอบความพึงพอใจต่อการใช้งาน


อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
1. สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลการ
ใช้งานจริงจาก
2. นำอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวไปให้กลุ่มตัวอย่าง
ทดลองใช้งานซึ่งกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน นักศึกษา
คณะครู อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
3. เมื่อทำการทดลองแล้วให้กลุ่มตัวอย่างทำการ
ตอบแบบสอบถามอุปกรณ์ เครื่องดูดของเหลวและนำมา
วิเคราะห์ผล
4. นำแบบสอบถามมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลและ
สรุปผล

3.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.2.3.1 การจัดกระทำข้อมูลการศึกษาความเหมาะสมใน
การสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
3.2.3.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถามความคิดเห็นต่อความ
เหมาะสมในการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
จำนวน 20 ฉบับ และได้ตรวจสอบพบว่าเป็ นแบบสอบถามที่มีความ
สมบูรณ์และ นำไปวิเคราะห์
3.2.3.3 นำแบบสอบถามมาจัดจำแนกตาม เพศ และอายุ
แล้วนำมาตรวจให้คะแนน โดยมีเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี ้

มีความคิดเห็นมากที่สุด = 5 คะแนน
มีความคิดเห็นมาก = 4 คะแนน
มีความคิดเห็นปานกลาง = 3
คะแนน
มีความคิดเห็นน้อย = 2 คะแนน
มีความคิดเห็นน้อยที่สุด = 1
คะแนน
นำคะแนนที่ได้มาหาค่าพารามิเตอร์ด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft office Excel
3.2.4 การหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์

ค่าเฉลี่ยโดยรวมเวลาเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป – ค่าเฉลี่ย
โดยรวมเวลาอุปกรณ์
ดูดของเหลวอเนกประสงค์ x 100

ค่าเฉลี่ยโดยรวมเครื่องดูดของเหลว

3.2.5 การจัดกระทำข้อมูลการศึกษาความพึงพอใจในการใช้
อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
3.2.5.1 เก็บรวบรวมแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการ
ใช้อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ จำนวน 20 ฉบับ และได้
ตรวจสอบพบว่าเป็ นแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์และนำไป
วิเคราะห์
3.2.5.2 นำแบบสอบถามมาจัดจำแนกตาม เพศ และอายุ
แล้วนำมาตรวจให้คะแนน โดยมีเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี ้

มีความพึงพอใจมากที่สุด = 5
คะแนน
มีความพึงพอใจมาก = 4 คะแนน
มีความพึงพอใจปานกลาง = 3
คะแนน
มีความพึงพอใจน้อย = 2 คะแนน
มีความพึงพอใจน้อยที่สุด = 1
คะแนน

นำคะแนนที่ได้มาหาค่าพารามิเตอร์ด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft office Excel
3.2.5.3 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลหลังจากจัดกระทำข้อมูล
แล้ว ผู้ศก
ึ ษาค้นคว้าดำเนิน การวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับ
ขัน
้ ตอนดังนี ้
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่หาค่า
ร้อยละ
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจต่ออุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวของนักเรียน นักศึกษา คณะครู และชาวบ้าน ใน
อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย( X )
โดยรวมและเป็ นรายด้าน

3.2.6 การแปลความหมายค่าเฉลี่ย
การแปลความหมายค่าเฉลี่ยระดับความต้องการ กำหนด
เกณฑ์คะแนนเฉลี่ย โดยใช้เกณฑ์ บุญส่ง นิลแก้ว (2545 :
256) ไว้ดังนี ้

ค่าเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจต่อการใช้
อุปกรณ์ช่วยขุดดิน
4.50 – 5.00 ระดับมากที่สุด
3.50 – 4.49 ระดับมาก
2.50 – 3.49 ระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 ระดับน้อย
1.00 – 1.49 ระดับน้อยที่สุด
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า

จากการทดลองในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์เครื่อง


ดูดของเหลวอเนกประสงค์ มีผลการทดลองดังนี ้

4.1 ผลการศึกษาความเหมาะสมการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
ของเหลว

ตารางที่ 4.1 ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์


เครื่องดูดของเหลว
ระดับคะแนนความคิดเห็นความเหมาะ
สมต่อการสร้างอุปกรณ์เครื่องดูด
รายการ ของเหลว
แบบที่ 1 แบบที่ 2
ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
1. สามารถเคลื่อนย้ายได้ 4.46 4.55
สะดวก
2. การออกแบบทันสมัย 4.44 4.45
สวยงาม
3. มีความคงทน แข็งแรง 4.45 4.57
4. การจัดวางอุปกรณ์ได้อย่าง 4.57 4.68
เหมาะสม
5. น้ำหนักของชิน
้ งานที่เหมาะ 4.47 4.50
ต่อการใช้งาน
6. ความสมบูรณ์ของชิน
้ งาน 4.48 4.55
7. ราคาต้นทุนในการสร้าง 4.47 4.64
8. ลดระยะเวลาในการใช้งาน 4.50 4.72
โดยรวม 4.48 4.58

จากตารางที่ 4.1 ผู้ทดลองได้ประเมินความเหมาะสมต่อการ


สร้างอุปกรณ์ดูดของเหลวโดยรวมอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 1 มี
ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มาก ( =4.48) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบ
ว่า ทุกด้านที่มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปกรณ์ดูด
ของเหลว แบบที่ 2 มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.58) เมื่อ
พิจารณาเป็ นรายด้าน ด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ลดระยะ
เวลาในการใช้งาน ( =4.72) รองลงมาคือ ด้านการจัดวางอุปกรณ์
ได้อย่างเหมาะสม ( =4.68) ด้านที่มีความเหมาะสมน้อยที่สุด คือ
ด้านการออกแบบทันสมัย ( =4.45)

4.2 ผลการหาประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและ
อุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
จากการทดลองเครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์ ผลการทดลอง ดังตารางที่ 4.2
ตารางที่ 4.2 ผลการหาประสิทธิภาพของเครื่องดูดของเหลว
แบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
เวลาในการใช้ เวลาในการใช้
เครื่องดูดของเหลวแบบ อุปกรณ์
ทั่วไป เฉลี่ย เครื่องดูดของเหลว เฉลี่ย
(วินาที) นาที อเนกประสงค์ (วินาที) นาที
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ ครัง้ ที่
2 3 2 3
90 98 101 96.33 28 26 27 27.00
107 105 104 105.3 29 30 31
30.00
3
114 116 110 113.3 33 35 26
31.33
3
โดยรวม 105. โดยรวม 29.4
00 4
ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับ
เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
เพิ่มขึน
้ คิดเป็ นร้อยละ 28.04

จากตารางที่ 4.2 การหาประสิทธิภาพของเครื่องดูด


ของเหลวแบบทั่วไปและอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
พบว่า เวลาในการใช้เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป ใช้เวลาเฉลี่ย
96.33, 105.33, และ 113.33 นาที ส่วนอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์ ใช้เวลาเฉลี่ย 27.00, 30.00 และ 31.33 นาที ตาม
ลำดับ เมื่อนำเวลาทัง้ หมดเฉลี่ยโดยรวมและหาประสิทธิภาพ พบว่า
ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์เทียบกับ
เครื่องดูดของเหลวแบบทั่วไป
เพิ่มขึน
้ คิดเป็ นร้อยละ 28.04

4.3 ผลการสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานจริงของอุปกรณ์
เซาะร่องลิ่ม
จากการสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานจริงของอุปกรณ์
ดูดของเหลวของผู้ทดลองใช้งาน ผลการศึกษาดังตารางที่ 4.3

ตารางที่ 4.3 ผลการสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งาน


จริงของอุปกรณ์ดูดของเหลว
ลำดับ รายการความพึงพอใจ ระดับความ
ที่ พึงพอใจ
1 รูปทรงมีขนาดเหมาะสม สามารถจัดได้ง่าย 4.55
2 ทำจากวัสดุที่หาง่าย ราคาไม่แพง 4.57
3 การออกแบบสร้างคำนึงถึงความปลอดภัย 4.54
4 ความคุ้มค่าในการใช้งาน 4.56
5 สามารถใช้งานได้นาน 4.50
6 สามารถเก็บน้ำมันเครื่องปริมาณที่เยอะ 4.68
7 สามารถทำความสะอาดได้ง่าย 4.58
8 ภาพรวมความพึงพอใจในการใช้งาน 4.77
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ย 4.59

จากตารางที่ 4.3 ผู้ทดลองใช้อุปกรณ์ดูดของเหลว ความพึง


พอใจต่ออุปกรณ์ดูดของเหลวโดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (
=4.59) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า ความพึงพอใจระดับมาก
ที่สุด คือ ภาพรวมความพึงพอใจในการใช้งาน ( =4.77) รองลงมา
คือ สามารถเก็บน้ำมันเครื่องปริมาณ ที่เยอะ ( =4.68) สามารถ
ทำความสะอาดได้ง่าย( =4.58) ทำจากวัสดุที่หาง่าย ราคาไม่แพง (
=4.57) ความคุ้มค่าในการใช้งาน( =4.56) รูปทรงมีขนาดเหมาะ
สม สามารถจัดได้ง่าย ( =4.55) การออกแบบสร้างคำนึงถึง
ความปลอดภัย( =4.54) สามารถใช้งานได้นาน( =4.50) ตาม
ลำดับ
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า

5.1 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ผลการทดลองหาความเหมาะสมต่อการสร้างอุปกรณ์ดูด
ของเหลวโดยรวมอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 1 มีค่าเฉลี่ย อยู่ใน
ระดับ มาก ( =4.48) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า ทุกด้านที่มี
ความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปกรณ์ดูดของเหลว แบบที่ 2
มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.58) เมื่อพิจารณาเป็ นราย
ด้าน ด้านที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ลดระยะเวลาในการใช้งาน
( =4.72) รองลงมาคือ ด้านการจัดวางอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม (
=4.68) ด้านที่มีความเหมาะสมน้อยที่สุด คือ ด้านการออกแบบทัน
สมัย ( =4.45)

5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
5.2.1 จากการดำเนินการเครื่องดูดของเหลวเอนกประสงค์ เพื่อ
ให้ได้ลักษณะรูปทรงที่เหมาะสมทางกลุ่มผู้สร้างได้ดำเนินการสร้าง
เครื่องต้นแบบขึน
้ มาก่อนและดำเนินการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ
จากนัน
้ ทำการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนทำให้ได้เครื่องดูดของเหลว
เอนกประสงค์ ที่มีประสิทธิภาพและเป็ นที่พึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่
เข้าชมการทดสอบ
5.2.2 จากการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องดูด
ของเหลวเอนกประสงค์ และให้กลุ่ม
ตัวอย่างคือนักเรียนนักศึกษาแผนกวิชาช่างกลโรงงาน ประเมินความ
พึงพอใจในการใช้งาน ซึ่งโดยภาพความพึงใจอยู่ในระดับมาก

5.3 ประโยชน์
5.3.1 ได้อุปกรณ์ดูดของเหลวที่มีประสิทธิภาพ
5.3.2 อุปกรณ์ดูดของเหลวช่วยลดระยะเวลาในการใช้งานได้
มากขึน

5.4 ข้อเสนอแนะ
5.4.1 วัสดุบางส่วนสามารถทำให้มีความแข็งแรงเพื่อให้ใช้งาน
ได้นานยิ่งขึน

5.4.2 เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน
้ ควรคำนึงถึงความสะดวก
และความปลอดภัยในการทำงาน

เอกสารอ้างอิง

บริษัท ซีเจ เมทัลลิค จำกัด. (2562). เหล็กกล่อง. สืบค้นเมื่อ


4 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.cj.co.th/carbon-
steel-tubes
บริษัท แอ๊ดวานซ์ ซินดิเคท จำกัด. (2562). สกรู – น๊อต.
สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2565, จาก http://www.advance-
thai.com
Misumi thailand. (2562). ความหมายของของเหลว.
สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2565, จาก
https://th.misumi-ec.com/pr/recommend_category/
stud_bolts201909
Onestockhome. (2562). ท่อ PVC. สืบค้นเมื่อ 4
กรกฎาคม 2565,
จาก https://www.onestockhome.com/th/steel/galvanized-
steel-round-pipe
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพ
การใช้งาน
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในประสิทธิภาพ
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
วิทยาลัยการอาชีพพล
คำชีแ
้ จง โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างที่ตรงกับความ
คิดเห็นของท่านมาที่สุด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ  ชาย  หญิง
2. ระดับชัน
้  ปวช.  ปวส.
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นต่อความพึงพอใจในประสิทธิภาพของ
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ระดับความคิดเห็น
ข้อ รายการ มา มา ปาน น้อ น้อ
ที่ ก ก กลา ย ย
ที่สุ ง ที่สุ
ด ด
1 รูปทรงมีขนาดเหมาะสม
สามารถจัดได้ง่าย
2 ทำจากวัสดุที่หาง่าย ราคาไม่
แพง
3 การออกแบบสร้างคำนึงถึง
ความปลอดภัย
4 ความคุ้มค่าในการใช้งาน
5 สามารถใช้งานได้นาน
6 สามารถเก็บน้ำมันเครื่อง
ปริมาณที่เยอะ
7 สามารถทำความสะอาดได้
ง่าย
8 ภาพรวมความพึงพอใจใน
การใช้งาน

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
...................................................................................................
...........................................……………………………………………….
……………....................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
......................................
ภาคผนวก ข
ภาพแสดงการทดสอบประสิทธิภาพการใช้งาน
เครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาพที่ 9 แสดงการทดสอบการใช้งานเครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์
ภาพที่ 10 แสดงการทดสอบการใช้งานเครื่องดูดของเหลว
อเนกประสงค์

ภาคผนวก ค
ภาพแสดงการสร้างเครื่องดูดของเหลวอเนกประสงค์
ภาพที่ 11 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน ภาพที่
12 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน

ภาพที่ 13 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน ภาพที่


14 ภาพแสดงการปฏิบัติงาน

You might also like