You are on page 1of 8

รายงาน

เรื่ อง Smart City (เมืองอัจฉริ ยะ)

จังหวัดตาก

เสนอโดย

อาจารย์สถาวิทย์ จันจุฬา

จัดทาโดย

นายอุสามาน เจ๊ะอาแซ

รหัสนักศึกษา 406507094

รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการเมืองสมัยใหม่ (12137322)

หลักสู ตรรัฐประศาสนศาสตร์ บณ
ั ฑิต

คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
คานา

รายงานเล่มนี้จดั ทาขึ้นมาเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการเมืองสมัยใหม่ (12137322) เพื่อให้ได้ศึกษาความรู ้ใน


เรื่ องการพัฒนาเมืองอัจฉริ ยะ จังหวัดตาก (Smart City) ในด้านต่างๆ และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กบั การเรี ยน
ผูจ้ ดั ทาหวังว่ารายงาน เล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ ่านหรื อนักเรี ยน นักศึกษา ที่กาลังหาข้อมูลเรื่ องนี้อยู่ หากมี ข้อเสนอแนะ
หรื อข้อผิดพลาดประกาดใด ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้และ ขออภัย ณ ที่น้ ีดว้ ย

จัดทาโดย

นายอุสมาน เจ๊ะอาแซ
สารบัญ

หัวข้ อ หน้ า

ข้อมูลเกี่ยวกับ “เมืองตาก 1

- วิสัยทัศน์เมือง ตาก 1

- แผนพัฒนาเมืองอัฉฉริ ยะจังหวัดตาก 1

เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดตาก 1

- ด้านการศักยภาพด้านพื้นที่ 1

- ด้านการคุณภาพชีวิต 2

- ด้านความมัน่ คง 2

- ด้านสิ่ งแวดล้อม 2

เมืองอัจฉริ ยะจังหวัดตาก 3

ลักษณะการพัฒนาเมืองอัจฉริ ยะแบ่งออกเป็ น 7 ด้าน 3

- เศรษฐกิจอัจฉริ ยะ 3

- พลังงานอัจฉริ ยะ 3

- ระบบสิ่ งแวดล้อมอัจฉริ ยะ 4

- การบริ หารภาครัฐอัจฉริ ย ะ 4

- การดารงชีวิตอัจฉริ ยะ 4

- การเดินทางและขนส่ งอัจฉริ ยะ 4

- พลเมืองอัจฉริ ยะ 4

บรณานุกรม 5
1

ข้ อมูลเกี่ยวกับ “เมืองตาก”

เมืองตาก เป็ นอาเภอในจังหวัดตาก ศูนย์กลางทางด้านคมนาคม และจุดเชื่อมต่อไปยังอาเภอแม่สอด ศูนย์กลางค้า


ชายแดนไทย-พม่า อาเภอเมืองตากเดิมชื่อ "เมืองระแหง" อดีตมีชาวมอญอาศัยอยูม่ าก่อน ดังมีหลักฐานศิลปะมอญปรากฏอยู่
ตัวเมืองเดิมตั้งอยูท่ ี่อาเภอบ้านตาก เมืองนี้สร้างขึ้นก่อนสมัยกรุ งสุ โขทัยเป็ นราชธานีต่อมาเมื่อได้สถาปนากรุ ง สุ โขทัยเป็ น
ราชธานีแล้ว เมืองตากมีฐานะเป็ นเมืองหน้าด่านที่สาคัญด้านฝั่งตะวันตก ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
เลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้ยา้ ยตัวเมืองตากจากฝั่งขวาของแม่น้ าปิ งมายังฝั่งซ้ายบริ เวณตาบลบ้านระแหงจนกระทัง่
ทุกวันนี้ ตาก เป็ นจังหวัดในภาคตะวันตกหรื อบางแห่งจัดอยูใ่ นภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพ้นื ที่มากเป็ นอันดับ 4 ของ
ประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็ นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็ นจังหวัดชายแดนที่สาคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย ทั้งยัง
มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย

วิสัยทัศน์ เมือง ตาก

เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน

แผนพัฒนาเมืองอัฉฉริยะจังหวัดตาก

การส่ งเสริ มและพัฒนาเมืองอัจฉริ ยะของจังหวัดตาก ซึ่ งเป็ นการบริ หารเมืองโดยมุ่งเน้นประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (Citizen-
centric) โดยนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้บริ หารจัดการเมืองอยูเ่ บื้องหลัง การนาข้อมูลของเมืองมาช่วยวิเคราะห์ปัญหาของ
เมือง (Pain Point) เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาเมืองอัจฉริ ยะให้สอดคล้องกับศักยภาพและความต้องการของเมืองอย่าง
แท้จริ ง นอกจากนี้ยงั ได้ยกตัวอย่างเมืองที่ประสบความสาเร็ จ และเมืองที่ลม้ เหลวในการทาโครงการเมืองอัจฉริ ยะ เพื่อให้
บุคลากรของเทศบาลนครแม่สอดเกิดความเข้าใจยิง่ ขึ้น

เป้ าหมายการพัฒนาจังหวัดตาก

1. ด้ านการศั กยภาพด้ านพื้นที่ ในพื้นที่ อาเภอแม่สอด เป็ นเมืองทาการค้าชายแดน มุงเน้นพัฒนาเป้นศูนยกลางการค้า เมือง


ทาการค้าชายแดน ศูนกลางประสานงานบ้านพี่เมืองน้อง และภูมิภาคระหวางแม่สอด เมียวดี อุตสาหกรรมเดิมและ
อุตสาหกรรมเป้าหมายแปรรู ปผลิตภัณฑ์จากพืช สิ่ งทอ เครื่ องแตงกาย อาหาร ผลิตภัณฑ เครื่ องใชไฟ้ฟาและอุปกรณ์
อุตสาหกรรมค้าส่ งค้าปลีกขนาดใหญ่การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและสาธารณสุ ข ระดับชาติอุตสาหกรรมบริ การ

และสันทนาการ
2
2. ด้ านการคุณภาพชีวิต

จังหวัดตากมีประชากรหลากหลายเชื้อชาติ โดยเฉพาะในพื้นที่สูง หรื อตามพื้นที่อาเภอชายแดนมีชาวไทยภูเขาสวนใหญ่


เป็ นเชื้อชาติกะเหรี่ ยง มง มูเซอ และเชื้อชาติอื่น ๆ ทาให ประสบปัญหาด้านความไม่เสมอภาคและเท่าเทียมทางสังคม และ
ปัญหาความยากจน จึงมีความจาเป็ นที่จะต้อง เร่ งรัดพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า ประปา การศึกษา
สาธารณสุ ข และการเข้าถึงบริ การภาครัฐ ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ของจังหวัด และพัฒนาคุณชีวิตของประชาชนให้มีรายได
และสร้างอาชีพ โดยนอมนา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็ นแนวทางในการดารงชีวิต และปฏิบตั ิให้บงั เกิดผลอย่างเป็ น
รู ปธรรม

3 . ด้ านความมั่นคง

บริ เวณ 5 อาเภอชายแดนเป็ นพื้นที่เฝ้าระวังในการลักลอบการนาเข้ายา เสพติด การผลิตยา เสพติด แรงงานต้างดาว ลักลอบ


เข้าเมืองโดยผิดกฎหมายส่ วนใหญ่เป็ นชาวเมียนมา ซึ่ งอาจจะส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหา
อาชญากรรม ปัญหาโรคติดต่อที่มีแนวโน้มสู งขึ้น ทุกปี่ ดังนั้น จังหวัดตาก และจังหวัดเมียวดีประเทศเมียนมา ได้มีการ
ประสานความร่ วมมือระหว่างกัน ตลอดเวลาในการป้องกัน เฝาระวัง ตั้งจุดตรวจจุดสกัดการกระทาผิดในพื้นที่ชายแดนและ
ภายในพื้นที่ฝั่งตะวันออก

4. .ด้ านสิ่ งแวดล้ อม

จังหวัดตากมีสภาพพื้นที่ แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ด้านตะวันออก ประกอบด้วยภูเขาสู งประมาณร้อยละ 65 ของพื้นที่ ซึ่ งปก


คลุมป่ าโปร่ งและป่ าเบญจพรรณ และด้านตะวันตก ประกอบด้วยภูเขาสู งประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่ ปกคลุมไปด้วยป่ า
โปร่ ง ป่ าดงดิบ และป่ าสน มีภูเขาที่ สาคัญ ได้แก่ ภูเขาถนนธงชัย เขาหลวงและเขาพระเมิน ทั้งนี้ เทือกเขาถนนธงชัยกั้น
กลางระหว่างฝั่งตะวันออก กับฝั่งตะวันตก ทาให้ลกั ษณะภูมิอากาศแตกต่างกันไป
3
เมืองอัจฉริ ยะจังหวัดตาก

NT จับมือ เทศบาลเมืองตาก ยกระดับเมื องอัจฉริ ยะ (Smart Digital / Telecommunication)

นายสมไช เสี ยงใหญ่ ท้องถิ่นจังหวัดตาก ปฏิบตั ิราชการแทนผูว้ ่าราชการจังหวัดตาก เป็ นประธาน ในพิธีลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่ วมมือ โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบดิจิทลั และสื่ อสารโทรคมนาคมอัจฉริ ยะ (Smart Digital
/ Telecommunication) ระหว่างเทศบาลเมืองตาก กับ บริ ษทั โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) โดย นายณพล ชยานนท์
ภักดี นายกเทศมนตรี เมืองตาก และ ดร.สุ รชัย อนุตระกูลชัย ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่กลุ่มขายและปฏิบตั ิการลูกค้า
4
ภาคเหนือ บริ ษทั โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) เป็ นผูล้ งนามความร่ วมมือของทั้งสององค์กร การร่ วมมือในครั้งนี้
ถือเป็ นก้าวสาคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ และรองรับภารกิจของเทศบาลเมืองตาก ผ่านโครงการ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบดิจิทลั และสื่ อสารโทรคมนาคมอัจฉริ ยะ (Smart Digital / Telecommunication)
สอดคล้องกับนโยบายประเทศไทย 4.0 เป็ นไปอย่างบูรณาการและมีประสิ ทธิภาพ โดยทั้ง nt และ เทศบาลเมืองตากจะ
ร่ วมกันขับเคลื่อนพัฒนาปรับปรุ งโครงข่ายสื่ อสารของเทศบาลเมืองตากให้รวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ พร้อมให้บริ การแก่
หน่วยงานในสังกัดและประชาชนในพื้นที่ ตอบสนองต่อแผนงานหรื อโครงการลงทุนและกิจการการพัฒนาที่สามารถพลิก
ฟื้ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพิ่มศักยภาพและยกระดับการค้า การผลิต และการบริ การในสาขาเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศ
ให้ครอบคลุมภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และการบริ การ ณ ห้องประชุมเศวตรกุญชร
เทศบาลเมืองตาก จังหวัดตาก

ลักษณะการพัฒนาเมื องอัจฉริ ยะแบ่ งออกเป็ น 7 ด้ าน

1. เศรษฐกิจอัจฉริยะ

เมืองที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในระบบเศรษฐกิจ และบริ หารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิภาพ

2. พลังงานอัจฉริ ยะ

เมืองที่สามารถบริ หารจัดการด้านพลังงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ


4

3.ระบบสิ่ งแวดล้ อมอัจฉริ ยะ

เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีข้ นึ ในยุคสมัยใหม่ ในปัจจุบนั นวัตกรรมเมืองอัจฉริ ยะ

4. การบริหารภาครั ฐอัจฉริยะ

พัฒนาระบบบริ การภาครัฐ เพื่ออานวยความสะดวก แก่ประชาชนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐ

5. การดารงชีวิตอัจฉริ ยะ

ประชาชนมีสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัย และมีความสุ ขในการดารงชีวิต

6. การเดินทางและขนส่ งอัจฉริยะ

เพิ่มประสิ ทธิภาพ และความเชื่อมโยงของระบบขนส่ ง และการสัญจรที่หลากหลาย

7. พลเมืองอัจฉริ ยะ

มุ่งพัฒนาองค์ความรู ้ ทักษะ และสิ่ งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต


5

บรรณานุกรม

https://www.citydata.in.th/tak/dashboard-public/?smartcitytype=smart-people

https://maesot.kpru.ac.th/wp-
content/uploads/2021/11/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B
8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%
94%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%81-%E0%B8%9E.%E0%B8%A8.-2566-
2570.pdf?fbclid=IwAR1BcZNjMglKpD2zgMBgL9_9mcEu-byH38XjsymhZJhJnb6b9avUDMSh4II

https://www.ryt9.com/s/prg/3312145

You might also like