You are on page 1of 10

1

โครงงาน (Project)

การวิเคราะห์กรณีศกึ ษา เรื่ อง แพลตฟอร์ ม


Palleter

จัดทำโดย
นายจีรยุทธ คงสุทธิ์ รหัสนักศึกษา 1810111110028

เสนอ
อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรจน์ เขมาวุฒานนท์

โครงงานฉบับนี ้เป็ นส่วนนึงของรายวิชาการฝึ กงาน รหัสวิชา BN300


ภาคฤดูร้อน ปี การศึกษา 2563
คณะบริ หารธุรกิจ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย

คำนำ
โครงงานฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชาการฝึ กงาน รหัสวิชา BN300 โดยมีจดุ ประสงค์ เพื่อนำความรู้หรื อทฤษฎีที่ได้
เรี ยนมาวิเคราะห์กรณีศกึ ษา เรื่ อง แพลตฟอร์ ม Palleter ซึง่ มีเนื ้อหาเกี่ยวกับความเป็ นมาและสถานการณ์ปัจจุบนั การ
วิเคราะห์ S.W.O.T ของ Palleter ประเด็นที่สะท้ อนให้ เห็นปั ญหา วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการจัดการเทคโนโลยีที่ไม่
เหมาะสม การดำเนินการการแก้ ไขปั ญหา กลยุทธ์การตอบสนองต่อการจัดการที่ไม่เหมาะสม ที่เป็ นเหตุให้ กิจการปิ ดตัวลง
ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะอื่น ๆ
2

ผู้จดั ทำได้ จดั ทำกรณีศกึ ษานี ้ในการโครงงาน เนื่องมาจากเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจ รวมถึงเป็ นการนำข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์
ต่อตนเอง และผู้อื่นมาเผยแพร่ ผู้จดั ทำจะต้ องขอขอบคุณ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรจน์ เขมาวุฒานนท์ ผู้ให้ ความรู้
และแนวทางการศึกษา ผู้จดั ทำหวังว่าโครงงานฉบับนี ้จะให้ ความรู้ และเป็ นประโยชน์แก่ผ้ อู า่ นทุก ๆ ท่าน

จีรยุทธ คงสุทธิ์
ผู้จัดทำ

สารบัญ
เรื่อง หน้ า
ความเป็ นมาและสถานการณ์ปัจจุบนั 4
การวิเคราะห์ S.W.O.T ของ Palleter 5
ประเด็นที่สะท้ อนให้ เห็นปั ญหา 5
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ ้นจากการจัดการเทคโนโลยีที่เหมาะสม 6
การดำเนินการแก้ ไขปั ญหา กุลยุทธ์ตอบสนองต่อการจัดการที่ไม่เหมาะสม 6
ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะอื่น ๆ 10
เอกสารอ้ างอิง 11
3

แพลตฟอร์ ม Palleter

ความเป็ นมาและสถานการณ์ ปัจจุบัน


4

Palleter ก่อตังโดย ้ Märt Kelder ผู้ซงึ่ เคยเป็ นผู้ก่อตังโปรแกรม


้ Skype ก่อตังในเดื
้ อนพฤศจิกายน ปี 2015 มอง
เห็นโอกาสรถบรรทุกการขนส่งสินค้ าที่กะรจัดกระจายอยู่ทวั่ ไป ว่าเป็ นโอกาสที่ดีที่จะใช้ เทคโนโลยีเข้ ามาจัดการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการบริ การจัดการขนส่งด้ วยรถบรรทุกให้ ดียิ่งขึ ้น และมีความตังใจที ้ ่อยากจะปฏิวตั ิตลาดการขนส่งสินค้ า
ยุโรปโดยมีแพลตฟอร์ มแอปพลิเคชัน่ ให้ ผ้ ูที่มีความต้ องการขนส่งสินค้ า (อุปสงค์) จับคูก่ บั ผู้ที่มีความต้ องการขายระวาง
สินค้ าหรื อผู้ที่มีพื ้นที่ระวางสินค้ าสำหรับขนส่ง (อุปทาน) แนวคิดรูปแบบธุรกิจดังกล่าวทำให้ Palleter ประสบความสำเร็จ
จากการระดมทุนจากผู้ลงทุนเป็ นอย่างมาก สิ่งที่ดงึ ดูดใจนักลงทุน มีดงั นี ้

- นักลงทุนมองว่าเป็ นแนวคิดการจับคูร่ ะหว่างอุปสงค์และอุปทานที่ดี และสามารถแก้ ไขปั ญหาความไม่มี


ประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้ าได้ (ลดการขนส่งเที่ยวเปล่าที่เรี ยกว่า Black-haul)

- Palleter ถูกพัฒนาเทคโนโลยีอนั ชาญฉลาด เช่น มีการเชื่อมต่อ GPS มีการบันทึกข้ อมูลอัตโนมัติ มีฐานข้ อมูลที่
เป็ นระบบฐานข้ อมูล Big data

- มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อระหว่างระบบและผู้ขนส่ง

- สามารถทำธุรกรรมระหว่างผู้ให้ บริ การและผู้ที่ต้องการขนส่งบนแพลตฟอร์ มได้ เลย

แต่อย่างไรก็ตาม Palleter ปิ ดตัวลงในปี 2017 (เปิ ดธุรกิจได้ ประมาณ 1 ปี ครึ่ง) และได้ คืนเงินทุนให้ แก่ผ้ ู
ลงทุน เนื่องจากเป็ นการแก้ ไขปั ญหาระดับอุตสาหกรรมและระดับมหภาค และไม่ได้ เป็ นการแก้ ไขการปฏิบตั ิการหรื อ
เทคโนโลยี

แม้ Palleter สามารถรับรู้ปัญหาทังหมด


้ แต่ก็ไม่สามารถแก้ ไขปั ญหาได้ ทงหมด
ั้ เทคโนโลยีของ Palleter ก็ยงั
ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมได้

วิเคราะห์ S.W.O.T ของ Palleter

1. Strengths จุดแข็ง
- สามารถแก้ ไขปั ญหาความไม่มีสิทธิภาพในการขนส่งสินค้ าได้
- มีการเชื่อมต่อ GPS มีการบันทึกข้ อมูลอัตโนมัติ มีฐานข้ อมูล Big Data
- มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อระหว่างระบบและผู้ขนส่ง
- สามารถทำธุรกรรมระหว่างผู้ให้ บริ การและผู้ที่ต้องการขนส่งบนแพลตฟอร์ มได้ เลย
2. Weakness จุดอ่ อน
- คามร่วมมือของคนในองค์กรของผู้ให้ บริ การขนส่งและผู้ต้องการขนส่ง
- ไม่มีการประเมินเกี่ยวกับความซับซ้ อนในการแชร์ ข้อมูล
- ไม่นำข้ อมูลออกจากระบบเก่า
3. Opportunity โอกาส
5

- ใช้ เทคโนโลยีเข้ ามาจัดการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการขนส่งด้ วยรถบรรทุก โดยจัดทำแพลตฟอร์ มแอป


พลิเคชัน่ ให้ ผ้ ทู ี่มีความต้ องการขนส่งสินค้ าจับคูก่ บั ผู้ที่มีความต้ องการขายระวางสินค้ าหรื อผู้ที่มีพื ้นที่ระวาง
สำหรับขนส่ง
4. Threats อุปสรรค
- ลูกค้ าไม่มีความกล้ าที่จะเสี่ยงใช้ แพลตฟอร์ มใหม่ทงหมด ั้
- เทคโนโลยีของ Palleter ยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมได้

ประเด็นที่สะท้ อนให้ เห็นปั ญหา


- Palleter ไม่มีความต้ องการที่จะนำข้ อมูลออกจากระบบเก่าเนื่องจากคิดว่าเสียเวลาและเสียค่าใช้ จ่ายมาก
- ฝ่ าย IT ของ Palleter เน้ นและอยากจะใช้ ระบบเก่าต่อไปมากกว่าการใช้ ระบบทังหมด ้
- ไม่มีลกู ค้ าที่มีศกั ยภาพที่กล้ าเสี่ยงใช้ แพลตฟอร์ มใหม่ทงหมด
ั้
- Palleter ไม่ได้ การประเมินเกี่ยวกับความซับซ้ อนในการแชร์ ข้อมูลซึง่ กันและกัน
- มีพื ้นที่สำรองเตรี ยมไว้ สำหรับการขนส่ง แต่จริ ง ๆ แล้ วไม่ได้ ถกู นำมาใช้ เลย
- Palleter ไม่ต้องการที่จะเปลี่ยนเส้ นทางการขนส่งแม่ระยะทางนันจะสั ้ นกว่
้ า
- อัตราค่าขนส่งแพงกว่าค่าขนส่งแบบเดิม
- การใช้ แพลตฟอร์ มให้ เกิดประสิทธิภาพต้ องอาศัยความร่วมมือทังในองค์ ้ กรของผู้ให้ บริ การขนส่งและผู้ต้องการ
ขนส่ง

วิเคราะห์ ผลกระทบที่เกิดขึน้ จากการจัดการเทคโนโลยีท่ ไี ม่ เหมาะสม

Palleter ไม่มีความต้ องการที่จะนำข้ อมูลออกจากระบบเก่า เนื่องจากคิดว่าเสียเวลาและเสียค่าใช้ จ่ายมาก ฝ่ าย


IT ของ Palleter เน้ นและอยากจะใช้ ระบบเก่าต่อไปมากกว่าระบบใหม่ทงหมด ั้ ไม่มีการประเมินเกี่ยวกับความซับซ้ อนการ
แชร์ ข้อมูลซึง่ กันและกัน กรณีตา่ ง ๆ นีทำ
้ ให้ เกิดผลกระทบตามมามากมาย ทำให้ ลกู ค้ าไม่กล้ าเสี่ยงใช้ แพลตฟอร์ ม การแชร์
ข้ อมูลซึง่ กันและกันเกิดความผิดพลาดในการสื่อสารต่าง ๆ การนำข้ อมูลเก่าออกจากระบบก็เช่นกัน ถ้ าหากไม่นำออก ก็จะ
ทำให้ เกิดการสับสนในข้ อมูลแล้ วว่าข้ อมูลไหนมันยังใช้ อยู่หรื อไม่ใช้ แล้ ว ข้ อมูลมันมีมากขี ้นเรื่ อย ๆ อยู่แล้ ว และในเรื่ องของ
ระบบนันควรใช้
้ ระบบแบบผสมผสานทังของเก่ ้ าและใหม่มากกว่าการที่จะใช้ แต่ระบบเก่า เพราะระบบใหม่และเก่าต่างมี
ข้ อดีและข้ อเสียต่างกัน ควรนำข้ อดีของทังสองระบบนั
้ นมาพั
้ ฒนา ปรับปรุง ประสิทธิภาะให้ ดีขึ ้น ถ้ าหากฝ่ าย IT ยังยืนยันที่
จะใช้ แต่ระบบเดิม เวลาเกิดปั ญหาหรื อข้ อผิดพลาด มันก็จะทำให้ เกิดแต่ปัญหาเดิม ๆ ที่ไม่ยอมแก้ ไขสักที อาจทำให้ เกิด
การสูญเสียลูกค้ า เสียเวลา และเสียค่าใช้ จ่ายในการขนส่งเป็ น จำนวนมาก
6

การดำเนินการแก้ ไขปั ญหา กลยุทธ์ ตอบสนองต่ อการจัดการที่ไม่ เหมาะสม ที่เป็ นเหตุให้ กิจการต้ องปิ ดตัวลง

ดำเนินการแก้ ไขปั ญหาโดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่นิยมนำมาใช้ ในการจัดการโลจิสติกส์และการจัดการ


ซัพพลายเชน มีดงั นี ้

1. Global Positioning System (GPS)

เป็ นการส่งข้ อมูลผ่านช่องทางต่าง ๆ และสามารถส่งข้ อมูลผ่าน Link กับวิดีโอได้ ซึง่ ผู้ประกอบการนิยมใช้ ในการ
ขนส่งทางถนนมากกว่าการขนส่งทางน้ำและทางรางซึง่ เทคโนโลยีการขนส่งทางถนนโดยรถบรรทุก ส่วนใหญ่จะมีการติดตัง้
ระบบ GPS Tracking เพื่อเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขนส่ง เพราะจะช่วยลดต้ นทุนในการเดินทางโดยมีการ
วางแผนการเดินทางที่จะทำให้ ประหยัดค่าน้ำมัน สามารถควบคุมพฤติกรรมการขับรถของคนขับได้ สามารถติดตาม
ตำแหน่งของยานพาหนะได้ ตลอดเวลาสามารถรายงานผลเที่ยววิ่งของแต่ละวันหรื อช่วงวันได้ เส้ นทางที่รถวิ่งไปไหนมาบ้ าง
รวมถึงระยะทางและการใช้ น้ำมัน และการเก็บประวัติการเกิดอุบตั ิเหตุ เพื่อใช้ ในการวิเคราะห์ระบบการทำงาน และนำมา
ปรับปรุงวิธีการขนส่งในครัง้ ต่อไป นอกจากนี ้แล้ วยังสามารถนำมารวมกับเทคโนโลยี GPRS ของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึง่ จะ
สามารถให้ ข้อมูลการเดินทางต่าง ๆ ได้ เช่น แสดงเส้ นทางการเดินรถ การใช้ ความเร็วตลอดเส้ นทางการเดินรถ ทำให้ สว่ น
บริ หารหรื อส่วนควบคุมทราบได้ ทนั ทีว่าขณะนี ้ รถอยู่ที่ไหน ขับด้ วยความเร็วเท่าไหร่ เป็ นต้ น

2. Car Camera

ปั จจุบนั กล้ องบันทึกภาพเคลื่อนไหวแบบ VDO Full HD ที่ติดตังในรถยนต์


้ ทังรถบ้
้ าน รถตู้ รถบรรทุกขนส่งสินค้ า
ถือเป็ นส่วนสำคัญของระบบรักษาความปลอดภัยที่ใช้ ในการขับรถส่งสินค้ าที่ต้องใช้ การบันทึกภาพขณะขับขี่รถยนต์ เพื่อ
ใช้ บนั ทึกเหตุการณ์อบุ ตั ิเหตุ หรื อเหตุการณ์ฉกุ เฉิน ที่ไม่คาดคิด บางแห่งน าไปใช้ ในการสำรวจเส้ นทาง เก็บข้ อมูล ระหว่าง
การเดินทาง การวิ่งในแต่ละเส้ นทาง เพื่อน ามาหาต้ นทุนในการเดินทาง ออกแบบรูปแบบการจัดส่งที่เป็ นแบบ Real Time
ซึง่ มีทงจากสหรั
ั้ ฐอเมริ กา จีน เกาหลี สามารถเลือกใช้ ได้ ตามระดับราคาตังแต่ ้ หลักพันไปจนถึงหลักหมื่น วัตถุประสงค์และ
ประโยชน์ก็คือต้ องการภาพยืนยันความถูกต้ องที่มีผลทางกฎหมายจราจร นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ ข้อมูลภาพเคลื่อนไหวที่
บันทึกไว้ ในการปรับปรุง ควบคุมและลดการเกิดอุบตั ิเหตุได้ อีกด้ วย อนึง่ กล้ องติดรถยนต์บางรุ่นสามารถเชื่อมต่อกับ
ดาวเทียมเพื่อระบุพิกดั หรื อ GPS สามารถใช้ ข้อมูล GPS ซึง่ จะแสดงตำแหน่งของยานพาหนะและแสดงผลการบันทึกเส้ น
ทางที่รถวิ่งอยู่ได้ ทำให้ มนั่ ใจและปลอดภัย ซึง่ จะถูกบันทึกไว้ แม้ แต่เสียงภายในห้ องโดยสารก็ยงั สามารถบันทึกได้ ควบคูไ่ ป
กับการบันทึกภาพเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องขึ ้นอยู่กบั ความจุของการ์ ดหน่วยความจำ

3. Transportation management system : TMS


7

คือ ระบบบริ หารจัดการการขนส่งสินค้ า เป็ นเครื่ องมือในการวางแผนการขนส่ง การเพิ่มประสิ ทธิภาพในการ


ขนส่ง การตัดสินใจในเรื่ องการบรรทุกสินค้ า และการจัดวางเส้ นทางให้ มีประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ ข้อจำกัดต่าง ๆ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อความรวดเร็วและต้ นทุนที่ประหยัดที่สดุ สำหรับการทำงานของระบบ TMS จะครอบคลุมตังแต่ ้ การจัดการ
ใบส่งสินค้ า การเลือกเส้ นทางที่ประหยัดที่สดุ การใช้ รถอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดตารางเดินรถ การจัดสินค้ าขึ ้นรถแต่ละ
คัน (Loading) เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังนำข้ อมูลของ WMS มาใช้ ร่วมกับ TMS รวมทังยั้ งสามารถกำหนดสายส่ง ร้ านค้ า หรื อ
แบ่งโซนตามระยะทางได้ อีกด้ วย ปั จจุบนั มี Free Program ในโลกออนไลน์เป็ นจำนวนมากธุรกิจที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก
สามารถโหลดนำมาประยุกต์ใช้ ได้ ซึง่ สามารถกำหนดพิกดั ได้ เพียงใส่พิกดั ที่ต้องการกำหนด

4. Google Map และ Google Street View

สำหรับ Google Map นับว่าเป็ นเครื่ องมือในการค้ นหาเส้ นทางการเดินทางที่ช่วยให้ ประหยัดเวลาในการเดินทาง


และสามารถทราบระยะทางของการเดินทางได้ รวมถึงการประมาณเวลาที่จะเดินทางไปถึงได้ และยังบอกเส้ นทางการเดิน
ทางว่าไปถนนสายไหน อย่างไร ซึง่ ในการขนส่งเพียงแค่ใส่จดุ เริ่ มต้ นเดินทาง และจุดสิ ้นสุดที่ต้องการไปเท่านันเอง
้ และ
ปั จจุบนั ยังมี Street View พื ้นที่กรุงเทพและปริ มณฑลที่สามารถเห็นหน้ าตึกหน้ าบ้ านจุดนัดหมาย เพื่อการวางแผนการเดิน
ทางได้ ละเอียดมากขึ ้นจึงทำให้ ทีมของโลจิสติกส์ไม่เกิดความผิดพลาดในการทำงาน ซึง่ ทาง Google จะมีการ Update ทุก
ๆ 2 ปี

5. การประยุกต์ ใช้ IoT, RFID และ AIDC

5.1) IoT

สำหรับ IoT ได้ มีการใช้ งานกันบ้ างในปั จจุบนั แต่สว่ นใหญ่จะประยุกต์ใช้ งานในการสื่อสารกับผู้บริ โภค และสร้ าง
ความมัน่ ใจในการขนส่งสินค้ าผ่านการเชื่อมโยงข้ อมูลที่มาจากหลายแหล่ง ซึง่ จะเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งลดความ
เสียหายที่เกิดจากที่เครื่ องจักรไม่ทำงาน และลดความซับซ้ อนของกระบวนการทำงาน โดยในปี ที่ผ่านมา IoT ถูกคาดหวัง
ว่าจะมีบทบาทในกระบวนการขนส่งมากกว่านี ้ เช่น การเชื่อมต่อ IoT กับเทคโนโลยีอื่นๆไม่วา่ จะเป็ น Bluetooth, RFID และ
AIDC เพื่อระบุหาส่วนที่จะต้ องปรับปรุงในกระบวนการขนส่งรวมถึงควรจะช่วยทำให้ กระบวนการทำงานง่ายขึ ้น เช่น การ
ติดตามอุณหภูมิ หรื อ การติดตามการขนส่ง เป็ นต้ น

5.2) RFID (Radio Frequency Identification)

RFID เป็ นอุปกรณ์เซนเซอร์ ที่ใช้ สำหรับการขนส่งของผู้ให้ บริ การขนส่ง ในช่วงแรก RFID มีคา่ ใช้ จ่ายในการติดตัง้
ที่คอ่ นข้ างสูงแต่ลดลงเรื่ อย ๆ ในระยะเวลา 2 – 3 ปี ที่ผ่านมา ทำให้ ธุรกิจสามารถจัดซื ้อได้ ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่า บริ ษัท
ขนส่งหลายเจ้ าจะหันมาประยุกต์ใช้ RFID มากขึ ้น เช่นใน คลังสินค้ า ซึง่ ใช้ ในการบริ หารจัดการสินค้ าคงคลังสำหรับจัดส่ง
ที่เหมาะสมและปริ มาณถูกต้ องชัดเจน หรื อเพื่อปรับปรุงความถูกต้ องในการติดตามสถานะของสินค้ า เป็ นต้ น

5.3) AIDC (Automatic Identification and Data Capture): AIDC ถูกน ามา
8

ประยุกต์ใช้ ในบริ ษัทขนส่ง ซึง่ เริ่ มต้ นจากการนำ Bluetooth และ RFID มาใช้ ทำให้ มีการอัพเดตสถานะของการ
ขนส่งที่หลากหลายแบบอัตโนมัติ โดยอาศัยการทำงานผ่าน Handheld และ Automatic Scanners ส่งผลให้ เราสามารถ
เข้ าถึงข้ อมูลแบบ Real – Time ได้ เช่น สถานที่ในการจัดส่ง ระยะเวลาประมาณการณ์ในการจัดส่ง และข้ อมูลที่เป็ นประโย
ชน์อื่นๆ เป็ นต้ น

6. การนำ Bluetooth Technology มาใช้ มากขึน้

ขณะที่ IoT มีบทบาทที่ชดั เจนในอุตสาหกรรมขนส่ง แต่หลายบริ ษัทเองก็ได้ ให้ ความสนใจกับระบบ Bluetooth


มากขึ ้น เนื่องจาก Bluetooth เป็ นเทคโนโลยีที่ต้นทุนต่ำา ไม่สิ ้นเปลืองการใช้ พลังงาน และเป็ นอุปกรณ์ขนาดเล็ก ที่
สามารถส่งเสริ มการติดตามสถานะของการขนส่งสินค้ าได้ ซึง่ ในปี 2017 นี ้มีการคาดการณ์ว่า Bluetooth จะเข้ ามามี
บทบาทมากขึ ้นในอุตสาหกรรมการขนส่งในทุกระดับ (ตังแต่ ้ การขนส่ง หรื องานเอกสาร) ซึง่ ถือว่าเป็ นหนึ่งในเครื่ องมือที่
สะดวกที่สดุ สำหรับการพัฒนากระบวนการในการติดตามสถานะของสินค้ า ความถูกต้ องในการขนส่ง และระยะเวลาใน
การขนส่งสินค้ า ซึง่ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและท้ ายที่สดุ เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้ าได้ อีกด้ วย

7. การเติบโตของโซลูช่ ันสำหรับธุรกิจ (e-Commerce) การค้ าขายออนไลน์

จะเป็ นการดำเนินธุรกิจแบบ B2C ซึง่ ส่งผลตามมาต่อธุรกิจขนส่ง เพราะธุรกิจขนส่งจะต้ องมีการใช้ ฐานข้ อมูล


ที่มาจากแหล่งต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการให้ บริ การ ตลอดจนการติดตามสถานะของสินค้ าระหว่างการขนส่ง
อีกด้ วย ซึง่ จำเป็ นสำหรับธุรกิจ on-line อย่างมาก เพื่อช่วยให้ กระบวนการเก็บข้ อมูล และ การวิเคราะห์เป็ นไปอย่างสะดวก
รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ลดต้ นทุนของธุรกิจ และที่สำคัญคือ ช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้ กบั ลูกค้ า ฉะนัน้ e-commerce จะ
กลายเป็ นโอกาสทางธุรกิจสำหรับอุตสาหกรรมขนส่งในอนาคต และยิ่งเราอยู่ในยุคที่ทกุ อย่างต้ องรวดเร็ว ช้ าไม่ได้
เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ก็พฒ ั นาไปอย่างรวดเร็ว หากธุรกิจต้ องการที่จะรักษาฐานลูกค้ าและพัฒนาประสิทธิภาพของการทำงาน
ไปด้ วย ก็เหมือนเป็ นการบังคับว่าธุรกิจจะต้ องนำเอาแพลตฟอร์ มออนไลน์มาใช้ สำหรับธุรกิจของตนด้ วย

8. บริหารการขนส่ งแบบเรียลไทม์ (e-Logistics)

การบริ หารจัดการงานขนส่งเป็ นหนึ่งในหัวใจสำคัญสำหรับธุรกิจโลจิสติกส์หรื อธุรกิจที่มีภารกิจด้ านการขนส่ง


เนื่องด้ วยต้ นทุนค่าขนส่งถือเป็ นต้ นทุนสำคัญที่ส่งผลกระทบกับต้ นทุนรวมของสินค้ าและบริ การ จึงทำให้ หน่วยงานต่างๆ
เลือกเทคโนโลยีเข้ ามาช่วยจัดการเพื่อควบคุมดูแลงานขนส่งให้ มีประสิทธิภาพตลอดจนลดค่าใช้ จ่ายที่ไม่จำเป็ นให้ น้อยลง
โดยหลักการของโลจิสติกส์ในระบบของการขนส่ง คือไปให้ ถึงที่หมายอย่างถูกต้ อง รวดเร็ว และทันเวลา

ข้ อคิดเห็น และข้ อเสนอแนะอื่น ๆ


9

ผมคิดว่าในแง่ของการปฏิบตั ิงานของ Palleter ยังไม่ได้ ประสิทธิภาพเท่าที่ควร อย่างในกรณีที่ไม่ต้องการที่จะ


เปลี่ยนเส้ นทางการขนส่งแม้ ระยะทางนันจะสั
้ นกว่้ า จริ ง ๆ แล้ วควรที่เปลี่ยนได้ และมีหลาย ๆ เส้ นทางในการเลือกไปขนส่ง
ยิ่งระยะทางสัน้ ค่าใช้ จ่ายในการขนส่งก็จะน้ อยตาม

เอกสารอ้ างอิง

สืบค้ นจาก :

กรณีศกึ ษาที 4_63 Palleter Application.pdf

http://www.atc.ac.th/ATCWeb/FileATC

สืบค้ นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2564


10

You might also like