You are on page 1of 64

สำนั ก งานสถิ ติ แ ห่ งชาติ ได้ จั ด ทำการสำรวจการมี ก ารใช้ เทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2544 และตั้งแต่


พ.ศ. 2546 เป็นต้นมาได้ทำการสำรวจต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี สำหรับครั้งนี้
เป็นการดำเนินการครั้งที่ 20 โดยวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบจำนวนประชาชน
ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ ลักษณะและพฤติกรรมในการใช้
อุปกรณ์ เทคโนโลยี ต่าง ๆ รวมทั้ งทราบจำนวนครัวเรือ นที่ มี อุป กรณ์ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร เช่น โทรศัพท์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์ และการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เป็นต้น เพื่อให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนนำข้อมูล
ไปใช้ประกอบในการกำหนดนโยบาย วางแผนพัฒนาทางด้านไอซีทีเพื่อให้ประชาชน
ในประเทศมีโอกาสในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจยั ง ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการจั ด ทำ
ดั ช นี ชี้ วั ด ด้ า นไอซี ที ซึ่ ง แสดงถึ ง ความก้ า วหน้ า ของประเทศ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ใคร่ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ที่ได้ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นในการปฏิบัติงานการสำรวจ
ครั้งนี้ ให้ สำเร็จลุ ล่วงไปด้ วยดี และหวัง ว่าการจัด การสำรวจนี้ จ ะให้ ประโยชน์
ร่วมกันทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนอย่างแท้จริง
บ ทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
ได้จัดทำเป็น ครั้ งแรกในปี พ.ศ. 2544 และตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็น ต้น มา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทำการสำรวจต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เพื่อให้ทราบ
จำนวนประชาชนที่ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ ลักษณะ
และพฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ รวมทั้งจำนวนครัวเรือนที่มี
อุ ป กรณ์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เช่ น โทรศั พ ท์ พื้ น ฐาน
เครื่องคอมพิวเตอร์ และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในครัวเรือน เป็นต้น
การสำรวจใช้วิธีสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือน และสมาชิกในครัวเรือนที่มี
อายุ 6 ปีขึ้นไป จากครัวเรือนตัวอย่างทั้งสิ้น 83,880 ครัวเรือน ผลการสำรวจ
สรุปได้ดังนี้
ผลการสำรวจประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไป ประมาณ 63.8 ล้านคน พบว่า
มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 60.5 ล้านคน (ร้อยละ 94.8) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 49.7 ล้านคน
(ร้อยละ 77.8) และผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 16.8 ล้านคน (ร้อยละ 26.4)

สำหรับการใช้โทรศัพท์มือถือของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไป ซึ่งมีผู้ใช้


โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 94.8 เมื่อจำแนกตามเขตการปกครอง พบว่า ในเขตเทศบาล
มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 95.8 นอกเขตเทศบาลมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 94.0

94.8%

ประชาชนอายุ 6 ปีขน
ึ้ ไป
95.8% 94.0%
ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล
ทีใ่ ช้โทรศัพท์มือถือ

เมื่ อ พิ จ ารณารู ป แบบการใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ พบว่ า ประชาชนใช้


โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone มากที่สุดคือ ร้อยละ 86.4 รองลงมาคือ
ใช้โทรศัพท์มือถือแบบ Feature Phone ร้อยละ 12.7 และใช้โทรศัพท์มือถือ
ทั้งแบบ Smart Phone และ Feature Phone ร้อยละ 0.9
เมื่อพิจารณาแนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ในช่วงระหว่าง
ปี 2559 – 2563 พบว่า ในระยะเวลา 5 ปีนี้ ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น
โดยผู้ใ ช้ อิน เทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47.5 (29.8 ล้านคน) ในปี 2559
เป็ น ร้ อ ยละ 77.8 (49.7 ล้ า นคน) ในปี 2563 ในขณะที่ สั ดส่ วนของผู้ ใช้
คอมพิวเตอร์มีแนวโน้มลดลงในปี 2559 ถึง 2562 แต่ในปี 2563 เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
คิดเป็นร้อยละ 26.4 (16.8 ล้านคน)
สำหรับ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชาชน
ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ระหว่างปี 2559 – 2563 พบว่า
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล คือ
ในเขตเทศบาลจากร้อยละ 57.4 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 83.6 ในปี 2563
ส่วนนอกเขตเทศบาลจากร้อยละ 39.5 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 73.2 ในปี 2563
สำหรับ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ อยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล
มีแนวโน้มลดลงในปี 2559 – 2562 แต่ในปี 2563 ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น
ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 32.8 และ ร้อยละ 21.2 ตามลำดับ
เมื่ อ พิ จ ารณาผู้ ใ ช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อิ น เทอร์ เ น็ ต และคอมพิวเตอร์
เป็นรายภาค พบว่า กรุงเทพมหานครมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือสูงที่สุดคือ ร้อยละ 97.2
รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 95.0 และใช้ต่ำที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยละ 94.0
สำหรับการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า กรุงเทพมหานครมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
สูงที่สุดเช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 91.4 รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 81.2
และใช้ตำ่ ที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 70.9
ในขณะที่การใช้คอมพิวเตอร์ กรุงเทพมหานครยังมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์
สูงที่สุดเช่นเดียวกันคือ ร้อยละ 43.4 รองลงมาคือ ภาคกลาง ร้อยละ 26.7
และใช้ตำ่ ที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 20.9
เมื่ อ เปรี ย บเที ย บการใช้ อิ น เทอร์ เน็ ต ระหว่ า งเพศชายและหญิ ง
ในปี 2559 – 2563 ไม่ แตกต่ า งกัน มากนัก โดยปี 2563 พบว่า ผู้ชายใช้
อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 79.0 ผู้หญิงใช้ ร้อยละ 76.8
เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตตามกลุ่มอายุต่าง ๆ ในปี 2559 – 2563
ทุกกลุ่มอายุมีแนวโน้มใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้น โดยในปี 2563 พบว่า กลุ่มอายุ
15 - 24 ปี มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด ร้อยละ 98.4 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ
25 - 34 ปี ร้อยละ 97.3 และกลุ่มอายุ 35 - 49 ปี ร้อยละ 90.6

สำหรับสถานที่ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ส่วนใหญ่ ใช้ที่บ้าน/ที่พักอาศัย


ร้อยละ 95.6 รองลงมาคือ ใช้ตามสถานที่ต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 89.6
และใช้ที่ทำงาน ร้อยละ 33.1
ส่ ว นกิ จ กรรมที่ ใ ช้ ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ โ ซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร์ ก เช่ น Facebook,
Twitter, LINE, Whatsapp เป็นต้น ร้อยละ 92.0 รองลงมาคือ ใช้โทรศัพท์ผ่าน
Internet (VoIP) เช่ น โทรผ่าน Line, Facebook, Facetime, Whatsapp เป็ นต้ น
ร้อยละ 90.9 และใช้ในการดาวน์โหลดหรือสตรีมมิงรูปภาพ/หนัง/วิดีโอ/เพลง/
เกมส์ เล่นเกมส์ ดูหนัง ร้อยละ 74.3
ในขณะที่ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้ทุกวัน
ร้อยละ 89.3 รองลงมาใช้อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 10.1
ส่วนอุปกรณ์ ในการเข้าถึงอิน เทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ ผู้ใช้อิน เทอร์เน็ ตใช้
โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตค่อนข้างสูงคือ
ร้อยละ 99.2 รองลงมาใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ร้อยละ 27.2 และใช้คอมพิวเตอร์พกพา
ร้อยละ 12.5

1 3
โทรศัพท์มือถือแบบ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา
คอมพิวเตอร์พกพา
Smart Phone (PC, Desktop) (Notebook/ Laptop,
ขนาดกลาง (Tablet)
Netbook)
2 4
หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ

เมื่อพิจารณาทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ทักษะ


ในการคัดลอก/ตัด/วาง (Copy/Cut/Paste) ข้อความในเอกสาร ร้อยละ 83.1
รองลงมาใช้ทักษะในการ คัดลอก (Copy)/เคลื่อนย้าย (Move) ไฟล์งานหรือ
แฟ้มงาน (Folder) ร้อยละ 82.0 และใช้ทักษะในการส่งอีเมลพร้อมไฟล์แนบ
(Attached) เช่น เอกสาร รูปภาพ วิดีโอ ร้อยละ 65.1 เป็นต้น

หมายเหตุ : ตอบทุกข้ อ
เมื่อพิจารณาการมีหรือใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือน พบว่า จากผลการสำรวจครัวเรือนประมาณ 22.3 ล้านครัวเรือน
มีครัวเรือนที่มีสมาชิกใช้โทรศัพท์มือถือมากถึงร้อยละ 97.4
เมื่อเปรียบเทียบการมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือนระหว่างปี 2559 - 2563 พบว่า ครัวเรือนที่มีโทรศัพท์พื้นฐานมีแนวโน้ม
ลดลงจากร้อยละ 12.2 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 5.6 ในปี 2563 ครัวเรือนที่มี
เครื่องคอมพิวเตอร์ ลดลงจากร้อยละ 28.4 ในปี 2559 เป็น ร้อ ยละ 15.9
ในปี 2562 และเพิ่มขึ้นในปี 2563 เป็นร้อยละ 19.3 สำหรับครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 59.8 ในปี 2559 เป็นร้อยละ 85.2 ในปี 2563

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอุปกรณ์
จำนวนครัวเรือน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปี ทั้งสิ้น
(พันครัวเรือน) โทรศัพท์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์1/ การเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต
2559 21,367.2 12.2 28.4 59.8
2560 21,513.4 9.3 24.8 64.4
2561 (Q1) 21,418.7 7.2 20.9 67.7
2561 (Q4) 21,583.8 6.1 18.3 71.3
2562 21,884.4 7.9 15.9 74.6
2563 22,316.1 5.6 19.3 85.2
หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง
สำหรับครัวเรือนที่ มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต พบว่า มีการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตแบบไร้สายเคลื่อนที่ผ่านโทรศัพท์มือถือ 3G ขึ้นไป เช่น WCDMA,
EV-DO สูงที่สุดคือร้อยละ 68.8 รองลงมาประเภท Fixed broadband 1/
ร้อยละ 26.1 และ Narrowband แบบไร้สายเคลื่อนที่ ผ่านโทรศัพ ท์มือถือ
2G, 2.5G เช่น GSM, CDMA, GPRS ร้อยละ 3.6

หมายเหตุ : 1/ Fixed broadband ได้แก่ DSL (SDSL, ADSL, VDSL), Cable modem, Leased line, ดาวเทียม เคเบิลใยแก้วนำแสง
Fixed wireless, WiMAX.
ตัวชี้วดั ที่สำคัญ
ภาค
ทั่วราช กรุงเทพ ภาค ภาค ภาค
รายการ ปี อาณาจักร มหานคร กลาง เหนือ
ตะวันออก
ใต้
เฉียงเหนือ
2561 89.6 94.7 90.9 86.8 88.0 88.3
1. ร้ อ ยละของประชาชนอายุ
(ไตรมาส 1)
6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
2563 94.8 97.2 95.0 94.4 94.0 94.2
2. ร้ อ ยละของประชาชนอายุ 2562 66.7 85.3 72.0 59.6 56.8 65.2
6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต 2563 77.8 91.4 81.2 72.0 70.9 78.2

3. ร้ อ ยละของประชาชนอายุ 2562 25.3 43.0 24.7 23.1 20.1 22.5


6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ 2563 26.4 43.4 26.7 23.7 20.9 23.5

4. จำนวน เครื ่ อ งโทรศั พ ท์ 2562 11.7 17.0 10.3 8.3 14.0 9.1
พื้นฐาน ต่อ 100 ครัวเรือน 2563 6.8 17.7 5.2 2.2 7.7 3.6

5. จำนวนเครื่องคอมพิ วเตอร์ 2562 27.6 69.3 26.5 21.2 15.3 19.9


ต่อ 100 ครัวเรือน 2563 32.8 76.3 33.9 28.3 16.9 22.8

6. ร้ อ ยละของครั ว เรื อ นที่ มี 2562 15.9 34.5 15.9 14.1 9.6 12.1
เครื่องคอมพิวเตอร์ 2563 19.3 41.0 20.3 17.6 10.5 14.3

7. ร้อยละของครัวเรือนที่ มีการ 2562 74.6 89.4 79.8 66.5 65.7 75.5


เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 2563 85.2 95.0 87.8 79.0 80.2 87.1
สรุปประเด็นเด่น
1. ประชาชนในกรุงเทพมหานครใช้โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 97.2) ใช้อินเทอร์เน็ต
(ร้อยละ 91.4) และใช้คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 43.4) ซึ่งสูงกว่าภาคอื่น
2. ประชาชนกลุ่ ม อายุ 15 - 19 ปี (ร้ อ ยละ 99.3) ใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และ
ใช้อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 98.8) มากที่สุด
3. ประชาชนกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี (ร้อยละ 78.5) ใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด
4. ประชาชนส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อใช้บริการฟังก์ชันบนโทรศัพท์มือถือ
(ร้อยละ 87.8) ใช้บริการข้อความสั้น (SMS) (ร้อยละ 72.2) และใช้บริการสืบค้น/
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต (Data Internet) เช่น อีเมล เกมออนไลน์
โซเชียลเน็ตเวิร์ก เป็นต้น (ร้อยละ 67.0)
5. ประชาชนส่วนใหญ่ ใช้อินเทอร์เน็ ตที่ บ้าน/ที่ พักอาศัย (ร้อยละ 95.6) ใช้ตาม
สถานที่ต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 89.6) และใช้ที่ทำงาน (ร้อยละ 33.1)
6. ประชาชนส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อกิจกรรมโซเชียลเน็ตเวิร์ก (Facebook,
Twitter, LINE, Instagram) (ร้อยละ 92.0) ใช้โทรศัพท์ผ่าน Internet (VoIP)
เช่น โทรผ่าน Line, Facebook, Facetime, Whatsapp เป็นต้น (ร้อยละ 90.9) และ
ใช้ในการดาวน์โหลดหรือสตรีมมิง รูปภาพ/หนัง/วิดีโอ/เพลง/เกมส์ เล่นเกมส์
ดูหนัง (ร้อยละ 74.3)
7. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เคยซื้อสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 56.5)
เหตุผลคือ ชอบซื้อสินค้าด้วยตนเอง (ร้อยละ 49.3) ไม่สนใจ (ร้อยละ 43.4)
และไม่มีความมั่นใจ ความรู้ ทักษะในการซื้อสินค้า/บริการทางอินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 25.9)
8. ประชาชนที่ เคยซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารทางอิ น เทอร์ เน็ ต (ร้ อ ยละ 43.5)
ส่วนใหญ่ซื้อเครื่องแต่งกาย รองเท้า อุปกรณ์กีฬา เครื่องประดับ (ร้อยละ 80.4)
ซื้อทั้งอาหาร ของอุปโภคบริโภค แอลกอฮอล์หรือยาสูบ (ร้อยละ 37.7) และ
เครื่องสำอาง (ร้อยละ 35.3)
9. ครัวเรือนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย
เคลื่อนที่ผ่านโทรศัพท์มือถือ 3G ขึ้นไป (WCDMA, EV-DO) (ร้อยละ 68.8)
และประเภท Fixed broadband (ร้อยละ 26.1)
สารบัญ
หน้า
คำนำ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1
ตัวชี้วัดที่สำคัญ 11
สรุปประเด็นเด่น 12
สารบัญแผนภูมิ 14
สารบัญแผนภาพ 14
สารบัญตาราง 15
บทนำ 17
สรุปผลการสำรวจ 19
1. ลักษณะของประชาชนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 19
1.1 จำนวนผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ 19
1.2 เพศและกลุ่มอายุของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ 21
1.3 ระดับการศึกษาของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ 22
1.4 อาชีพของผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ 23
1.5 ประเภทโทรศัพท์มือถือที่ใช้ 24
1.6 กิจกรรมของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ 25
1.7 สถานที่ กิจกรรม และความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต 26
1.8 ทักษะของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 27
2. ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ที่เคยซื้อสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต 29
2.1 ประเภทสินค้าหรือบริการที่เคยซื้อทางอินเทอร์เน็ต 30
2.2 เหตุผลของผู้ที่ไม่เคยซื้อสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต 31
3. การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 32
3.1 ครัวเรือนที่มีหรือใช้อุปกรณ์เครื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 32
3.2 จำนวนอุปกรณ์เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน 34
3.3 ประเภทของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในครัวเรือน 35
4. ข้อคิดเห็นต่อความต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วยเหลือในการเข้าถึงเทคโนโลยี 36
สารสนเทศและการสื่อสาร
ภาคผนวก 37
คำนิยามที่สำคัญ 39
ตารางเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้และจำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ พ.ศ. 2558 – 2563 45
ตารางสถิติที่สำคัญ พ.ศ. 2563 51
สารบัญแผนภูมิ
หน้า
แผนภูมิ 1 ร้อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ จำแนกตาม 25
กิจกรรมที่ใช้
แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จำแนกตามสถานที่ใช้ 26
แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จำแนกตามความถี่ในการใช้ 27
แผนภูมิ 4 ร้ อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ เ คยซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารทาง 29
อินเทอร์เน็ต จำแนกตามกลุ่มอายุ
แผนภูมิ 5 ร้ อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ไม่ เคยซื้ อ สิ น ค้ าหรื อ บริ ก ารทาง 31
อินเทอร์เน็ต จำแนกตามเหตุผล
แผนภูมิ 6 ร้อยละของครัวเรือน จำแนกตามเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาควบคุม 36
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

สารบัญแผนภาพ
หน้า
แผนภาพ 1 ร้อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อิ น เทอร์ เน็ ต 19
และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามเขตการปกครอง
แผนภาพ 2 ร้อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อิ น เทอร์ เน็ ต 20
และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค
แผนภาพ 3 ร้อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้น ไปที่ ใช้ โ ทรศัพ ท์มือ ถือ อิน เทอร์เน็ ต 21
และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามกลุ่มอายุ
แผนภาพ 4 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ จำแนกตามกลุ่มอายุ 24
และประเภทโทรศัพท์มือถือ
แผนภาพ 5 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จำแนกตามกิจกรรมที่ใช้ 26
แผนภาพ 6 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกตามทักษะการใช้ 27
แผนภาพ 7 ร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่เคยซือ้ สินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต 30
จำแนกตามประเภทสินค้าหรือบริการ
แผนภาพ 8 ร้อยละของครัวเรือนที่มีสมาชิกใช้โทรศัพท์มือถือ 32
แผนภาพ 9 ร้อยละของครั วเรือนที่ มี เครื่ องมื อเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร 33
จำแนกตามภาค
สารบัญตาราง
หน้า
ตาราง 1 ร้อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อิ น เทอร์เน็ ต หน้22า
และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามระดับการศึกษา
ตาราง 2 จำนวนและร้ อยละของผู้ มี งานทำอายุ 15 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ โทรศั พ ท์ มื อถื อ 23
อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามอาชีพ
ตาราง 3 ร้อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ เพื่ อ ทำรายการ 28
จำแนกตามกลุม่ อายุ
ตาราง 4 จำนวนอุปกรณ์เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อ 100 ครัวเรือน 34
จำแนกตามภาค
ตาราง 5 ร้อ ยละของครัว เรือ นที่ เชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เน็ ต จำแนกตามประเภทของ 35
อินเทอร์เน็ตและภาค
บทนำ
1. ความเป็นมา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดำเนินการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื ่ อสารในครั วเรื อนครั ้ งแรก พ.ศ. 2544 และตั ้ งแต่
พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา ได้ทำการสำรวจต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี โดยผนวก
แบบสอบถามกับโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร แต่เนื่องจาก
มีความต้องการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้น จึงได้
เพิ ่ ม รายละเอี ย ดของข้ อ ถามตามความต้ อ งการของผู ้ ใ ช้ แ ละได้ แ ยก
แบบสอบถามออกจากการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ตั้ ง แต่
ปี 2548 เป็นต้นมา สำหรับการสำรวจครั้งนี้ ได้ดำเนินการสำรวจในไตรมาส 4
(ตุลาคม – ธันวาคม) พ.ศ. 2563
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื ่ อทราบจำนวนประชาชนที ่ ใช้ คอมพิ วเตอร์ อิ นเทอร์ เน็ ต
และโทรศัพท์มือถือ
2.2 เพื่อทราบจำนวนครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในแต่ละประเภท คือ เครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน เครื่องคอมพิวเตอร์
และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในครัวเรือน
2.3 เพื่อทราบการใช้คอมพิวเตอร์ ทักษะการใช้ การใช้อินเทอร์เน็ต
และรายละเอียดของการใช้ เช่น สถานที่ใช้ กิจกรรมในการใช้ ความถี่ในการใช้
การสั่งซื้อสินค้าหรือบริการ การใช้โทรศัพท์มือถือ และประเภทของโทรศัพท์มือถือ
3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการสำรวจ
3.1 ทำให้ ท ราบถึ งความก้ าวหน้ า ในการใช้ เทคโนโลยี ทางด้ าน
คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือของประชาชน
3.2 ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ใ ช้ จั ด ทำดั ช นี ชี้ วั ด ด้ า นไอซี ที แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ
3.3 ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ น ำไปใช้ ใ นการกำหนดนโยบาย วางแผนพั ฒ นา
ให้กับประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการกระจาย
ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง
4. ขอบข่ายและคุ้มรวม
คุ้มรวมของการสำรวจ คือ ครัวเรือนส่วนบุคคลที่ ต กเป็ น ตั ว อย่ า ง
ทั้งสิ้น 83,880.ครัวเรือน สำหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้การสัมภาษณ์
หัวหน้าครัวเรือนและสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไปโดยเจ้าหน้าที่ของ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ
1. ลักษณะของประชาชนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.1 จำนวนผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์
ผลการสำรวจในปี 2563 พบว่า มีจำนวนประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไป
ทั้งสิ้นประมาณ 63.8 ล้านคน ในจำนวนนี้มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 94.8
ผู้ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ร้ อ ยละ 77.8 และผู้ ใ ช้ ค อมพิ ว เตอร์ ร้ อ ยละ 26.4
โดยในเขตเทศบาลมี ผู้ ใช้ โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 95.8 ผู้ใช้อิน เทอร์เน็ต
ร้อยละ 83.6 และผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 32.8 ในขณะที่นอกเขตเทศบาล
มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 94.0 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 73.2 และผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 21.2

ทั่วราชอาณาจักร นอกเขตเทศบาล
ในเขตเทศบาล

95.8% 94.8% 94.0%


โทรศัพท์มือถือ

83.6% 77.8% 73.2%


อินเทอร์เน็ต

32.8% 26.4% 21.2%


คอมพิวเตอร์
เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า กรุงเทพมหานครมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ
อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์สูงสุดคือ ร้อยละ 97.2 ร้อยละ 91.4 และ ร้อยละ 43.4
ตามลำดับ ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต
และคอมพิวเตอร์ ต่ำที่สุดคือ ร้อยละ 94.0 ร้อยละ 70.9 และ ร้อยละ 20.9
ตามลำดับ

94.8% 77.8% 26.4%


ทั่วราชอาณาจักร
โทรศัพท์มอื ถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์

94.4%
94.0%
72.0%
70.9%
23.7%
20.9%
95.0%

81.2%

26.7% 97.2%

91.4%
94.2%
43.4%
78.2%

23.5%
1.2 เพศและกลุ่มอายุของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์
เมื่อพิจารณาเพศของผูใ้ ช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์
พบว่า ผู้ชายใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 95.1 ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 79.0 และ
ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 25.3 ส่วนผู้หญิงใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 94.5
ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 76.8 และใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 27.4
สำหรับอายุของผู้ใช้ พบว่า ประชาชนอายุ 15 - 24 ปีใช้โทรศัพท์มือถือ
สูงที่สุดคือ ร้อยละ 99.1 รองลงมาคือ อายุ 25 - 34 ปี ร้อยละ 99.0 ส่วนการใช้
อินเทอร์เน็ตมีการใช้สูง ที่สุดในอายุ 15 - 24 ปี ร้อยละ 98.4 รองลงมาคือ
อายุ 25 - 34 ปี ร้อยละ 97.3 และการใช้ คอมพิวเตอร์ มีการใช้สูง ที่สุดใน
อายุ 6 - 14 ปี ร้อยละ 63.2 รองลงมาคืออายุ 15 - 24 ปี ร้อยละ 52.5

โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์

6 – 14 ปี 91.6% 90.2% 63.2%

15 – 24 ปี 99.1% 98.4% 52.5%

25 – 34 ปี 99.0% 97.3% 29.3%

35 – 49 ปี 98.5% 90.6% 22.3%

50 ปีขึ้นไป 89.9% 49.7% 6.6%


1.3 ระดับการศึกษาของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์
ผู้มีการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นกลุ่มที่ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต
และคอมพิวเตอร์สูงที่สุด คือ ร้อยละ 99.5 ร้อยละ 98.2 และร้อยละ 66.8
ตามลำดับรองลงมาคือ ระดับอนุปริญญา ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 99.4
ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 96.9 และใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 33.5 ส่วนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 99.2 ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 95.1
และใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 24.8

หมายเหตุ : 1/ - รวมสำเร็จการศึกษาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น การศึกษาปอเนาะ หลักสูตรอื่น ๆ ที่ไม่ได้วุฒิการศึกษา


และการศึกษาที่เทียบระดับไม่ได้ เช่น อิสลามศึกษา แผนกศาสนาอิสลาม
ไม่มีการศึกษา
ไม่ทราบระดับการศึกษา
1.4 อาชีพของผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์
เมื่อสอบถามผู้มีงานทำอายุ 15 ปีขึ้น ไปในแต่ละกลุ่มอาชีพเกี่ยวกับ
การใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมา
พบว่า อาชีพที่มีการใช้โทรศัพท์มือถือสูงที่สุดคือ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ และ
อาชีพเสมียนเท่ากันคือ ร้อยละ 99.9 สำหรับอาชีพที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตและ
คอมพิวเตอร์สูงที่สุดคือ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ ร้อยละ 99.6 และร้อยละ 89.3
ตามลำดับ

จำนวนผู้ ร้อยละผู้มีงานทำ
อาชีพ มีงานทำ
(พันคน) ใช้โทรศัพท์มือถือ ใช้อินเทอร์เน็ต ใช้คอมพิวเตอร์

รวม 39,338.3 98.4 82.6 20.1


ผู้จัดการ ข้าราชการระดับอาวุโส และผูบ้ ัญญัติ 1,397.3 99.5 97.7 57.4
กฎหมาย
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ 2,252.0 99.9 99.6 89.3
เจ้าหน้าที่เทคนิคและผู้ประกอบวิชาชีพ 1,782.4 99.8 98.9 75.0
ที่เกี่ยวข้องกับด้านต่าง ๆ
เสมียน 1,754.3 99.9 99.5 74.9
พนักงานบริการและผู้จำหน่ายสินค้า 7,933.0 99.1 89.6 16.3
ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตร ป่าไม้ 12,088.6 96.9 64.3 2.0
และประมง
ช่างฝีมือและผู้ปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง 4,236.2 98.3 86.1 10.5
ผู้ควบคุมเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร 3,585.2 99.7 95.1 7.7
และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ
ผู้ประกอบอาชีพงานพื้นฐาน 4,225.2 97.7 79.2 3.2
คนงานซึ่งไม่ได้จำแนกไว้ในหมวดอื่น 43.4 99.0 99.0 59.3
อาชีพที่ไม่ระบุไว้ชัดเจน 40.9 100.0 99.3 56.3
1.5 ประเภทโทรศัพท์มือถือที่ใช้
จากการสำรวจประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ พบว่า
ประเภทโทรศัพท์มือถือที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone
ร้อยละ 86.4 ใช้โทรศัพท์มือถือแบบ Feature Phone ร้อยละ 12.7 และใช้
โทรศัพท์มือถือทั้งแบบ Smart Phone และ Feature Phone ร้อยละ 0.9
เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ พบว่า กลุ่มอายุที่ใช้โทรศัพท์มือถือแบบ
Smart Phone สูงที่สุดคือ กลุ่มอายุ 15 – 24 ปี ร้อยละ 98.8 กลุ่มอายุที่ใช้
โทรศัพ ท์มือถื อ แบบ Feature Phone สู ง ที่สุดคือ กลุ่ ม อายุ 50 ปีขึ้น ไป
ร้อยละ 32.1 และใช้โทรศัพท์มือถือทั้งแบบ Smart Phone และ Feature Phone
สูงที่สุดคือ กลุ่มอายุ 6 – 14 ปี ร้อยละ 1.3

Smart Phone และ


Smart Phone Feature Phone
Feature Phone

96.8% 98.8% 98.3%

1.9% 0.5% 0.9%

อายุ 6-14 ปี 1.3% อายุ 15-24 ปี 0.7% อายุ 25-34 ปี 0.8%

94.3% 66.7%

4.9% 32.1%

อายุ 35-49 ปี 0.8% อายุ 50 ปี


1.2%
ขึ้นไป
1.6 กิจกรรมของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ
กิ จ กรรมในการใช้ โ ทรศั พ ท์ ม ื อ ถื อ อื ่ น ๆ นอกเหนื อ จากการใช้
โทรออกและรับสายเข้าเป็นหลักแล้ว ส่วนใหญ่ใช้ ฟังก์ชันบนโทรศัพท์มือถือ
เช่น เครื่องคิดเลข กล้อง นาฬิกาปลุก เป็นต้น ร้อยละ 87.8 รองลงมาใช้
บริการข้อความสั้น (Short Message Service: SMS) ร้อยละ 72.2 ใช้บริการ
สืบค้น/แลกเปลี่ยนข้ อมูลข่า งสารทางอินเทอร์เน็ต (Data Internet) เช่น
อีเมล เกมออนไลน์ โซเชียลเน็ตเวิร์ก เป็นต้น ร้อยละ 67.0

87.8%
72.2%
67.0%

37.1%

การใช้ฟังก์ชันบน ข้อความสั้น (SMS) Data Internet การทำธุรกรรม


โทรศัพท์มือถือ (e-mail, ทางการเงิน
social media)
หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ
1.7 สถานที่ กิจกรรม และความถีใ่ นการใช้อินเทอร์เน็ต
ผู ้ ท ี ่ ใช้ อ ิ นเทอร์ เน็ ตส่ วนใหญ่ ใช้ ท ี ่ บ ้ าน/ที ่ พ ั กอาศั ย ร้ อ ยละ 95.6
รองลงมาใช้ตามสถานที่ต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ร้ อยละ 89.6 ใช้ที่ทำงาน
ร้อยละ 33.1

บ้าน/
ตามสถานที่ต่าง ๆ
ที่พักอาศัย
ผ่านโทรศัพท์มือถือ
95.6%
89.6%

บ้านเพื่อน/
ที่ทำงาน คนรู้จัก/ญาติ ให้บริการ
เชิงพาณิชย์ อินเทอร์เน็ต
33.1% 31.1% สถานศึกษา ชุมชน ตามสถานที่ต่าง ๆ
26.4% ผ่านคอมพิวเตอร์พกพา
16.8% 14.6%
6.6%

หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ

ส่ ว นกิ จ กรรมที่ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ โ ซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร์ ก


(Facebook, Twitter, LINE, Instagram) ร้อยละ 92.0 รองลงมาคือ โทรศัพท์ผ่าน
Internet (VoIP) เช่น โทรผ่าน Line, Facebook, Facetime, Whatsapp เป็นต้น
ร้อยละ 90.9 ใช้ดาวน์โหลดหรือสตรีมมิง รูปภาพ/หนัง/วิดีโอ/เพลง/เกมส์ เล่นเกมส์
ดูหนัง ร้อยละ 74.3

92.0% 90.9% 74.3%

ใช้โซเชียลเน็ตเวิร์ก โทรศัพท์ผ่าน ดาวน์โหลดหรือสตรีมมิง


Internet รูปภาพ/หนัง/วิดีโอ/เพลง/
หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ เกมส์ เล่นเกมส์ ดูหนัง
สำหรับความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกวัน
ร้อยละ 89.3 รองลงมาใช้อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 10.1

(10.1%)
(89.3%) ใช้อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
ใช้ทุกวัน
(0.5%)
ใช้อย่างน้อยเดือนละครั้ง

(0.1%)
ไม่ทราบ

1.8 ทักษะของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
เมื่อพิจารณาทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ทักษะ
ในการคัดลอก/ตัด/วาง (Copy/Cut/Paste) ข้อความในเอกสาร ร้อยละ 83.1
รองลงมาใช้ทักษะในการคัดลอก (Copy)/เคลื่อนย้าย (Move) ไฟล์งานหรือ
แฟ้มงาน (Folder) ร้อยละ 82.0 ใช้ทักษะในการส่งอีเมลพร้อมไฟล์แนบ
(Attached) เช่น เอกสาร รูปภาพ วิดีโอ เป็นต้น ร้อยละ 65.1 เป็นต้น

83.1% 82.0% 65.1%

คัดลอก/ตัด/วาง (Copy/Cut/Paste) คัดลอก (Copy)/เคลื่อนย้าย (Move) ส่งอีเมลพร้อมไฟล์แนบ


ข้อความในเอกสาร ไฟล์งานหรือแฟ้มงาน (Folder) (Attached)

หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ
สำหรับทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์พิจารณาเป็นรายกลุ่มอายุ พบว่า
กลุ่มอายุ 6-14 ปี ส่วนใหญ่ใช้ทักษะคัดลอก/ตัด/วาง (Copy/Cut/Paste)
ข้อความในเอกสาร ร้อยละ 20.9 กลุ่มอายุ 15-24 ปี ส่วนใหญ่ใช้ทักษะเขียนโปรแกรม
ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 42.7 กลุ่มอายุ 25-34 ปี และกลุ่มอายุ 35-49 ปี
ส่วนใหญ่ใช้ทักษะลงระบบปฏิบัติการหรือเปลี่ยนระบบปฏิบัติการใหม่ ร้อยละ 27.0
และร้อยละ 28.9 ตามลำดับ และกลุ่มอายุ 50 ปีขึ้นไปส่วนใหญ่ใช้ทักษะเชื่อมต่อ
และติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ เช่น กล้อง โมเด็ม (Modem) เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น
ร้อยละ 9.8

กลุ่มอายุ (ปี)
ทักษะ รวม
6 - 14 15 - 24 25 - 34 35 - 49 50 ปีขึ้นไป

คัดลอก (Copy)/เคลื่อนย้าย (Move) ไฟล์งานหรือแฟ้มงาน (Folder) 100.0 20.3 32.1 17.8 21.2 8.6

คัดลอก/ตัด/วาง (Copy/Cut/Paste) ข้อความในเอกสาร 100.0 20.9 31.9 17.7 20.9 8.6

ส่งอีเมลพร้อมไฟล์แนบ (Attached) เช่น เอกสาร รูปภาพ วิดีโอ เป็นต้น 100.0 11.5 33.4 20.7 24.7 9.7

ใช้สูตรเบื้องต้นในเอกสารประเภทสเปรดชีต (Spreadsheet) เช่น 100.0 14.4 35.0 19.2 22.9 8.5


Excel เป็นต้น

เชื่อมต่อและติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ เช่น กล้อง โมเด็ม (Modem) 100.0 7.7 33.8 22.2 26.5 9.8
เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น

ติดตั้งและตั้งค่าเริ่มต้นการใช้งานซอฟต์แวร์ (Install and Configure) 100.0 5.5 35.0 24.2 26.4 8.9

สร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมนำเสนอ เช่น PowerPoint, Keynote 100.0 10.3 41.0 18.4 22.1 8.2
เป็นต้น

โอนย้ายไฟล์ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น เช่น 100.0 7.6 35.7 21.8 25.6 9.3


โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ 100.0 5.7 42.7 23.0 21.6 7.0

การปรับค่าความปลอดภัยของอินเทอร์เน็ตเบราว์เซอร์ เช่น Internet 100.0 4.8 34.7 24.5 27.2 8.8


Explorer, Chrome เป็นต้น

ลงระบบปฏิบัติการหรือเปลี่ยนระบบปฏิบัติการใหม่ 100.0 2.7 33.5 27.0 28.9 7.9

หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ
2. ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ที่เคยซือ้ สินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต
ในจำนวนผู ้ ที่ ใช้อิ นเทอร์เน็ต 49.7 ล้า นคน พบว่า ส่วนใหญ่เป็น
ผู้ที่ไม่เคยซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 56.5 ส่วนผู้ที่เคยซื้อ
สินค้าหรือบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 43.5 โดยเป็นผูห้ ญิง ร้อยละ 58.4
และผูช้ าย ร้อยละ 41.6
เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ พบว่า ผู้ที่เคยซื้อสินค้า หรือบริการทาง
อินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 35 - 49 ปี ร้อยละ 32.9 รองลงมาเป็น
กลุ่มอายุ 25 - 34 ปี ร้อยละ 27.5 และกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี ร้อยละ 23.5

อายุ 6 - 14 ปี อายุ 50 ปีขึ้นไป

อายุ 15 - 24 ปี 1.2%
14.9%
23.5% อายุ 35 – 49 ปี

32.9%
27.5%

อายุ 25 - 34 ปี
2.1 ประเภทสินค้าหรือบริการที่เคยซื้อทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ที่เคยซื้อสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต ระบุว่า เคยซื้อสินค้าหรือ
บริการประเภทเครื่องแต่งกาย รองเท้า อุปกรณ์กีฬา เครื่องประดับมากที่สุด
ร้อยละ 80.4 รองลงมาคือ อาหารของอุปโภคบริโภค แอลกอฮอล์หรือยาสูบ
ร้อยละ 37.7 และเครื่องสำอาง ร้อยละ 35.3

80.4% 37.7% 35.3% 23.9%


เครื่องแต่งกาย รองเท้า อาหาร ของอุปโภคบริโภค เครื่องสำอาง ของใช้ในครัวเรือน
อุปกรณ์กีฬา เครื่องประดับ แอลกอฮอล์หรือยาสูบ

19.1% 11.5% 10.3% 6.1%


เครื่องใช้ไฟฟ้าและ การท่องเที่ยว อุปกรณ์การสื่อสาร หนังสือ นิตยสาร
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (โทรศัพท์มือถือ) อุปกรณ์ถ่ายภาพ หนังสือพิมพ์

6.0% 5.9% 5.0% 4.3%


คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ จองตั๋วเพื่อความ ยารักษาโรค เกม เกมคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ บันเทิงต่าง ๆ หรือวิดีโอเกม

3.0% 2.7% 1.4% 1.2%


บริการด้าน ICT ซอฟต์แวร์ ภาพยนตร์ หนังสั้นหรือ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ภาพถ่าย ที่เกี่ยวกับดนตรี

1.2% 1.5%
ผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่าง ๆ อื่น ๆ

หมายเหตุ : ตอบทุกข้อ
2.2 เหตุผลของผู้ที่ไม่เคยซื้อสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต
สำหรับผู้ที่ไม่เคยซื้อสินค้าหรือบริการทางอินเทอร์เน็ต ได้ระบุเหตุผล
คือ ชอบซื้อสินค้าด้วยตนเอง ร้อยละ 49.3 รองลงมาคือ ไม่สนใจ ร้อยละ 43.4
และไม่มีความมั่นใจ ความรู้ ทักษะในการซื้อสินค้า/บริการทางอินเทอร์เน็ต
ร้อยละ 25.9

ชอบซื้อสินค้าด้วยตนเอง 49.3%

ไม่สนใจ 43.4%

ไม่มีความมั่นใจ ความรู้ ทักษะในการ


25.9%
ซื้อสินค้า/บริการทางอินเทอร์เน็ต

กังวลเรื่องความน่าเชื่อถือเกี่ยวกับการ
8.7%
รับประกัน การได้รับ หรือการคืนสินค้า

กังวลเรื่องความเป็นส่วนตัวเกี่ยวกับ
6.6%
ข้อมูลส่วนบุคคล
กังวลเรื่องเทคนิคเกี่ยวกับเว็บไซต์
7.0%
การชำระเงิน การส่งสินค้า
กังวลเรื่องความปลอดภัย
2.8%
เกี่ยวกับข้อมูลบัตรเครดิต

อื่น ๆ /ไม่ทราบ 3.7%

หมายเหตุ : ตอบได้ไม่เกิน 3 คำตอบ


3. การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
3.1 ครัวเรือนที่มหี รือใช้อุปกรณ์เครื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
เมื่อพิจารณาการมีหรือใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือน พบว่า จากผลการสำรวจครัวเรือนประมาณ 22.3 ล้านครัวเรือน
มีครัวเรือนที่มีสมาชิกใช้โทรศัพท์มือถือมากถึงร้อยละ 97.4

เมื่อสอบถามเกี่ยวกับอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี
ในครัวเรือน ได้แก่ เครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน เครื่องคอมพิวเตอร์ และการเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตในครัวเรือน พบว่า จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 22.3 ล้านครัวเรือน
มีครัวเรือนที่มีโทรศัพท์พื้นฐาน 1.3 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 5.6) ครัวเรือนที่มีเครื่อง
คอมพิวเตอร์ 4.3 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 19.3) และมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
19.0 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 85.2) (แผนภาพ 9)
ทัว่ ราชอาณาจักร

5.6% 19.3% 85.2%


โทรศัพท์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ต

1.9%
17.6%
79.0%
4.1%
10.5%
80.2%
4.9%
20.3%
87.8%

17.6%
41.0%
95.0%

2.9%
14.3%
87.1%
3.2 จำนวนอุปกรณ์ เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือน
สำหรับจำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี
ในครัวเรือน พบว่า ทั่วประเทศมีจำนวนเครื่องโทรศัพท์พื้นฐาน 1.5 ล้านเครื่อง
(6.8 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน) และจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ 7.3 ล้านเครื่อง
(32.8 เครื่องต่อ 100 ครัวเรือน)

จำนวน จำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ จำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีฯ


ครัวเรือน (พันเครื่อง) ต่อ 100 ครัวเรือน
ภาค (พันครัวเรือน) โทรศัพท์ คอม โทรศัพท์ คอม
พิวเตอร์ 1/ พิวเตอร์ 1/
พื้นฐาน พื้นฐาน
ทั่วราชอาณาจักร 22,316.1 1,512.4 7,317.5 6.8 32.8

กรุงเทพมหานคร
+
2,982.1 529.0 2,273.9 17.7 76.3

กลาง 6,874.9 354.9 2,328.3 5.2 33.9

เหนือ 3,886.6 86.4 1,098.6 2.2 28.3

ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,719.1 438.2 966.6 7.7 16.9

ใต้ 2,853.5 103.8 650.0 3.6 22.8

หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง


3.3 ประเภทของอินเทอร์เน็ตทีใ่ ช้ในครัวเรือน
ครั ว เรื อ นที่ มี ก ารเชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต แบบไร้ ส ายเคลื่ อ นที่ ผ่ า น
โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ 3G ขึ้ น ไป เช่ น WCDMA,.EV-DO สู ง ที่ สุ ด ร้ อ ยละ 68.8
รองลงมาประเภท Fixed broadband1/ ร้อยละ 26.1 และแบบไร้สายเคลื่อนที่
ผ่านโทรศัพท์มือถือ 2G, 2.5G เช่น GSM, CDMA, GPRS ร้อยละ 3.6

ประเภทของอินเทอร์เน็ต
จำนวน Narrowband Broadband ไม่ทราบ
ครัวเรือนที่ Analogue แบบไร้สาย Fixed แบบไร้สาย
ภาค เชื่อมต่อ modem, เคลื่อนที่ broadband 1/ เคลื่อนที่
อินเทอร์เน็ต ISDN (ผ่านโทรศัพท์ (ผ่านโทรศัพท์
(พันครัวเรือน) มือถือ 2G, 2.5G มือถือ 3G ขึ้นไป
เช่น GSM, เช่น WCDMA,
CDMA, GPRS) EV-DO)

ทั่วราชอาณาจักร 19,013.3 0.3 3.6 26.1 68.8 1.2

กรุงเทพมหานคร 2,831.6 0.2 2.9 37.1 58.6 1.2

กลาง 6,036.4 0.4 3.0 27.0 68.8 0.8

เหนือ 3,071.9 0.1 2.6 30.4 66.6 0.3

ตะวันออกเฉียงเหนือ 4,588.8 0.2 4.9 17.5 74.5 2.9

ใต้ 2,484.6 0.5 4.5 21.7 73.0 0.3

หมายเหตุ : 1/ Fixed broadband ได้แก่ DSL (SDSL, ADSL, VDSL), Cable modem, Leased line, ดาวเทียม เคเบิลใยแก้วนำแสง
Fixed wireless, WiMAX.
4. ข้อคิดเห็นต่อ ความต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วยเหลือในการเข้าถึง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำหรับข้อคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วยเหลือในการ
เข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบว่า ครัวเรือนมีความต้องการให้
อินเทอร์เน็ตราคาถูก ร้อยละ 51.1 ค่าโทรศัพท์มือถือราคาถูก ร้อยละ 22.0
และมี Free wifi ในที่สาธารณะ ร้อยละ 16.1

อินเทอร์เน็ตราคาถูก 51.1%

ค่าโทรศัพท์มือถือราคาถูก 22.0%

มี Free WIFI ในที่สาธารณะ 16.1%

จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
3.4%
ICT ชุมชน

ฮาร์ดแวร์ราคาถูก 1.3%

ซอฟต์แวร์ราคาถูก 0.6%

อื่น ๆ/ไม่ทราบ 5.5%


ภาคผนวก
ภาคผนวก
คำนิยามที่สำคัญ
1. โทรศัพ ท์มือ ถือ แบ่ง เป็น 2 ประเภท คือ โทรศัพท์มือถือแบบ
Feature Phone และโทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone
1.1 โทรศัพ ท์มือ ถือ แบบ Feature Phone คือ โทรศัพ ท์ที่มี
ความสามารถในระดับพื้นฐาน เช่น การรับสาย - โทรออก ถ่ายรูป การรับ - ส่ง
ข้อความ ฟังเพลง เป็นต้น ส่วนใหญ่แป้นพิมพ์จะอยู่ในรูปแบบปุ่มกด (button
keyboard) หน้าจอมีขนาดเล็ก
1.2 โทรศัพท์มือถือแบบ Smart Phone คือ โทรศัพท์มือถือที่มี
ระบบปฏิบัติการ เช่น Android, iOS (iPhone), Windows Mobile, RIM
(BlackBerry) เป็นต้น สามารถติดตั้งแอปพลิเคชัน (นอกเหนือจากแอปพลิเคชัน
พื ้น ฐานที ่อ ยู ่ใ นเครื ่ อ ง) ส่ว นใหญ่แ ป้น พิม พ์จ ะอยู ่ใ นรูป แบบปุ ่ม สัม ผัส
หน้าจอ (touch screen keyboard)
2. อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยง
เครือข่ายมากมายทั่วโลกเข้าด้วยกัน สามารถเข้าถึงบริการการสื่อสารต่าง ๆ ได้
เช่น World Wide Web (WWW) อีเมล ข่าว ความบั น เทิ งและ ไฟล์ข้อมู ล
ต่าง ๆ โดยไม่คำนึงถึงอุปกรณ์ที่ เชื่อมต่อ (เช่น คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (PC)
คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop/Notebook, Netbook) แบบพกพาขนาดกลาง
(Tablet) (เช่น iPad, Galaxy Tab) โทรศัพท์มือถือ Tablet PDA เครื่องเล่นเกม
(PS4) ที วี ดิ จิ ทั ล เป็ น ต้ น ) การเข้ า ถึ ง สามารถผ่ า นโทรศั พ ท์ พื้ น ฐานหรื อ
เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ รวมไปถึงการเข้าถึงแบบไร้สาย เช่น WiFi, hotspot
เป็นต้น
3. คอมพิวเตอร์ (Computer) คือ “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ
ทำหน้าที่เหมือนสมองกลใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธี
ทางคณิ ตศาสตร์” คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรที่ถูกสร้างขึ้น เพื่ อใช้งาน
แทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณ และสามารถจำข้อมูลทั้งตัวเลขและตัวอักษร
เพื่อเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ยังจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่าง ๆ
อีกมาก เช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บ
ข้อมูลในตัวเครื่อง และสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่าง ๆ ได้
รูปแบบของคอมพิ วเตอร์ที่ เห็ นอยู่ในปั จจุบันมี หลายรุ่ นและหลาย
บริษทั เป็นผู้ผลิต จึงอาจมีรูปร่างหรือลักษณะแตกต่างกันไป แต่ส่วนใหญ่ที่ใช้ คือ
3.1 คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ: คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งาน
บนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป
3.2 คอมพิวเตอร์พกพา: คอมพิวเตอร์ที่สามารถพกพาได้ แบ่งได้ดังนี้
1) Laptop/Notebook เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ที่มีขนาดเล็กลง น้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก ประหยัดพลังงาน มีแบตเตอรี่
เป็นแหล่งพลังงานเสริมเพื่อสะดวกในการใช้งานในสถานที่ไม่สะดวกจะใช้ไฟบ้าน
2) Netbook เป็น การปรั บเครื่ อง Laptop/Notebook
ให้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบาขึ้น ประหยัดพลังงาน พกพาสะดวก ทำให้สามารถ
ใช้งานขณะเคลื่อนที่ได้ ต่างจาก Laptop/Notebook ที่เคลื่อนย้ายสะดวก
แต่ขณะใช้งานเครื่องจะวางอยู่กับที่ Netbook จึงมีขนาดเล็กกว่าLaptop/
Notebook ข้อเด่นของเครื่องแบบนี้ คือ การใช้งานอินเทอร์เน็ตไร้สาย เช่น Acer
เรีย กชื่อ ว่า Aspire ONE, Asus เรียกชื่อว่า EeePC, HP เรียกชื่อว่า Mini-
Note, Lenovo เรียกชื่อว่า Ideapad, SVOA เรียกชื่อว่า I-buddy เป็นต้น
3.3 Tablet มีขนาดเล็กกว่า Laptop/Notebook ส่วนใหญ่ไม่มี
keyboard ใช้การสัมผัสหน้าจอเพื่อป้อนข้อมูล เช่น Apple มี iPad, Samsung
มี Galaxy Tab เป็นต้น
4. การใช้โทรศัพท์มือถือ หมายถึง การได้เคยใช้ โทรศัพท์มือถือ
ระหว่ า ง 3 เดื อ นก่ อ นวัน สั ม ภาษณ์ ที่ ใช้ ส ำหรั บ การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การใช้
โทรศัพท์มือถือโทรหากัน โดยการกดเบอร์โทรหากัน การใช้โทรศัพท์มือ ถือ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อเล่นอินเทอร์เน็ต เช่น Social network โทรศัพท์
ผ่านอินเทอร์เน็ต แชท (chat) รวมถึงกิจกรรมอื่น ๆ ที่ใช้โทรศัพท์มือถือใน
การเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต ไม่จำต้องมีการครอบครองไว้เป็นของตัวเอง
อาจเป็นของที่ขอยืมมา ผู้อื่นซื้อให้ใช้ นำของที่ทำงานมาใช้และสามารถใช้
งานได้ในวันสัมภาษณ์จะเป็นโทรศัพท์มือถือรุ่นใดหรือระบบใดก็ได้
ไม่รวม การใช้โทรศัพท์มือถือ ดังนี้ เครื่องโทรศัพท์พีซีที ใช้เพียงแค่
เป็ น นาฬิ ก า เล่ น เกม หรื อ ฟั งเพลง การยืมใช้ โทรศั พท์ มื อถื อเป็ นครั้งคราว
(ระหว่าง 3 เดือนก่อนวันสัมภาษณ์) อาจจะยืมโทรศัพท์คนอื่นเพียงแค่ครั้งเดียว
5. การใช้อินเทอร์เน็ต หมายถึง การเคยเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต กับ
อุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (PC) คอมพิวเตอร์
แบบพกพา (Laptop/Notebook, Netbook) แบบพกพาขนาดกลาง (Tablet)
(เช่น iPad, Galaxy Tab) โทรศัพท์มือถือ PDA เครื่องเล่นเกมส์ (เช่น PS4) ทีวีดิจิทัล
เป็นต้น จากสถานที่ต่าง ๆ ระหว่าง 3 เดือนก่อนวันสัมภาษณ์
6. การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
หมายถึง การได้เคยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (PC) คอมพิวเตอร์แบบพกพา
(Laptop/Notebook, Netbook) แบบพกพาขนาดกลาง (Tablet) (เช่น iPad,
Galaxy Tab) จากสถานที่ต่าง ๆ ระหว่าง 3 เดือนก่อนวันสัมภาษณ์
7. จำนวนเครื่องโทรศัพท์มือถือ หมายถึง จำนวนเครื่องโทรศัพท์มือถือ
ที่สมาชิกในครัวเรือนมีไว้ครอบครอง และจะต้องมีอุปกรณ์โทรศัพท์ที่มีซิมการ์ด
พร้อมใช้งานในวันสัมภาษณ์อย่างน้อย 1 ซิมการ์ด อาจเป็นของที่ขอยืมมา
ผู้อื่นซื้อให้ใช้ นำของที่ทำงานมาใช้ จะเป็นโทรศัพท์มือถือรุ่นใดก็ได้
ไม่รวม เครื่องโทรศัพท์พีซีที เครื่องโทรศัพท์มือถือที่เสียใช้งานไม่ได้
เครื่องที่อยู่ระหว่างซ่อม หรือเครื่องที่ถูกระงับการใช้โดยไม่สามารถใช้โทรติดต่อได้
8. จำนวนเครื ่อ งโทรศัพ ท์พื ้น ฐาน ในครัว เรือ น หมายถึง
จำนวนเลขหมายโทรศั พท์ พื้ นฐานที่ มี ไว้ครอบครองในครั วเรือนนั้ น ๆ และ
สามารถใช้งานได้ในวันสัมภาษณ์
ไม่รวม เครื่องพ่วง หรือเครื่องที่ถูกระงับการใช้โดยไม่สามารถใช้โทร
ติดต่อได้
9. จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในครัวเรือน หมายถึง จำนวนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่มีไว้ครอบครองในครัวเรือนนั้น ๆ และสามารถใช้งานได้ในวัน
สัมภาษณ์ ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นของสมาชิกในครัวเรือน อาจเป็นของที่ยืมมา ผู้อื่น
ซื้ อ ให้ ใช้ นำของที่ ท ำงานมาใช้ ฯลฯ เฉพาะคอมพิ วเตอร์ แบบตั้ งโต๊ ะ (PC)
คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop/ Notebook, Netbook) แบบพกพาขนาดกลาง
(Tablet) (เช่น iPad, Galaxy Tab)
ไม่ ร วม เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ เสี ย ใช้ ง านไม่ ไ ด้ และเครื่ อ งที่ อ ยู่
ระหว่างซ่อม และเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในธุรกิจ เช่น เครื่องที่ให้บริการใน
ร้านอินเทอร์เน็ต
10. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต หมายถึง การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตกับ
อุปกรณ์เทคโนโลยีใด ๆ เช่น คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (PC) คอมพิวเตอร์แบบพกพา
(Laptop/Notebook, Netbook) แบบพกพาขนาดกลาง (Tablet) (เช่น iPad,
Galaxy Tab) และโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ที่มีไว้ครอบครองในครัวเรือนนั้น ๆ
โดยไม่คำนึงว่าสิทธิการใช้อินเทอร์เน็ตได้มาโดยวิธีใด เช่น เสียเงินสมัครเป็นสมาชิก
กับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือได้รับสิทธิ ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตผ่านระบบของ
สถาบันการศึกษา หรือจากที่ทำงาน เป็นต้น
11. ผูม้ ีงานทำ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป และในระหว่าง 12 เดือน
ก่อนวันสัมภาษณ์มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
1) ได้ทำงานตั้งแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้รับค่าจ้าง
2) ไม่ ได้ ท ำงาน หรือ ทำงานน้ อ ยกว่า 1 ชั่วโมง แต่ เป็ น ผู้ที่ ป กติ
มีงานประจำ ซึ่งเป็นผู้ที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
2.1) ยังได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือ
ผลกำไรจากงานหรือธุรกิจในระหว่างที่ไม่ได้ทำงาน
2.2) ไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไร
จากงานหรือธุรกิจในระหว่างที่ไม่ได้ทำงาน แต่ยังมีงานหรือธุรกิจที่จะกลับไปทำ
3) ทำงานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับค่าจ้างในวิสาหกิจ หรือ
ไร่นาเกษตรของหัวหน้าครัวเรือน หรือของสมาชิกในครัวเรือน
ตารางเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้และจำนวนอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศในครัวเรือน พ.ศ. 2559 – 2563
จำนวนและร้อยละของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2559 - 2563
จำแนกตามภาค
ประชาชน จำนวนของผู้ใช้ ร้อยละของผู้ใช้ต่อประชาชน
อายุ 6 ปี (พันคน) อายุ 6 ปีขึ้นไป
ภาค
ขึ้นไป โทรศัพท์ อิน คอม โทรศัพท์ อิน คอม
(พันคน) มือถือ เทอร์เน็ต พิวเตอร์1/ มือถือ เทอร์เน็ต พิวเตอร์1/
พ.ศ. 2559
ทั่วราชอาณาจักร 62,804.8 51,121.6 29,835.4 20,218.6 81.4 47.5 32.2
กรุงเทพมหานคร 8,086.8 7,380.1 5,593.0 4,080.9 91.3 69.2 50.5
กลาง 18,139.9 15,505.4 9,618.6 5,718.0 85.5 53.0 31.5
เหนือ 10,775.1 8,501.7 4,464.8 3,246.1 78.9 41.4 30.1
ตะวันออกเฉียงเหนือ 17,403.4 13,245.3 6,269.1 4,693.9 76.1 36.0 27.0
ใต้ 8,399.7 6,489.1 3,890.0 2,479.7 77.3 46.3 29.5
พ.ศ. 2560
ทั่วราชอาณาจักร 63,052.1 55,577.7 33,349.5 19,387.9 88.2 52.9 30.8
กรุงเทพมหานคร 8,143.8 7,610.1 6,064.9 4,006.7 93.5 74.5 49.2
กลาง 18,346.4 16,435.6 10,627.6 5,512.3 89.6 57.9 30.1
เหนือ 10,743.4 9,163.0 4,876.8 2,973.5 85.3 45.4 27.7
ตะวันออกเฉียงเหนือ 17,361.0 15,004.9 7,369.2 4,540.4 86.4 42.5 26.2
ใต้ 8,457.4 7,364.1 4,411.0 2,355.1 87.1 52.2 27.9
พ.ศ. 2561 (ไตรมาส 1)
ทั่วราชอาณาจักร 63,280.1 56,663.9 35,954.2 17,905.3 89.6 56.8 28.3
กรุงเทพมหานคร 8,195.7 7,757.8 6,351.6 3,813.5 94.7 77.5 46.5
กลาง 18,550.0 16,864.4 11,589.0 5,115.9 90.9 62.5 27.6
เหนือ 10,708.8 9,295.4 5,246.2 2,726.0 86.8 49.0 25.5
ตะวันออกเฉียงเหนือ 17,311.8 15,231.9 7,995.0 4,084.0 88.0 46.2 23.6
ใต้ 8,513.9 7,514.4 4,772.4 2,165.9 88.3 56.1 25.4
พ.ศ. 2561 (ไตรมาส 4)
ทั่วราชอาณาจักร 63,440.3 - 38,539.7 17,237.2 - 60.8 27.2
กรุงเทพมหานคร 8,232.2 - 6,685.2 3,767.4 - 81.2 45.8
กลาง 18,700.1 - 12,467.1 4,914.5 - 66.7 26.3
เหนือ 10,681.0 - 5,620.2 2,664.4 - 52.6 25.0
ตะวันออกเฉียงเหนือ 17,271.9 - 8,631.6 3,818.5 - 50.0 22.1
ใต้ 8,555.1 - 5,135.5 2,072.4 - 60.0 24.2
จำนวนและร้อยละของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2559 - 2563
จำแนกตามภาค
ประชาชน จำนวนของผู้ใช้ ร้อยละของผู้ใช้ต่อประชาชน
อายุ 6 ปี (พันคน) อายุ 6 ปีขึ้นไป
ภาค
ขึ้นไป โทรศัพท์ อิน คอม โทรศัพท์ อิน คอม
(พันคน) มือถือ เทอร์เน็ต พิวเตอร์ 1/
มือถือ เทอร์เน็ต พิวเตอร์1/
พ.ศ. 2562
ทั่วราชอาณาจักร 63,638.2 - 42,416.4 16,082.0 - 66.7 25.3
กรุงเทพมหานคร 8,276.8 - 7,061.5 3,557.2 - 85.3 43.0
กลาง 18,895.8 - 13,612.5 4,665.8 - 72.0 24.7
เหนือ 10,641.5 - 6,345.0 2,461.0 - 59.6 23.1
ตะวันออกเฉียงเหนือ 17,216.5 - 9,785.6 3,461.2 - 56.8 20.1
ใต้ 8,607.5 - 5,611.8 1,936.8 - 65.2 22.5
พ.ศ. 2563
ทั่วราชอาณาจักร 63,833.9 60,515.0 49,690.7 16,847.4 94.8 77.8 26.4
กรุงเทพมหานคร 8,325.0 8,088.5 7,608.7 3,615.2 97.2 91.4 43.4
กลาง 19,104.5 18,145.6 15,518.7 5,094.0 95.0 81.2 26.7
เหนือ 10,594.2 10,000.0 7,629.2 2,515.1 94.4 72.0 23.7
ตะวันออกเฉียงเหนือ 17,148.0 16,123.2 12,157.5 3,587.0 94.0 70.9 20.9
ใต้ 8,662.2 8,157.7 6,776.6 2,036.2 94.2 78.2 23.5
หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง
จำนวนอุ ป กรณ์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศต่ อ 100 ครั ว เรื อ น พ.ศ. 2559 - 2563
จำแนกตามภาค
จำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อ 100 ครัวเรือน
ภาค ครัวเรือนทั้งสิ้น
(พันครัวเรือน)
โทรศัพท์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์1/
พ.ศ. 2559
ทั่วราชอาณาจักร 21,367.2 13.0 52.1
กรุงเทพมหานคร 2,924.5 40.8 110.4
กลาง 6,389.1 11.4 49.0
เหนือ 3,800.5 6.9 46.1
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,518.5 7.0 35.0
ใต้ 2,734.6 7.5 40.3
พ.ศ. 2560
ทั่วราชอาณาจักร 21,513.4 9.7 42.1
กรุงเทพมหานคร 2,747.6 33.5 89.3
กลาง 6,583.2 9.2 41.4
เหนือ 3,840.3 4.3 36.1
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,591.3 4.0 29.3
ใต้ 2,751.0 6.3 30.8
พ.ศ. 2561 (ไตรมาส 1)
ทั่วราชอาณาจักร 21,418.7 8.1 34.0
กรุงเทพมหานคร 2,745.2 24.0 76.9
กลาง 6,512.2 6.9 32.9
เหนือ 3,854.3 4.2 29.0
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,568.5 6.2 22.7
ใต้ 2,738.5 4.3 23.3
พ.ศ. 2561 (ไตรมาส 4)
ทัว่ ราชอาณาจักร 21,583.8 7.0 29.4
กรุงเทพมหานคร 2,763.7 22.8 69.7
กลาง 6,579.0 5.8 29.1
เหนือ 3,826.6 3.7 25.0
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,589.4 4.7 17.9
ใต้ 2,825.1 3.7 19.5
พ.ศ. 2562
ทั่วราชอาณาจักร 21,884.4 11.7 27.6
กรุงเทพมหานคร 2,912.4 17.0 69.3
กลาง 6,719.0 10.3 26.5
เหนือ 3,859.4 8.3 21.2
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,589.4 14.0 15.3
ใต้ 21,884.4 9.1 19.9
จำนวนอุ ป กรณ์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศต่ อ 100 ครั ว เรื อ น พ.ศ. 2559 - 2563
จำแนกตามภาค (ต่อ)
จำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อ 100 ครัวเรือน
ภาค ครัวเรือนทั้งสิ้น
(พันครัวเรือน) โทรศัพท์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์1/
พ.ศ. 2563
ทั่วราชอาณาจักร 22,316.1 6.8 32.8
กรุงเทพมหานคร 2,982.1 17.7 76.3
กลาง 6,874.9 5.2 33.9
เหนือ 3,886.6 2.2 28.3
ตะวันออกเฉียงเหนือ 5,719.1 7.7 16.9
ใต้ 2,853.5 3.6 22.8

หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง


ตาราง 1 จำนวนและร้ อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง
ประชาชน การใช้โทรศัพท์มือถือ การใช้อินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์1/
ภาค/เขตการปกครอง อายุ 6 ปี
ขึ้นไป จำนวนผูใ้ ช้ % จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้
(พันคน) % %
(พันคน) (พันคน) (พันคน)
ทั่วราชอาณาจักร 63,833.9 60,515.0 94.8 49,690.7 77.8 16,847.4 26.4
ในเขตเทศบาล 28,766.3 27,547.0 95.8 24,037.8 83.6 9,422.8 32.8
นอกเขตเทศบาล 35,067.6 32,968.0 94.0 25,652.9 73.2 7,424.7 21.2
กรุงเทพมหานคร 8,325.0 8,088.5 97.2 7,608.7 91.4 3,615.2 43.4
ภาคกลาง 19,104.5 18,145.6 95.0 15,518.7 81.2 5,094.0 26.7
ในเขตเทศบาล 8,814.8 8,412.7 95.4 7,445.3 84.5 2,625.8 29.8
นอกเขตเทศบาล 10,289.7 9,732.9 94.6 8,073.4 78.5 2,468.2 24.0
ภาคเหนือ 10,594.2 10,000.0 94.4 7,629.2 72.0 2,515.1 23.7
ในเขตเทศบาล 3,696.2 3,522.1 95.3 2,820.0 76.3 1,099.5 29.7
นอกเขตเทศบาล 6,898.0 6,477.9 93.9 4,809.2 69.7 1,415.6 20.5
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17,148.0 16,123.2 94.0 12,157.5 70.9 3,587.0 20.9
ในเขตเทศบาล 5,021.5 4,747.6 94.5 3,750.1 74.7 1,262.1 25.1
นอกเขตเทศบาล 12,126.6 11,375.6 93.8 8,407.4 69.3 2,324.9 19.2
ภาคใต้ 8,662.2 8,157.7 94.2 6,776.6 78.2 2,036.2 23.5
ในเขตเทศบาล 2,908.8 2,776.1 95.4 2,413.7 83.0 820.3 28.2
นอกเขตเทศบาล 5,753.3 5,381.6 93.5 4,362.9 75.8 1,215.9 21.1
หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง
ตาราง 2 จำนวนและร้ อ ยละของประชาชนอายุ 6 ปี ขึ้ น ไปที่ ใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ
อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามเพศ และกลุ่มอายุ
ประชาชน การใช้โทรศัพท์มือถือ การใช้อินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์1/
เพศ/กลุ่มอายุ อายุ 6 ปี
(ปี) ขึ้นไป จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้
(พันคน) % % %
(พันคน) (พันคน) (พันคน)
รวม 63,833.9 60,515.0 94.8 49,690.7 77.8 16,847.4 26.4

ชาย 30,983.4 29,457.7 95.1 24,461.7 79.0 7,842.0 25.3

หญิง 32,850.5 31,057.4 94.5 25,229.0 76.8 9,005.5 27.4

รวม 63,833.9 60,515.0 94.8 49,690.7 77.8 16,847.4 26.4

6-9 3,007.1 2,618.1 87.1 2,528.6 84.1 1,305.8 43.4

10 - 14 3,866.6 3,675.5 95.1 3,668.6 94.9 3,037.2 78.5

15 - 19 4,341.5 4,310.2 99.3 4,290.3 98.8 3,199.5 73.7

20 - 24 4,852.5 4,799.3 98.9 4,753.2 98.0 1,631.4 33.6

25 - 29 4,962.7 4,918.7 99.1 4,851.2 97.8 1,482.2 29.9

30 - 34 4,615.1 4,561.6 98.8 4,469.8 96.9 1,321.0 28.6

35 - 39 4,679.4 4,623.2 98.8 4,454.7 95.2 1,268.0 27.1

40 - 49 10,342.9 10,172.7 98.4 9,155.4 88.5 2,083.9 20.1

50 - 59 10,257.6 9,949.7 97.0 7,225.9 70.4 1,158.7 11.3

60 ปีขึ้นไป 12,908.5 10,886.2 84.3 4,293.2 33.3 359.7 2.8


หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง
ตาราง 3 จำนวนและร้อยละของประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต
และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ
ประชาชน การใช้โทรศัพท์มือถือ การใช้อินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์1/
ระดับการศึกษา อายุ 6 ปี
ที่สำเร็จ ขึ้นไป จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้
(พันคน) % % %
(พันคน) (พันคน) (พันคน)

รวม 63,833.9 60,515.0 94.8 49,690.7 77.8 16.847.4 26.4

ไม่มีการศึกษา 2,709.7 2,038.9 75.2 1,194.5 44.1 87.3 3.2

ต่ำกว่าประถมศึกษา 17,182.2 15,160.8 88.2 8,347.7 48.6 2,883.5 16.8

ประถมศึกษา 12,846.0 12,461.9 97.0 10,419.6 81.1 2,390.0 18.6

มัธยมศึกษาตอนต้น 10,315.7 10,217.4 99.0 9,688.7 93.9 2,718.6 26.4

มัธยมศึกษาตอนปลาย 9,534.5 9,456.9 99.2 9,066.3 95.1 2,364.3 24.8

อนุปริญญา 2,682.6 2,665.7 99.4 2,600.5 96.9 897.8 33.5

อุดมศึกษา 8,191.4 8,153.6 99.5 8,044.2 98.2 5,472.8 66.8

อื่น ๆ 171.0 167.9 98.2 146.8 85.9 2.6 1.5

ไม่ทราบ 200.6 191.9 95.6 182.4 90.9 30.6 15.3


หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง
ตาราง 4 จำนวนและร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทำที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ จำแนกตามอาชีพ
ประชาชน การใช้โทรศัพท์มือถือ การใช้อินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์1/
อาชีพ อายุ 15 ปี
ขึ้นไป จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้ จำนวนผู้ใช้
(พันคน) % % %
(พันคน) (พันคน) (พันคน)

รวม 39,338.3 38,698.2 98.4 32,475.9 82.6 7,901.6 20.1


 ผู้จัดการ ข้าราชการระดับอาวุโส 1,397.3 1,390.7 99.5 1,365.1 97.7 802.4 57.4
และผู้บัญญัติกฎหมาย
 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ 2,252.0 2,250.5 99.9 2,242.5 99.6 2,011.3 89.3
 เจ้าหน้าทีเ่ ทคนิคและผู้ประกอบ 1,782.4 1,778.0 99.8 1,763.7 98.9 1,336.9 75.0
วิชาชีพที่เกีย่ วข้องกับด้านต่าง ๆ
 เสมียน 1,754.3 1,753.0 99.9 1,745.1 99.5 1,313.4 74.9
 พนัก งานบริการ 7,933.0 7,857.7 99.1 7,104.2 89.6 1,295.3 16.3
และผู้จำหน่ายสินค้า
 ผู้ปฏิบัติ งานที่ มีฝีมือ ในด้า น 12,088.6 11,716.8 96.9 7,770.2 64.3 237.9 2.0
การเกษตร ป่าไม้ และประมง
 ช่างฝีมือและผู้ปฏิบัติงาน 4,236.2 4,165.9 98.3 3,648.0 86.1 444.9 10.5
ที่เกี่ยวข้อง
 ผู้ควบคุมเครื่อ งจั กรโรงงาน 3,585.2 3,573.6 99.7 3,408.6 95.1 277.6 7.7
และเครื่ องจักร และ
ผู้ปฏิบัติ งานด้านการประกอบ
 ผู้ประกอบอาชีพงานพื้นฐาน 4,225.2 4,128.2 97.7 3,344.9 79.2 133.2 3.2
 คนงานซึ่ งมิได้จำแนกไว้ใ น 43.4 42.9 99.0 42.9 99.0 25.7 59.3
หมวดอื่น
 อาชีพทีไ่ ม่ระบุไว้ชัดเจน 40.9 40.9 100.0 40.6 99.3 23.1 56.3
หมายเหตุ : 1/คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง
ตาราง 5 ร้ อ ยละของครั ว เรื อ นที่ มี อุ ป กรณ์ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร
จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง
จำนวนครัวเรือน ร้อยละของครัวเรือนที่มีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาค/เขตการปกครอง ทั้งสิ้น
(พันครัวเรือน)
เครื่องโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ 1/ การเชื่อมต่อ
พื้นฐาน อินเทอร์เน็ต
ทั่วราชอาณาจักร 22,316.1 5.6 19.3 85.2
ในเขตเทศบาล 10,441.3 9.1 27.3 89.4
นอกเขตเทศบาล 11,874.8 2.6 12.3 81.5
กรุงเทพมหานคร 2,982.1 17.6 41.0 95.0
ภาคกลาง 6,874.9 4.9 20.3 87.8
ภาคเหนือ 3,886.6 1.9 17.6 79.0
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5,719.1 4.1 10.5 80.2
ภาคใต้ 2,853.5 2.9 14.3 87.1
1/
หมายเหตุ : คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และคอมพิวเตอร์พกพาขนาดกลาง

ตาราง 6 จำนวนอุ ปกรณ์ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารที่ มี ต่ อ 100 ครั วเรื อน


จำแนกตามภาค และเขตการปกครอง
ประเภทของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
จำนวน (จำนวนเครื่องต่อ 100 ครัวเรือน)
ภาค/เขตการปกครอง ครัวเรือน
ทั้งสิ้น คอมพิวเตอร์พกพา คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
(พันครัวเรือน) พื้นฐาน (PC, Desktop) (Notebook, พกพาขนาด
Laptop/ Netbook) กลาง(Tablet)
ทั่วราชอาณาจักร 22,316.1 6.8 9.9 16.7 6.2
ในเขตเทศบาล 10,441.3 9.9 14.9 23.5 8.5
นอกเขตเทศบาล 11,874.8 4.0 5.6 10.7 4.1
กรุงเทพมหานคร 2,982.1 17.7 26.4 35.9 14.0
ภาคกลาง 6,874.9 5.2 10.5 16.8 6.6
ภาคเหนือ 3,886.6 2.2 8.0 15.5 4.7
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5,719.1 7.7 3.7 9.9 3.3
ภาคใต้ 2,853.5 3.6 6.4 11.7 4.7

You might also like