You are on page 1of 4

บ ทความ ดร.

สมบูรณ์ โอตรวรรณะ
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำ�นวณทางวิศวกรรม
หน่วยวิจัยการออกแบบและวิศวกรรม
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
e-mail: somboono@mtec.or.th

มุมมองต่อการประยุกต์ใช้ระบบขนส่ง
และจราจรอัจฉริยะกับประเทศไทย
ระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System: ITS) ถือว่าเป็นหนึ่งใน
เทคโนโลยีมีศักยภาพสูงในการน�ำมาใช้บริหารจัดการด้านการจราจรและขนส่งเพื่อบรรเทาปัญหา
ต่างๆ เช่น ปัญหาการจราจรติดขัด ปัญหามลภาวะจากการจราจรและขนส่ง เป็นต้น บทความนี้จะ
อธิบายถึงเทคโนโลยีนี้ ตลอดจนให้มุมมองต่อการน�ำมาประยุกต์ใช้กับประเทศไทย
ในสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบนั ทีม่ กี ารเคลือ่ นย้ายของผูค้ นและสิง่ ของจากทีห่ นึง่ ไปยังอีก
ที่หนึ่งมากขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้การบริหารจัดการที่ดีด้านการจราจรและขนส่งมีความจ�ำเป็นเพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด แนวคิดนี้ ในหลายประเทศเรียกว่า “Smart Mobility” [1] ซึ่งสามารถบรรเทา
ปัญหาการจราจรติดขัดที่เป็นปัญหาหลักของเกือบทุกเมืองใหญ่ในโลก
16

ระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System: ITS) [2-5] หรือที่เรียกสั้นๆ


ในบทความนี้ว่า “ระบบ ITS” เป็นการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ ใช้บริหารจัดการระบบ
การขนส่งและจราจร เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มความปลอดภัย และอ�ำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
ผู้คนและสิ่งของ ตัวอย่างของระบบ ITS ได้แก่
• เว็บไซต์หรือโมบายแอปพลิเคชันส�ำหรับวางแผนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ เป็น
เครื่องมือช่วยให้ผู้เดินทางสามารถเลือกวิธีการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด เมื่อผู้ ใช้กรอกจุดเริ่มต้นและ
จุดหมายของการเดินทางแล้ว ระบบจะให้วิธีการเดินทางต่างๆ โดยอาจจะเรียงล�ำดับที่แสดงได้หลายวิธีตามค่า
ต่างๆ (ภาพที่ 1) เช่น เวลารวมที่ใช้เดินทาง ระยะทางทีต่ อ้ งเดิน ค่าโดยสาร จ�ำนวนครัง้ ของการเปลีย่ นยานพาหนะ
เป็นต้น

ภาพที่ 1 เว็บไซต์ส�ำหรับวางแผนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในประเทศออสเตรเลีย
[https://translink.com.au/]

• ป้ า ยหรื อ โมบายแอปพลิ เ คชั น ติ ด ตาม • บัตรจ่ายค่าโดยสาร เป็นบัตรที่ผู้เดินทาง


ต�ำแหน่งรถประจ�ำทาง ท�ำให้ผเู้ ดินทางสามารถทราบ สามารถซื้ อ ได้ ล ่ ว งหน้ า และเติ ม เงิ น ลงในบั ต ร ใน
ได้ว่ารถที่ต้องการขึ้นจะมาในเวลาใด (ภาพที่ 2) ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว บั ต รประเภทนี้ จ ะใช้ จ ่ า ยค่ า
เดินทางได้ทกุ ระบบขนส่งสาธารณะ เช่น รถบัส รถไฟ
เรือ เป็นต้น
• ระบบจ่ายค่าผ่านทางอัตโนมัติ เป็นระบบที่
ผู ้ เ ดิ น ทางโดยรถส่ ว นตั ว สามารถซื้ อ อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อช�ำระเงินได้ล่วงหน้าและเติมเงิน
ลงไป เมื่ อ ถึ ง ด่ า นเก็ บ ค่ า ผ่ า นทางจะมี เ ซ็ น เซอร์ ที่
ตรวจจับและหักเงินอัตโนมัติ ระบบที่มีประสิทธิภาพ
สูงอาจจะไม่มีด่านเก็บค่าผ่านทางเลยก็ ได้ ท�ำให้รถ
สามารถวิ่งผ่านจุดที่หักเงินได้ โดยไม่ต้องหยุดรถหรือ
ภาพที่ 2 ป้ายบอกข้อมูลรถประจ�ำทาง ชะลอความเร็ว
ในเมืองพอร์ตแลนด์ รัฐออริกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา
[https://en.wikipedia.org/wiki/Passenger_information_system]
17

• ระบบตรวจวัดความหนาแน่นของการจราจร • รถยนต์ที่มีระบบช่วยขับขี่อัตโนมัติ เป็น


สามารถตรวจวัดและรายงานข้อมูลความหนาแน่นและ เทคโนโลยีที่ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ขับขี่ โดยอาจมี
ความเร็ ว ในการสั ญ จรของเส้ น ทางต่ า งๆ ได้ แ บบ ฟังก์ชันต่างๆ เช่น การแจ้งเตือนและ/หรือชะลอ
เรียลไทม์ (real time) รวมทัง้ สามารถรายงานจุดต่างๆ ความเร็วเมื่ออยู่ใกล้ยานพาหนะอื่นหรือสิ่งกีดขวาง
ที่เกิดอุบัติเหตุได้อีกด้วย นอกจากการรายงานข้อมูล มากเกินไป การช่วยจอดในช่องทีต่ อ้ งการโดยอัตโนมัติ
แบบเรียลไทม์แล้ว ข้อมูลต่างๆ ของแต่ละวันเวลายัง การขับขี่ ในโหมดอัตโนมัติในช่วงทางตรง (cruise
สามารถรวบรวมไว้ เ พื่ อ ท� ำ นายสภาวะการจราจร control) เป็นต้น
ล่วงหน้าได้
ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว อย่ า งเกาหลี ใ ต้ มี
• ระบบตรวจจับการท�ำผิดกฎจราจร ปกติ การเตรียมการอย่างดีในการน�ำระบบ ITS มาประยุกต์
ระบบจะเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ความเร็ว การเปลี่ยน ใช้ [5] โดยในช่วง ค.ศ. 1993-1998 มีการศึกษาหา
ช่องทาง เลขทะเบียนรถ ภาพผูข้ บั ขี่ เป็นต้น โดยอาศัย ข้อมูลและด�ำเนินโครงการน�ำร่องในการประยุกต์ ใช้
กล้องและเซ็นเซอร์ตา่ งๆ เพือ่ เป็นข้อมูลและหลักฐาน ระบบ ITS จากนั้นในช่วง ค.ศ. 1999-2004 จึงออก
ในการด�ำเนินการเอาผิดกับผู้ฝ่าฝืนกฎจราจร กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และด�ำเนินการใช้งานอย่างเต็ม
รูปแบบตั้งแต่ ค.ศ. 2005 และการใช้งานก็ ได้ขยาย
• ระบบแสดงข้อมูลที่จอดรถและน�ำทางไป
ตัวขึ้นเรื่อยๆ
ยังที่จอดที่ว่าง สามารถส่งข้อมูลที่จอดรถที่ว่างผ่าน
ทางป้ายหรือโมบายแอปพลิเคชันให้แก่ผู้ขับขี่ทราบ ตั้งแต่ ค.ศ. 2011 ทางรัฐบาลเกาหลีถือว่าเป็น
และยังสามารถน�ำทางผูข้ บั ขี่ไปจอดยังจุดทีย่ งั ว่างอยูไ่ ด้ ยุคต่อไป (next generation) ของระบบ ITS ซึ่งจะมี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการใช้งานที่มากขึ้น
• ศูนย์บังคับการจราจร เป็นศูนย์กลางใน
เรื่อยๆ จากข้อมูลใน ค.ศ. 2011 ได้มีการใช้งานระบบ
การควบคุมสัง่ การการจราจรและขนส่งให้เหมาะสมกับ
ITS ครบ 100% บนทางด่วน (expressway), 21%
สภาพการณ์ต่างๆ (ภาพที่ 3) เช่น หากทราบว่ามีรถ
บนทางหลวง (highway) และ 11% บนถนนท้องถิ่น
พยาบาลที่ ต ้ อ งการเดิ น ทางอย่ า งรวดเร็ ว ที่ จุ ด ใดก็
(local government road) จากการน�ำระบบ ITS มา
สามารถควบคุ ม สั ญ ญาณไฟจราจรให้ ร ถพยาบาล
ประยุกต์ ใช้ท�ำให้ความเร็วเฉลี่ยของยานพาหนะบน
คันนั้นเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น เป็นต้น
ท้องถนนในเกาหลีเพิ่มขึ้นได้ถึง 15-20% ส่งผลให้
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ ใช้และปริมาณก๊าซคาร์บอนได-
ออกไซด์ที่ปล่อยสู่บรรยากาศลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ
นอกจากการประยุกต์ ใช้ ในประเทศแล้วเกาหลียังได้
ส่งออกระบบ ITS ไปยังประเทศต่างๆ กว่า 37 ประเทศ
ในประเทศไทย พบว่ามีการน�ำระบบ ITS มาใช้
มากขึ้นเรื่อยๆ [3-4] เช่น ระบบป้ายอัจฉริยะแสดง
สภาพการจราจร บัตรโดยสารรถไฟฟ้า BTS และ
MRT อุปกรณ์ช�ำระค่าผ่านทาง Easy Pass และ M
Pass ป้ายแสดงข้อมูลที่จอดรถในห้างสรรพสินค้า
เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การใช้ระบบ ITS กับประเทศไทย
ภาพที่ 3 ศูนย์ควบคุมการจราจร ก็ยังสามารถพัฒนาได้อีกมาก เช่น
ในเมืองเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย
[https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Main_Roads_ • ระบบเตือนเมื่อถึงจุดตัดกับทางรถไฟ เป็น
Western_Australia_Traffic_Operations_Centre_02_ สิง่ จ�ำเป็นมากเพราะในหลายๆ จุดตามต่างจังหวัดไม่มี
(E37@OpenHousePerth2014).JPG]
อุปกรณ์กั้น (ภาพที่ 4) ท�ำให้เกิดอุบัติเหตุอยู่บ่อยครั้ง
ซึ่งหากยังไม่มีระบบอุปกรณ์กั้นก็อาจท�ำเป็นระบบไฟ
สัญญาณจราจร (ไฟเขียว-ไฟแดง) ไปก่อนเพื่อลด
โอกาสการเกิดอุบัติเหตุ
18

เครื่องมือที่เมืองใหญ่ๆ ในประเทศควรต้องมีเพื่อ
ส่งเสริมให้มีการใช้งานระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น
อย่างไรก็ตามการพัฒนาระบบนี้ให้มคี วามสมบูรณ์ตอ้ ง
อาศัยข้อมูลที่สมบูรณ์ของระบบขนส่งแต่ละประเภท
ซึ่งข้อมูลของกรุงเทพมหานครยังต้องพัฒนาอีกมาก
เช่น ข้อมูลของรถโดยสารประจ�ำทาง ข้อมูลของ
เรือด่วนเจ้าพระยา เป็นต้น
การพัฒนาด้านระบบ ITS ของประเทศไทยมี
ความจ�ำเป็นทั้งในส่วนการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ดังที่
ภาพที่ 4 จุดตัดทางรถไฟที่ไม่มีระบบอุปกรณ์กั้น
กล่าวไปข้างต้น ซึง่ ควรพิจารณาให้เหมาะกับบริบทของ
[http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name= ประเทศ เช่น ความพร้อมของสัญญาณอินเทอร์เน็ต
Forums&file=viewtopic&t=2482&start=270] ราคาของเทคโนโลยีที่น�ำมาใช้ เป็นต้น รวมทั้งรัฐบาล
ควรให้ ค วามส� ำ คั ญ และออกนโยบายต่ า งๆ ใน
• ตัว๋ โดยสารรถไฟฟ้า ควรปรับปรุงให้บตั รเติม การส่งเสริม นอกจากนัน้ การพัฒนาตัวเทคโนโลยีตา่ งๆ
เงินของรถไฟฟ้า BTS กับ MRT สามารถใช้ด้วยกัน เองในประเทศก็ มี ค วามส� ำ คั ญ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ระบบ
ได้ทั้งสองระบบ นอกจากนั้นยังควรสร้างแรงจูงใจ ซอฟต์แวร์รวมทั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ เช่น เซ็นเซอร์ วัสดุ
ต่างๆ ในการใช้งานระบบเติมเงินล่วงหน้าเพือ่ ลดความ อุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งน่าจะมีการพัฒนาให้เหมาะ
หนาแน่นของการซื้อตั๋วหน้าสถานี กับสภาพการใช้งานในประเทศไทย นอกจากนัน้ ยังอาจ
• เว็บไซต์หรือโมบายแอปพลิเคชันส�ำหรับ พัฒนาเพือ่ ส่งออกให้กบั ประเทศทีม่ ลี กั ษณะการใช้งาน
วางแผนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ เป็น ใกล้เคียงกันได้

เอกสารอ้างอิง
1. http://www.arup.com/smart_mobility
2. https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะ
3. https://www.youtube.com/watch?v=uHoUqHujR_g
4. https://www.youtube.com/watch?v=uHoUqHujR_g
5. https://www.youtube.com/watch?v=dS4pWnNlxfA

You might also like