You are on page 1of 43

สารบัญ

1. ประวัติการพัฒนาเมือง Da Nang

2. แนวคิดเรื่อง Smart City & Digital GOV

3. กลยุทธ์ Smart City

4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเมือง

5. วิเคราะห์ ผู้นำ และภาวะผู้นำมีผลอย่างไร

6. การพัฒนาดานังในอนาคต
นครดานัง เมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ยังคงเป็น

: เมืองท่าที่สำคัญ สัญลักษณ์ของเมืองอุตสาหกรรมและบริการ เป็นเมืองที่มี


บทบาททางเศรษฐกิจของเวียดนาม โดย 20 ปีที่ผ่านมา GDP

ของเวียดนาม
ของนครดานังเฉลี่ยอยู่ที่ 2.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว
77,781 ล้านบาท) ระหว่างปี 2540-2558 คิดเป็นการเติบโต
10.47% ต่อปี ขณะที่ปี 2559 มีรายได้ประมาณ 2.4 พันล้าน
ดอลลาร์สหรัฐ (ราว 84,852 ล้านบาท) สืบเนื่องจากโครงสร้าง
เศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรมและภาคบริการที่สูงถึง 97%
นอกจากนี้ ห้างร้านขนาดใหญ่ โรงแรมที่พักประเภทต่าง ๆ
สถานบันเทิง ร้านอาหารทุกระดับ ยังมีแนวโน้มโตขึ้นอย่างต่อ
เนื่องในเกือบทุกย่านของนครดานัง เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
ถูกวางให้เป็นเมืองท่าสำคัญในการขนถ่ายสินค้าออกสู่
ทะเลจีนใต้ตามนโยบาย เส้นทางเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-
ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC)
ผลักดันเป็นประตูการค้า (Transshipment Hub) ในอนุ
ภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางทะเลของ
เวียดนามตอนกลาง
เมืองอัจฉริยะ
แนวคิดเรื่องนี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกในปี 1997 ในความหมายของ
“เมืองเสมือนจริง (Virtual Cities) จากวิกฤติของเมืองใน
ประเทศตะวันตกความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจทำให้เกิดความ
เหลื่อมล้ำของประชาชนในเมือง แนวคิดนี้จึงถูกนำมาใช้เพื่อแก้ไข
ปัญหาความเหลื่อมล้ำ โดยอาศัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีใน
ขณะนั้น

เมืองที่มีพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมด ที่นำเอาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ [Information Technology] และนวัตกรรม
[Innovation] มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากร
ของเมืองให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
นครดานังสู่ Smart city
นครดานัง เป็นเมืองแรกในเวียดนาม ที่เปิดตัวระบบ
e-Government เมื่อปี 2557 และขยายระบบไปยังนคร
และจังหวัดต่าง ๆ กว่า 16 แห่ง ทั่วประเทศ และมีแผนยก
ระดับ e-Government platform เพื่อให้สามารถแบ่งปัน
ข้อมูลกับกระทรวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย ปัจจุบัน
นครได้ให้บริการภาครัฐในรูปแบบออนไลน์กว่า 1,200 บริการ
เช่น ร้านค้าแบบครบวงจร การจัดการที่อยู่อาศัย การขนส่ง
สาธารณะ และการควบคุมน้ํา และยังมีบริการอินเทอร์เน็ตไร้
สายในสถานที่สาธารณะที่รองรับได้ถึง 20,000 การเชื่อมต่อ
ในช่วงปี 2564-2568 นครดานังมีแผนเตรียมความ
พร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานและฐานข้อมูล สําหรับการเป็น
เมืองอัจฉริยะ และเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายเมืองอัจฉริยะ
อาเซียน (ASEAN Smart Cities Network: ASCN)
โดยนครดานังจะส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี พัฒนาระบบ
โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมที่เชื่อมกับเครือข่ายหลัก
ระดับภูมิภาคและระหว่างภูมิภาค รวมถึงการขยายเครือข่าย
5G ให้ครอบคลุม และเชื่อมต่อเครือข่ายบรอดแบนด์ในทุก ที่มา: danang.gov.vn, baodanang.vn
องค์กรและครัวเรือน
นครดานัง เริ่มปรับโฉมสู่ “สมาร์ทซิตี้”
รัฐบาลเวียดนาม ได้อนุมัติโครงการพัฒนาเขตเมืองอัจฉริยะระหว่างปี
2018 - 2025 โดยมีเป้าหมายการพัฒนาเขตเมืองอัจฉริยะอย่างน้อย 6 แห่ง
และกำหนดให้กรุงฮานอย นครโฮจิมินท์ นครดานัง และนครเกิ่นเทอ เป็นจุด
เชื่อมโยงหลักของเขตเมืองอัจฉริยะในแต่ละภูมิภาค
นครดานัง และบริษัท FPT ได้ร่วมกันดำเนินการเปลี่ยนนครดานังจาก
เมืองท่องเที่ยวให้กลายเป็น “เมืองอัจฉริยะ” หรือ “Smart City” โดยเน้น
ไปในหลายด้าน เช่น เกษตรกรรม เวชภัณฑ์ พลังงาน และการจราจร โดย
แผนการดำเนินงานใช้งบประมาณ 1.5 หมื่นล้านด่อง หรือประมาณ 20.58 ล้าน
บาท ในช่วงแรกได้ตั้งเป้าหมายในการดำเนินการภายในปี 2563 และได้มีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

นครดานังนำเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) มาช่วยวางระบบ


งานจราจรในเมือง ผ่านการมอนิเตอร์ถนนและจัดการสัญญาณไฟแบบเรียล
ไทม์ รวมถึงมีแผนเปิดใช้งานระบบบันทึกประวัติผู้ป่วยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
สําหรับโรงพยาบาล เช่นเดียวกับเครื่องมือจัดการผลผลิตสําหรับเกษตรกร
รวมทั้งจะใช้เทคโนโลยีในการรับมือกับภัยธรรมชาติอย่างสึนามิและอุทกภัย
ด้วยเช่นกัน
นครนาดัง
เป้าหมายการพัฒนาเมือง
Company philosophy stands for the basic beliefs that your company
and your company members expect to hold.

พันธกิจ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย


To create your own, To create your own, To create your own,
choose a topic that choose a topic that choose a topic that
interests you. interests you. interests you.
ดานัง ได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง
- ติดตั้ง infrastructure connections เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน
สามารถใช้งานและเข้าถึงบริการออนไลน์ต่างๆ ได้
- สร้าง local area network (LAN) ด้วย fiber optic cable ในชั้นใต้ดินความยาว 400 กม.
สามารถเชื่อมต่อหน่วยงาน สถาบัน และองค์กรต่างๆ ได้ถึง 145 แห่ง
- ติดตั้งสถานีวิทยุส่งสัญญาณ 8 แห่งโดยใช้เทคโนโลยี LoRa
(เทคโนโลยีขั้นสูงในปัจจุบันใช้สำหรับการทำระบบ Internet of Things (IoT) และ ธุรกิจแบบ M2M)
- ขยายความจุของศูนย์ปฏิบัติการ IOC เป็น 170 เทราไบต์ (174,080 GB)
- ประสานงานกับ Viettel Group เพื่อติดตั้งโครงสร้างพื้นฐานของ Internet of Things (IOT)
โดยมีสถานี Nb-IoT จำนวน 208 แห่ง ครอบคลุม 7 เขตทั่วเมือง ดานัง
- ริเริ่มโครงการลงทุนระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ออนไลน์อย่างครบวงจรทั่วเมือง
- ศึกษาวิจัยแผนการเกี่ยวกับสถานี fiber optic cable ใต้ทะเลที่จะเชื่อมต่อมายังฝั่ งเมืองดานัง
ดานัง มุ่งมั่นที่จะพัฒนาอุตสาหกรรม
ด้าน high-technology and IT industries
ควบคู่ไปกับการสร้างเมืองสตาร์ทอัพที่สร้างสรรค์และเมืองอัจฉริยะ

เพื่อสร้างรากฐานในการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมและสาขาธุรกิจใหม่ ๆ
โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และปัญญาประดิษฐ์
โดยที่ผู้นำของสำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจำดานัง
ระบุว่า สำนักงานฯ จะสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
มุ่งเน้นการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล และสนับสนุนภาคธุรกิจและ
ประชาชนในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ประโยชน์
(The voice of the party, government and people of Da Nang City 2024)
ศูนย์ปฏิบัติการ IOC (The Intelligent Operation Centre)
ก้าวสำคัญในกระบวนการนำ Digital Transformation มาใช้
เพื่อสร้างดานังให้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะ

ทำหน้าที่รวบรวมและสังเคราะห์ information และ data sources


เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ข้อมูลและการแสดงผลข้อมูลในรูปแบบ Application
ผู้นำทุกระดับนำข้อมูลไปใช้ในการตรวจสอบ ตัดสินใจ และบริหารจัดการการให้บริการ
ตรวจจับและการแจ้งเตือนล่วงหน้าเหตุการณ์ผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน
ขอรับการสนับสนุนจากศูนย์บัญชาการรวมศูนย์ในเมือง (Centralised Command
Center) เพื่อรับมือกับเหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติทางธรรมชาติ โรคระบาด และอื่น ๆ
ทำหน้าที่เป็นหน่วยติดตามและจัดการตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของเขตหรือสาขาวิชาชีพ
และสาขาเฉพาะทาง
ศูนย์ปฏิบัติการ IOC (The Intelligent Operation Centre)
ก้าวสำคัญในกระบวนการนำ Digital Transformation มาใช้
เพื่อสร้างดานังให้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะ
ศูนย์ IOC จะติดตาม วิเคราะห์ ออกคำเตือนล่วงหน้า และให้บริการกลุ่มบริการในเมืองอัจฉริยะ ดังนี้
(1) จัดการความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากลูกค้า องค์กร และประชาชน
(2) การให้บริการสาธารณะและการจัดการขั้นตอนการบริหาร
(3) ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมเครือข่าย
(4) การตรวจติดตามสภาพแวดล้อมทางน้ำและอากาศ
(5) ข้อมูลและตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจและสังคม
(6) การเดินทางด้วยรถพยาบาลและรถดับเพลิง
(7) การรวบรวม ระบาย และบำบัดน้ำเสีย
(8) ปริมาณน้ำฝนและน้ำท่วมเมือง
(9) กิจการเรือประมงในทะเล
(10) ข้อมูลทางการแพทย์ การตรวจสุขภาพและการรักษา
(11) วิเคราะห์ข้อมูลกล้องและระบบกล้องฟลายแคมเพื่อรองรับการจัดการในท้องถิ่นและเฉพาะทาง
(การค้นหาผู้สูญหาย การรวมตัวจำนวนมาก การช่วยเหลือ ฯลฯ)
เสาหลักในการสร้างเมืองอัจฉริยะ
และเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล ของนคร Da Nang

1. Smart 2. Smart 3. Smart 4. Smart 5. Smart 6. Smart


Governance Traffic Environment Life Economy Citizens
1. Smart Governance
การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ
เพื่อให้ผู้นำมีข้อมูลในการกำกับและบริหาร แบ่งปันข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และการให้ข้อมูลที่เปิดเผยและโปร่งใสสำหรับประชาชนและธุรกิจ

เว็บไซต์บริการภาครัฐแบบออนไลน์ ระบบประวัติการรักษาพยาบาล
https://dichvucong.danang.gov.vn อิเล็กทรอนิกส์
สถานีพยาบาลประจำตำบลและแขวง
การใช้แผนที่ดิจิตอล 4D ในการจัดการ (ระดับชุมชน) 100%
โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง
‘Da Son 3’s sound of advertising
ระบบการชำระเงินออนไลน์
ช่วยให้ประชาชนในท้องถิ่นสร้างรายได้
สำหรับประชาชน
ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์
บนเว็บไซต์บริการภาครัฐออนไลน์
แอปพลิเคชั่น Da Nang Smart City MOU ว่าด้วยการส่งเสริมความร่วมมือ
มีผู้ใช้งานมากกว่า 1 ล้านคน ในการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล
2. Smart Traffic
การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ
เพื่อให้บริการงานด้านความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยของการจราจร
รวมถึงซอฟต์แวร์การจัดการอัจฉริยะ เพื่อสอดรับกับทิศทางการพัฒนา Smart City

ปรับปรุงศูนย์ข้อมูลคำสั่งให้ทันสมัย
พร้อมระบบเซิร์ฟเวอร์, screen walls
แอป DanaBus สำหรับผู้โดยสารรถบัส
ระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจร และแอปมือถือ Danang Parking
บริเวณทางแยก 186 ทางแยก
และ เครือข่ายอุปกรณ์เฝ้าระวังอัจฉริยะ ฐานข้อมูล GIS เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐาน
ในเส้นทางสำคัญ ด้านการจราจร
ซอฟต์แวร์ระบุตัวตนอัจฉริยะ
ที่สามารถระบุยานพาหนะ วัดการจราจร จดจำป้ายทะเบียน
ติดตามรถยนต์ ตรวจจับและจัดการการละเมิดกฎจราจรได้ทันที
3. Smart Environment
สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการป้องกันและควบคุมภัยพิบัติทางธรรมชาติในเมือง

กองทุนชุมชนเพื่อการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ก่อตั้งและพัฒนามากว่า 15 ปี
ในฐานะสะพานเชื่อมในการ "ร่วมและแบ่งปัน" กับท้องถิ่น
เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมต่อการดำรงชีวิตที่ปลอดภัย เป็นมิตร และยั่งยืนในอนาคต

โครงการเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการ
ป้องกันและควบคุมภัยพิบัติทางธรรมชาติในเมือง
งานชุมชนป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ 7 แห่ง
สถานีวัดปริมาณน้ำฝนอัตโนมัติ 843 แห่ง แพลตฟอร์มบริการแบบบูรณาการ
หอเตือนน้ำท่วมอัตโนมัติ 16 แห่ง สำหรับการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม
สร้างสระว่ายน้ำปลอดภัย 142 สระ ติดตาม "ระดับปริมาณน้ำฝนและน้ำท่วม"
สถานีตรวจวัดอัตโนมัติ 66 แห่ง
ระบบตัวอย่างน้ำเสียอัตโนมัติ 15 ชุด ได้แบบเรียลไทม์ ผ่าน app และ website
4. Smart Life
การดำรงชีวิตอัจฉริยะ
ปรับปรุงคุณภาพของบริการด้านการดูแลสุขภาพ และการใ้ช้ชีวิต
และพัฒนา ดานัง ให้กลายเป็นจุดหมายปลายทางด้านเทคโนโลยี

ใช้เพียงเลขบัตรประชาชน
เพื่อเข้าถึงการรักษาได้ที่โรงพยาบาล the world's digital nomad hubs
และระบบใบสั่งยาอิเล็กทรอนิกส์ระดับชาติ เมืองที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย
เพื่อติดตามและจัดการยาของตนเอง ชายหาดที่สวยงาม สภาพอากาศที่ไม่รุนแรง
โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และ ค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล
ข้อมูลของประชาชน 1.37 ล้านคน
เชื่อมโยงกับโรงพยาบาล 16 แห่ง ฐานข้อมูลร้านอาหารและร้านอาหารริมถนน
และสถานีการแพทย์ระดับชุมชนทั่วเมือง พร้อมใบรับรองความปลอดภัยด้านอาหาร
5. Smart Economy
เศรษฐกิจอัจฉริยะ
ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว
ยกระดับภาคการเกษตร ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลในกระบวนการผลิต

มุ่งพัฒนารูปแบบการผลิตทางการเกษตร
ที่มีเทคโนโลยีสูง
ระบบการท่องเที่ยวเสมือนจริง VR360
ยกระดับกระบวนการผลิตที่ทันสมัย
"One touch to Da Nang "
เพื่อผลิตสินค้าคุณภาพสูง
เช่น ระบบชลประทานอัตโนมัติ เรือนกระจก และไฟ LED อัจฉริยะ "สัมผัสดานัง เพียงแค่คลิกเดียว"
และ แอพพลิเคชันการท่องเที่ยว
ระบบติดตามเรือประมง พร้อมติดตั้ง Da Nang Fantasticity Chatbot
กล้องเพื่อส่งข้อมูลแบบออนไลน์
ระบบยืนยันแหล่งที่มาของสัตว์น้ำ แพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซ
จากการทำประมง ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม
เพื่อช่วยให้ธุรกิจท้องถิ่นวางจำหน่ายและโปรโมทสินค้าออนไลน์
6. Smart Citizens
พลเมืองอัจฉริยะ
การนำนโยบายมาพัฒนาเมืองดานัง ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง
และคำนึงถึงผลประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก
“The Party says - the people believe; Fronts and organisations mobilise – the people
follow; The government does - the people support”

ปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐ
ทอล์คโชว์ Digital transformation
สำหรับบัญชีทำธุรกรรมและบันทึกสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์
in building new-style
rural areas towards smart rural areas โดยใช้รหัส ID ประชาชนเท่านั้น
เพื่อแบ่งปันประสบการณ์และสร้างความตระหนักรู้ พลเมืองอายุ 18 ปีขึ้นไป ต้องมี Profile Digital
เกี่ยวกับ Digital transformation
ดานังได้รับรางวัล Human Centricity Prize
จากการประชุม World Cities Summit Mayors Forum 2023
เปิดหลักสูตร Microchip Technology โดยจากการจัดตั้งกลุ่มเทคโนโลยีดิจิทัลของชุมชนในทุกหมู่บ้าน
ในมหาวิทยาลัยรัฐ (ในอีก 5 ปีข้างหน้า) และย่านที่อยู่อาศัยโดยมีกลุ่มฯเกือบ 2,500 กลุ่มและสมาชิก 13,000 คน
มีบัญชีพลเมืองดิจิทัลมากกว่า 260,000 คน
วิศวกรออกแบบวงจรรวม 600 คน ยอดดาวน์โหลด “Da Nang Smart City” 1.2 ล้านครั้ง
วิศวกรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ การแปลง 'Red address' ให้เป็นดิจิทัล
ระบบฝังตัวและหุ่นยนต์ 1,500 คน ระดมเงินทุนสำหรับโครงการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับไอที และ Digital
Transformation เพื่อรองรับประชาชนและธุรกิจของเมืองในพื้นที่ห่างไกล
ดานังได้ทดลองประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain
ในการบริหารทรัพย์สินดิจิทัล และส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
เนื่องจากมีความปลอดภัย สะดวกในการเชื่อมต่อ และตรวจสอบได้

นครดานังมีแผนประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain และเทคโนโลยี Virtual Reality


ในการเพิ่มมูลค่าแก่สินค้าหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น รวมถึงตั้งเป้าหมายให้นครฯ
เป็นศูนย์กลางด้านการเงินของโลก ตลอดจนผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลที่ยั่งยืน
โดยนครฯ อยู่ระหว่างการพัฒนาแพลตฟอร์ม Blockchain ชื่อว่า “DaNangChain”

จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ การเงินดิจิทัล และการพัฒนา e-government


ของนครฯ ต่อไป ซึ่งคาดว่าการพัฒนา “DaNangChain” จะเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ประยุกต์
ใช้เทคโนโลยี Blockchain ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเวียดนาม และในภูมิภาค ASEAN
แผนระดับชาติ

มติหมายเลข 36 a/NQ-CP 2015 การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์


กลยุทธ์ที่ 1 มุ่งส่งเสริมการปฏิรูประบบการบริหารจัดการ ด้วยการสร้างความเข้มแข็งแอพพลิเคชัน IT ใน
การบริการทางออนไลน์และการจัดบริการสาธารณะ
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาสมรรถนะของเทคโนโลยีสารสนเทศในทุกแง่มุม เพื่อให้เวียดนามเป็น TOP 3 ของ
ASEAN ด้านการยกระดับการให้บริการของภาครัฐในรูปแบบของดัชนีบริการออนไลน์ (Online Service
Index : OSI) และดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government Development Index: EGDI)
ภายในปี 2017
แผนการปฏิบัติการ
1. ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันทาง ICT ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
2. พัฒนาคุณภาพของระบบโทรคมนาคมและคุณภาพสายสื่อสาร
3. จัดบริการภาครัฐแบบออนไลน์ในทุกหน่วยงานรัฐ ทั้งระดับประเทศและระดับท้องถิ่น
4. สร้างสมรรถนะของบุคลากรภาครัฐด้าน ICT ด้วยการฝึกอบรมและสร้างความตระหนักรู้
5. การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานด้าน IT ต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ อาทิ การระดมทุนเพื่อการวิจัย
จะต้องถูกใช้เพื่อการวิจัยและพัฒนา (R&D) เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
6. พัฒนาแอพพลิเคชันและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานรัฐให้มีมาตรฐานตามระบบ ISO เพื่อ
สร้างความมั่นใจในการใช้งาน
แผนระดับชาติ
มติหมายเลข 950/QD- TTg 2018
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนของเวียดนาม ช่วงปี 2018-2025 และวิสัยทัศน์ถึงปี 2030
เป้าหมาย: พัฒนาเมืองอัจฉริยะใน 6 มิติ โดยเริ่มโครงการนำร่องจาก 4 เมือง ได้แก่ ฮานอย
ดานัง โฮจิมินห์ และเกิ่นเทอ
ระยะการพัฒนา 3 ระยะ คือ ระยะวางแผน(ภายในปี 2020) ระยะการนำไปปฏิบัติ (ภายในปี
2025) และระยะการสร้างเครือข่าย (ภายในปี 2030)
กำหนด 10 ภารกิจงาน ได้แก่ 1) การทบทวน แก้ไข ปรับปรุง นโยบาย 2) พัฒนามาตรฐานระบบ
และข้อกฎหมาย 3) สร้างระบบฐานข้อมูล 4) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะในการจัดการเมือง
และการบริหารเมือง 5) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเมืองอัจฉริยะ 6) พัฒนาระบบสาธารณูปโภค
อัจฉริยะ 7) พัฒนาสมรรถนะสำหรับเมืองอัจฉริยะ 8) เพิ่มการระดมทรัพยากร 9) ส่งเสริมความ
ร่วมมือระหว่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยี 10) เพิ่มการตระหนักรู้้
แผนระดับชาติ
มติหมายเลข 950/QD- TTg 2018
แผนการปฏิบัติการ
1. ทบทวนและปรับปรุงระบบกฎหมาย กลไกนโยบาย บรรทัดฐานทางเศรษฐกิจและเผยแพร่แนวทางการ
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
2. พัฒนาระบบมาตรฐานของเมืองอัจฉริยะระดับชาติ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาแอพพลิเคชันสำหรับเมือง
อัจฉริยะ
3. สร้าง เชื่อมต่อ ธำรงรักษา จัดการระบบข้อมูลเมืองดิจิทัลเชิงพื้นที่และฐานข้อมูลเมืองระดับชาติ
4. ส่งเสริมแอพพลิเคชันเทคโนโลยีอัจฉริยะเกี่ยวกับการบริหารจัดการและการวางแผนพัฒนาเมือง
5. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเมืองอัจฉริยะด้วยการดึงดูดการลงทุนจำนวนมากเข้ามาในพื้นที่
6. พัฒนาสาธารณูปโภคอัจฉริยะสำหรับประชาชนผู้อาศัยอยู่ในเมือง
7. สร้างศักยภาพการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน รวมถึงการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ผ่านการฝึกอบรม
8. เสริมสร้างการดึงดูดการลงทุนทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ รวมทั้งความช่วยเหลือทางเทคนิค
9. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ แลกเปลี่ยนและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
10. เพิ่มความตระหนักรู้และส่งเสริมความมุ่งมั่นในการสร้างเมืองอัจฉริยะ
แผนระดับท้องถิ่น

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2018 คณะกรรมการประชาชนดานังได้อนุมัติกรอบสถาปั ตยกรรมเมือง


อัจฉริยะ
เป้าหมาย: ดานังจะเป็ นเมืองสีเขียวและเมืองอัจฉริยะที่ทันสมัยระดับโลกที่มีเอกลักษณ์ เพื่อ
มุ่งสู่การเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนามตอนกลาง
ระยะการพัฒนา: 3 ระยะ
- ภายในปี 2020 เป็ นระยะสร้างระบบโครงสร้างพื้นฐานทาง ICT และฐานข้อมูล
- ภายในปี 2025 เป็ นระยะการพัฒนาแอพพลิเคชันอัจฉริยะ
- ภายในปี 2030 เป็ นระยะการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม

พัฒนาดานังเมืองอัจฉริยะ จำนวน 16 ด้าน ได้แก่


1) ศูนย์ปฏิบัติการอัจฉริยะ (Intelligent Operation Center ) 2) พลเมืองอัจฉริยะ 3)
ข้อมูลเปิ ด 4) การท่องเที่ยว 5) การค้า 6) การเกษตร 7) ไฟส่องสว่าง 8) การจัดการ
น้ำ 9) การจัดการขยะ 10) การศึกษา 11) สุขภาพ 12) สุขอนามัยและความมั่นคงทาง
อาหาร 13) ความปลอดภัยและการบริการช่วยเหลือฉุกเฉิน 14) การป้องกันภัยพิบัติ 15)
การบริการสาธารณะ 16) การขนส่งและการคมนาคม
แผนระดับท้องถิ่น
มติหมายเลข 1287/QD- TTg
การพัฒนาเมืองดานังในช่วงปี 2021 – 2030 วิสัยทัศน์ถึงปี 2050
เป้าหมาย: นครดานังเป็ นเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่และยั่งยืนด้วยกลยุทธ์ “การยึดประชาชนเป็ น
ศูนย์กลาง”
มุ่งเป้าการพัฒนาเมืองอัจฉริยะใน 6 มิติ คือ
1. การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ ( Smart Governance )
2. การดำรงชีวิตอัจฉริยะ ( Smart Life)
3. การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ ( Smart Mobility )
4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ( Smart Environment )
5. พลเมืองอัจฉริยะ ( Smart Citizens )
6. เศรษฐกิจอัจฉริยะ ( Smart Economy )
แผนระดับท้องถิ่น

มติหมายเลข 1287/QD- TTg


แผนการปฏิบัติการ
1. การปรับโครงสร้างและการสร้างแบบจำลองการเติบโตไปสู่การเปลี่ยนแปลงแบบปรับตัวและเหมาะสมกับ
สถานะการพัฒนาใหม่ การดึงดูดทรัพยากร การปรับโครงสร้างการลงทุนที่เหมาะสม เพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐ การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
2. เร่งอัตราการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรม Hi-Tech และ ICT
3. ส่งเสริมความเข้มแข็งภายในและความได้เปรียบด้านที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมการ
บริการ มุ่งเน้นภาคการท่องเที่ยว การขนส่งและคลังสินค้า
4. พัฒนาดานังให้เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศระดับภูมิภาค ส่งเสริมการจัดตั้งเขตปลอดภาษี
และเขตการค้าเสรี การพัฒนาบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบดูแลสุขภาพ การศึกษา และ
การฝึกอบรมคุณภาพสูง
5. ส่งเสริมการปรับโครงสร้างภาคเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า เพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาที่ยั่งยืน
6. การวางแผนพัฒนาเมืองเป็นไปตามมาตรฐานสากลและหลักการพัฒนาเมืองสมัยใหม่
7. ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรน้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ อนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิผล
ผู้นำองค์กรภาครัฐ
To create your own,
choose a topic that
interests you.

ภาวะผู้นำ
เมือง ดานัง
การนำโดยประชาชน
To create your own,
choose a topic that
interests you.
บทที่ 6
การพัฒนา
เมืองดานังใน
อนาคต
ภาพรวมที่มุ่งบรรลุ
Overview of Danang

สำหรับนครดานังใน ปัจจุบันจนถึง ปี 2573


นครดานังตั้งเป้าว่าจะเป็นเมืองอัจฉริยะที่มีการเชื่อมโยงแบบครบวงจรและเชื่อมโยงกับนครอัจฉริยะอื่นๆที่อยู่ในภูมิภาคเอเชีย

ทั้งในระดับประเทศและในระดับเอเชีย

วิสัยทัศน์ของนครดานังจนถึง ปี 2588 ตั้งเป้าไว้ว่า วิสัยทัศน์สู่ ปี 2593


นครดานังจะเป็นเมืองที่มีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ในด้านของการส่งเสริม
สร้างเมืองดานังให้กลายเป็นเมืองขนาดใหญ่ มีระบบนิเวศที่ชาญ
ธุรกิจ start-up , เป็นเมืองอัจฉริยะ และเป็นเมืองชายทะเลที่น่าอยู่
ฉลาด มีเอกลักษณ์ ยั่งยืน และได้รับการยอมรับในระดับสากล
อาศัย โดยทำหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลางในการเชื่อมโยงและพัฒนากับเครือ
เพื่อมอบคุณภาพชีวิตที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนให้กับประชาชน ข่ายเมืองระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ โดยเป็นศูนย์การท่อง
สร้างความมั่นใจในการเติบโตทางเศรษฐกิจและความสามารถในการ เที่ยวระหว่างประเทศ ทั้ง
- ศูนย์จัดงานนานาชาติ
แข่งขัน
- ศูนย์อุตสาหกรรมไฮเทคและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นศูนย์กลางสำคัญด้านเทคโนโลยีชั้นสูง วัฒนธรรมและกีฬา - ศูนย์ผู้ประกอบการและนวัตกรรม
การศึกษาและการฝึกอบรม ระดับสูง การดูแลสุขภาพ และวิทยาศาสตร์ - ศูนย์กลางการเงินระหว่างประเทศในระดับภูมิภาคและเมือง
ชายฝั่ งทะเลที่น่าอยู่ในระดับเอเชีย
แผนเมืองดานังในช่วงปี 2564 - 2573 โดยมีวิสัยทัศน์สู่ปี 2593

แผนพัฒนาโครงข่าย
โทรคมนาคม
การพัฒนาสถานีลงจอดเคเบิลใยแก้วนำแสงทางทะเล
01 ใหม่ ขยายขีดความสามารถในการส่งสัญญาณของ
สายเคเบิลใยแก้วนำแสง SMW3 และ APG ที่สถานีลง
จอดเคเบิลใยแก้วนำแสงทางทะเล Hoa Hai ปรับปรุง
เส้นทางโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ระดับชาติ และ
ระหว่างเมืองที่ได้รับการระบุไว้ในการวางแผนระดับ
ชาติและระดับภูมิภาคในพื้นที่

สร้างอุทยานซอฟต์แวร์ดานัง รวมถึงอุทยาน
ซอฟต์แวร์แห่งที่ 2 เพื่อเป็นอุทยานเทคโนโลยี
สารสนเทศระดับชาติที่สำคัญ

มติที่ 1287/QD-TTG ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566


แผนเมืองดานังในช่วงปี 2564 - 2573 โดยมีวิสัยทัศน์สู่ปี 2593

ด้านการเปลี่ยนแปลง
ทางดิจิทัล
ใช้การจัดการการวางผังเมืองอัจฉริยะโดยใช้
ระบบฐานข้อมูลเมืองดิจิทัล เครื่องมือวิเคราะห์
ข้อมูล และการคาดการณ์ จัดการ บำรุงรักษา
และอัปเดตสถาปัตยกรรม e-Government และ
สถาปัตยกรรมเมืองอัจฉริยะ ตามกรอบ
สถาปัตยกรรม e-Government ของเวียดนาม
และข้อกำหนดสำหรับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
และเมืองอัจฉริยะ

มติที่ 1287/QD-TTG ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566


แผนเมืองดานังในช่วงปี 2564 - 2573 โดยมีวิสัยทัศน์สู่ปี 2593

ด้านการบริหารจัดการและ
ควบคุมการพัฒนาเมือง
และชนบท
ปรับปรุงคุณภาพของการจัดการการวางแผนการ
ก่อสร้างและลำดับการก่อสร้าง มุ่งเน้นไปที่การจัดการ
เชิงลึกของการวางแผนและสถาปัตยกรรม โดยมีเป้า
หมายเพื่อสร้างพื้นที่เมืองสีเขียวและเมืองอัจฉริยะ
ทบทวน เสริม และดำเนินการกระบวนการและขั้นตอน
การบริหารการจัดการ การวางแผนสถาปัตยกรรมต่อ
ไป
ลงทุนในการสร้างและจัดทำระบบข้อมูลที่ดินและ
บันทึกเกี่ยวกับที่ดินที่ทันสมัย ​รวมศูนย์และบูรณาการ
กำกับดูแลการดำเนินการจัดสรรที่ดินและการเช่าที่ดิน
อย่างจริงจัง สาธารณะ และโปร่งใส เพื่อดำเนิน
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
มติที่ 1287/QD-TTG ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2566
1. นางสาวกนกพร พลคชา
รหัส 6503010016 เลขที่ 1
2. นางสาวกนกวรรณ สุขสวัสดิ์
รหัส 6503010032 เลขที่ 3
3. นางสาวชลธาร ฤกษ์นำผล

THANK
รหัส 6503010156 เลขที่ 13
4. นายธนัสธรณ์ กังวาลสงค์วงษ์
รหัส 6503010289 เลขที่ 25

YOU
5. นางธัญญภรณ์ ด้วงเงิน
รหัส 6503010313 เลขที่ 27
6. นายนนทกร ประสมทอง
รหัส 6503010354 เลขที่ 31
7. นางสาวลัลน์รดา สังข์บัวศรี
We look forward to working รหัส 6503010479 เลขที่ 42
with you 8. นายอธิป มั่นใจอารย์
รหัส 6503010636 เลขที่ 55
9. นางสุทธารัตน์ เฟื่ องกำลูน
รหัส 6503010701 เลขที่ 61
10. นางสาวณัฐธิดา สวัสดิ์จุ้น
รหัส 6503010735 เลขที่ 63
Back up slide
ข้อมูลเตรียมเผื่อตอบคำถาม
KEY
CUSTOMER
PROFILE
The data of your company :

Current customer profile.

To create your own, choose a


topic that interests you.

Current customer profile.

To create your own, choose a


topic that interests you.
Vietnam's Economics Outlook

มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลิต (จาก FDI)
และให้ความสำคัญเรื่อง
เศรษฐกิจดิจิทัล

สิทธิประโยชน์จากข้อตกลงทางการค้า การเมืองมีเสถียรภาพ
ส่งเสริมการลงทุนและการส่งออก เนื่องจากปกครองโดย
FTA 15 ฉบับ ครอบคลุม 40 ประเทศ, พรรคคอมมิวนิสต์ การบริโภคและอุปสงค์
RCEP, CPTPP ภายในประเทศแข็งแกร่ง
Vietnam's Economic Outlook

เศรษฐกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวชะลอลงที่ 6.2% ในปี 2023


โดยมีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวซึ่งกระทบการส่งออกและการลงทุนโดยตรง
จากต่างประเทศที่เศรษฐกิจเวียดนามพึ่งพาสูง
อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวต่ำลง จากการจ้างงานในภาคการผลิตที่จะ
ปรับลดลงตามทิศทางการส่งออก
แต่การใช้จ่ายในภาคบริการและการท่องเที่ยว หลังเปิดประเทศจะช่วยพยุงไม่ให้การบริโภค
ชะลอตัวมากนัก
อัตราเงินเฟ้อเวียดนามมีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย ตามแรงกดดันด้านอุปสงค์ที่สูงขึ้น
แต่มาตรการลดภาษีน้ำมันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่ลดลงจะช่วยชะลออัตรา
เงินเฟ้อได้ต่ำกว่าประเทศในภูมิภาค
วิเคราะห์ เวียดนาม - ไทย (กรุงเทพธุรกิจ, 2022)

You might also like