You are on page 1of 53

เอกสารอ้างอิง

นิพนธ์ อังกุราภินนั ท์. 2543. คู่มือออกแบบท่ อส่ งน้าชลประทาน.เล่มที่ 1 ออกแบบท่อเหล็ก กองออกแบบ


กรมชลประทาน กรุ งเทพมหานคร.

นิพนธ์ อังกุราภินนั ท์. 2543. คู่มือออกแบบท่ อส่ งน้าชลประทาน.เล่มที่ 2 ออกแบบท่อ HDPE และท่อPVC
กองออกแบบ กรมชลประทาน กรุ งเทพมหานคร.

นิพนธ์ อังกุราภินนั ท์. 2543. คู่มือออกแบบท่อส่ งนา้ ชลประทาน.เล่มที่ 3 ออกแบบท่อ AC กองออกแบบ


กรมชลประทาน กรุ งเทพมหานคร.

มนตรี ค้ าชู. 2526. หลักการชลประทานแบบน้าหยด ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุ งเทพมหานคร.

การุ ณ เตชะฐิตินนั ท์. 2543. เอกสารประกอบคาบรรยาย วิชาวิศวกรรมชลศาสตร์


มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ กรุ งเทพมหานคร.

บุญสนอง สุ ชาติพงศ์ และ วิบูลย์ น้อยเสม. 2534. หลักการออกแบบระบบท่อส่ งนา้ ชลประทานรับแรงดัน


กองออกแบบ กรมชลประทาน กรุ งเทพมหานคร.

คณะทางานจัดทาแบบมาตรฐานระบบส่ งน้ าและระบายน้ า. 2544. มาตรฐานการคานวณออกแบบระบบ


ส่ งนา้ และระบายนา้ สานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม กรมชลประทาน กรุ งเทพมหานคร.

การประปานครหลวง. 2549. เอกสารรายละเอียดท่ อ และอุ ปกรณ์ ประปา งานวางท่อประปา และงานที่


เกี่ยวข้อง

การประปานครหลวง. 2543. แบบมาตรฐาน สาหรับ งานก่อสร้างวางท่อประธาน และงานที่เกี่ยวข้อง

การประปานครหลวง. 2550. แบบมาตรฐาน ส าหรั บ งานก่ อสร้ างวางท่ อจ่ า ยน้ า ท่ อบริ ก าร และงานที่
เกี่ยวข้อง

วิบูลย์ บุญยธโรกุล . 2529. ปั๊ มและระบบสู บน้า ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุ งเทพมหานคร.
ผศ.ดร.ไพฑูรย์ กิติสุนทร ศุภกร ศิรพจนกุล อมเรศ บกสุ วรรณ. 2552. ชลศาสตร์ ( Hydraulics )
สมาคมส่ งเสริ มเทคโนโลยี ( ไทย – ญี่ปุ่น ) กรุ งเทพมหานคร.
แนวทางและหลักเกณฑ์ การออกแบบระบบส่ งนา้ รับแรงดัน

ดาเนินการโดย
คณะทางานจัดทาแบบมาตรฐานระบบส่ งน้าและระบายน้า
มิถุนายน 2555
คำนำ

เอกสารแนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบท่อส่ งน้ ารับแรงดัน เป็ นเอกสารทางวิชาการเป็ น


เรื่ องหนึ่งที่ได้จดั ทาขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับ วิศวกร และนายช่างที่ปฏิบตั ิงานในกรมชลประทาน และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะใช้เป็ นเอกสารมาตรฐานสาหรับการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และนาไป
ประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ และให้เป็ นแนวทางเดียวกันตามวัตถุประสงค์
ของกรมชลประทานที่ตอ้ งการกาหนดมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานในด้านต่าง ๆ ขึ้น
คณะทางานขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนทาให้เอกสารชุดนี้ มีความสมบรู ณ์

คณะทางานจัดทาแบบมาตรฐาน
ระบบส่ งน้ าและระบายน้ า
ตารางที่ ผก.2 คุณสมบัติกลของนา้ ทีค่ วามกดดันบรรยากาศ
Temperature Density Specific Weight Dynamic Viscosity Kinematic Viscosity Surface Tension Vapor Pressure Elastic Modulus
T r g m u O Pv E
( oF) (slug / ft) (lb / ft3 ) (lb / sec/ft2 ) (ft2/sec ) (lb / ft ) ( psia ) ( psi )
32 1.94 62.40 3.75X10-5 1.93X10-5 0.00518 0.08 289,000
40 1.94 62.40 3.24X10-5 1.67X10-5 0.00514 0.11 296,000
50 1.94 62.40 2.74X10-5 1.41X10-5 0.00508 0.17 305,000

ผก.-7
60 1.94 62.40 2.34X10-5 1.21X10-5 0.00503 0.26 312,000
70 1.94 62.30 2.04X10-5 1.05X10-5 0.00497 0.36 319,000
80 1.93 62.20 1.80X10-5 0.930X10-5 0.00492 0.51 325,000
90 1.93 62.10 1.59X10-5 0.823X10-5 0.00486 0.70 329,000
100 1.93 62.00 1.42X10-5 0.736X10-5 0.00479 0.96 331,000
120 1.92 61.70 1.17X10-5 0.610X10-5 0.00466 1.70 333,000
150 1.90 61.20 0.906X10-5 0.476X10-5 0.00446 3.70 328,000
180 1.88 60.60 0.726X10-5 0.385X10-5 0.00426 7.50 318,000
212 1.86 59.80 0.594X10-5 0.319X10-5 0.00403 14.70 303,000
1-1

บทที่ 1
เรื่องทั่วไป
1.1 บทนำ
การออกแบบระบบท่อส่ งน้ ารับแรงดัน เป็ นการออกแบบระบบส่ งน้ าไปตามท่อ เป็ นระบบปิ ด
คือน้ าอยูภ่ ายใต้แรงดันภายในท่อ ส่ วนระบบคลองส่ งน้ าเป็ นระบบเปิ ด คือน้ าเคลื่อนที่ในลักษณะโมเมนตัม
ระบบท่ อส่ ง น้ า รั บแรงดันเป็ นทางเลื อกหนึ่ ง ในการส่ ง น้ าเพื่ อกระจายน้ าไป ในเขตพื้ น ที่ชลประทานที่
สามารถวางระบบท่อส่ งน้ าไปได้ งานออกแบบระบบส่ งน้ าชลประทานโดยทัว่ ไปนั้น วิศวกรผูอ้ อกแบบ
ระบบส่ งน้ าสามารถรู ้ ปริ มาณน้ าที่จะส่ งไปให้เกษตรกร ในพื้นที่ว่าเป็ นจานวนเท่าใด จะออกแบบระบบ
คลองส่ งน้ าสู่ พ้นื ที่เพาะปลูกในเขตโครงการว่าจะเป็ นขนาดเท่าใด จานวนที่สายใหญ่ สายซอย และแยกซอย
จะครอบคลุ มเนื้ อที่ท้ งั หมดของโครงการได้โดยประหยัดความยาว คลองสายใหญ่ สายซอย และสายแยก
ซอย เช่นเดียวกันกับการออกแบบระบบท่อส่ งน้ ารับแรงดัน ที่ผอู ้ อกแบบสามารถคานวณปริ มาณน้ ามากสุ ด
ที่ จะส่ ง ให้ แก่ เกษตรกรทั้ง โครงการให้ไ ด้ม ากสุ ด ครอบคลุ ม พื้ นที่ เท่ า ใด หรื อต้องจ ากัดพื้ นที่ เท่ า ใด ที่
สามารถส่ งน้ าให้ได้ตามปริ มาณน้ าต้นทุน หรื อแหล่งน้ าที่จากัดปริ มาณน้ าให้ หลังจากนั้นจะออกแบบวาง
แนวระบบท่อประธาน หรื อท่ อส่ งน้ าสายใหญ่ ท่อส่ งน้ าสายซอย และท่อส่ งน้ าสายแยกซอย ตามลาดับ
เพื่อให้สามารถลาเลียงน้ าที่ตอ้ งการส่ งลงพื้นที่เพาะปลูก
การจัดสรรน้ าและบริ หารน้ าอย่างเป็ นระบบตามจุดจ่ายน้ า ทาให้การใช้น้ าชลประทานในระบบ
ท่อส่ งน้ ารับแรงดันมีประสิ ทธิ ภาพและเชื่ อได้วา่ ไม่ขาดแคลนน้ า สามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้มากขึ้น
และส่ งน้ าไปได้ไกลขึ้น ลดปั ญหาการสู ญเสี ยน้ าเนื่ องจากการรั่วซึ ม และการระเหยของน้ า นอกจากนี้ ระบบ
ท่อส่ งน้ ารับแรงดันมีผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม และใช้พ้ืนที่เขตชลประทานน้อยกว่าระบบคลองส่ งน้ าการ
ออกแบบระบบคลองส่ งน้ าจะใช้พ้ืนที่เขตคลองกว้าง 10 เมตร ถึง 20 เมตร ส่ วนระบบท่อส่ งน้ าชลประทาน
รับแรงดันนั้น ท่อส่ งน้ าจะอยู่ใต้ดิน พื้นที่ที่กนั ไว้เป็ นแนวเขตท่อจะแคบกว่าแนวเขตคลองส่ งน้ า โดยจะใช้
พื้นที่เขตท่อกว้าง 5 เมตร ถึง 10 เมตร
ค่ า ลงทุ น ในการก่ อ สร้ า งระบบท่ อ ส่ ง น้ า ชลประทานรั บ แรงดัน สู ง กว่า ระบบคลองส่ ง น้ า
อย่ า งไรก็ ต ามในระยะยาว การใช้ง านระบบท่ อ ส่ ง น้ า ชลประทานรั บ แรงดัน จะเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด
ถึงจุดคุม้ ทุนเร็ ว และสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม ที่จะเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ที่ส่งน้ าชลประทาน

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อเป็ นคู่มือแนวทางในการออกแบบระบบท่อส่ งน้ ารับแรงดันของกรมชลประทาน ให้
ผูอ้ อกแบบได้ท ราบถึ ง ข้อ ก าหนด หลัก เกณฑ์ ข องการออกแบบระบบท่ อ ส่ ง น้ า รั บ แรงดัน ได้อ ย่ า งมี
ประสิ ท ธิ ภาพ ประหยัดเวลาในการออกแบบ ทฤษฎี ที่ใ ช้ใ นการออกแบบให้ส ามารถส่ ง น้ าได้ดี รวมถึ ง
ข้อจากัดต่างๆ ในการออกแบบ ระบบการส่ งน้ าด้วยระบบท่อมี ท้ งั ข้อดี และข้อเสี ย การเลื อกประเภทท่อ
1-2

และอุปกรณ์ ให้เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปั ญหาการออกแบบท่อส่ งน้ าที่


เกิดขึ้น ทั้งนี้ได้จดั ให้มีตวั อย่างการออกแบบอย่างง่ายและการออกแบบในการใช้งานจริ งในกรมชลประทาน
1.2.2 เป็ นเอกสารเผยแพร่ ความรู ้ในการออกแบบระบบท่อส่ งน้ ารับแรงดันของกรมชลประทาน
โดยเน้นการปฏิบตั ิงานจริ งในการออกแบบอย่างง่ายที่สามารถนาไปใช้ออกแบบระบบท่อส่ งน้ ารับแรงดัน
ชลประทานเพื่อการชลประทาน ที่เหมาะสมกับสภาพปั จจุบนั ที่มีพ้นื ที่จากัด
1.2.3 ช่ ว ยให้ มี ก ารออกแบบระบบท่ อ ส่ ง น้ า รั บ แรงดัน มากขึ้ น เป็ นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ์ ภาพ
ในการส่ งน้ าเพื่อการชลประทาน

1.3 คำจำกัดควำม
1.3.1 ท่อประธาน หรื อ ท่อสายใหญ่เป็ นท่อซึ่ งเชื่ อมโยงท่อสายซอย ท่อประธาน หรื อ ท่อสาย
ใหญ่เชื่ อมต่อมาจากแหล่งน้ า เช่น อ่างเก็บน้ าฝายทดน้ าบ่อน้ า ท่อประธานจะทาจากวัสดุต่างๆได้แก่ พีอี
ชนิดความหนาแน่นสู ง (HDPE) พีวซี ี (PVC) เหล็กอาบสังกะสี (Galvanized Steel) และซีเมนต์ใยหิน
(Asbestos Cement) ซึ่ งจะใช้วสั ดุแบบใดก็ตาม ไม่ควรเป็ นวัสดุที่เป็ นสนิมและลอกเป็ นสะเก็ดง่าย เพื่อ
หลีกเลี่ยงปัญหาอุดตันที่จุดจ่ายน้ า และจากท่อประธานหรื อท่อสายใหญ่ ท่อสายซอย ท่อสายแยกซอย
อาจจะแยกออก จากท่อประธานหรื อท่อสายใหญ่ไปด้านเดียวหรื อทั้งสองด้านก็ได้ ปกติท่อประธานหรื อ
ท่อสายใหญ่จะนิยมฝังใต้ดิน จุดจ่ายน้ าทุกๆ จุดภายในท่อส่ งน้ า ทั้งท่อประธาน หรื อท่อสายใหญ่
ท่อสายซอย และท่อสายแยกซอย ควรอยูต่ ่ากว่าเส้น Hydraulic Grade Line ไม่นอ้ ยกว่า 3.00 เมตร ซึ่งจะมี
ความดันภายในท่อประมาณ 0.30 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
1.3.2 ท่อสายซอย เป็ นท่อที่ต่อแยกจาก ท่อประธาน เพื่อแบ่งการควบคุมเป็ นส่ วนๆ ถ้าระบบ
ไม่ใหญ่มากนัก ก็ไม่จาเป็ นต้องมีท่อนี้ จะมีเฉพาะท่อสายแยกซอยต่อโดยตรงกับท่อประธานก็ได้ ท่อสาย
ซอยนี้ ทาจากวัสดุ พีวีซี (PVC) เหล็กอาบสังกะสี (Galvanized Steel) และซี เมนต์ใยหิ น (Asbestos Cement)
ซึ่ งจะใช้วสั ดุแบบใดก็ตาม จะต้องมีคุณสมบัติรับแรงดัน (Pressure Head) รวมทั้งสามารถที่จะรับแรงดันเพิ่ม
จากภายในท่อ (Water Hammer) ซึ่ งเกิดจากผลการปิ ดเปิ ดประตูน้ า (Valves)ในท่อได้
1.3.3 ท่ อสายแยกซอยเป็ นท่ อซึ่ ง ต่ อแยกจากท่ อสายย่อย หรื อบางครั้ งก็ ต่อกับ ท่ อประธาน
โดยตรง และเป็ นท่อต่อแยกไปยังจุดจ่ายน้ าต่างๆ ในพื้นที่ส่งน้ าได้ โดยจะต้องให้มีแรงดันน้ าจากต้นท่อสาย
แยกซอย และปลายท่อสายแยกซอยใกล้เคียงกันจึงจะเหมาะสม จุดจ่ายน้ าแต่ละจุดควรง่ายแก่การบารุ งรักษา
คือไม่ควรห่างจากเขตบ้าน เขตชุมชน หรื อตัวสระเก็บน้ าสาหรับเกษตรกรมากนัก
1.3.4 ความเร็ วการไหลของน้ าในท่อ หมายถึง ระยะทางที่น้ าไหลภายในท่อต่อหนึ่งหน่วยเวลา
มีหน่วยได้แก่ เมตรต่อวินาที ค่าความเร็ วการไหลของน้ าในท่อนี้ จะมีผลต่อการสู ญเสี ยความดันน้ าต่าง ๆ
ภายในท่อ ซึ่ งตามปกติแล้วในการออกแบบ มักจะพิจารณาในรู ปของความเร็ วเฉลี่ยในท่อมากกว่า เพราะน้ า
ที่ไหลผ่านหน้าตัดท่อใด ๆ ความเร็ วจะไม่เท่ากันตลอด จะมากที่สุดที่ก่ ึงกลางหน้าตัด แล้วค่อย ๆ ลดลง
1-3

เมื่อเข้าใกล้ผนัง โดยเฉพาะที่ติดกับผนังความเร็ วจะเป็ นศูนย์ ค่าความเร็ วของน้ าจะส่ งผลต่อการสู ญเสี ย


ความดันมาก และพบว่าการสู ญเสี ยเนื่องจากความฝื ดของท่อ จะเพิ่มขึ้น ถ้าความเร็ วของน้ าเพิ่มขึ้น
การเลื อกใช้ค วามเร็ วของน้ า ภายในท่ อ จะพิ จ ารณาจากแผนภู มิ แสดงความสั ม พัน ธ์ อตั รา
การไหลของน้ าและการสู ญเสี ยหัวน้ าในท่อ ซึ่ งมีค่าความเร็ วของน้ าภายในท่อเริ่ มตั้งแต่ 0.30 เมตรต่อวินาที
ถึง 5.00 เมตรต่อวินาที และมีขนาดของท่อตั้งแต่ 15 มม. ถีง 400 มม. แต่เนื่องจากความเร็ วของน้ าภายในท่อ
เป็ นปฎิภาคตรงกับแรงดันของน้ าภายในท่อ เพื่อความปลอดภัยในการเลือกใช้ขนาดท่อ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
จากแรงดันที่เกิดขึ้นกรณี เกิ ดแรงกระแทกของน้ า (Water Hammer) ดังนั้นความเร็ วของน้ าภายในท่อจะ
กาหนดไม่เกิน 3.00 เมตร ต่อวินาที ซึ่ งขึ้นกับชนิด ของท่อ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
1.3.5 การสู ญเสี ยหัวน้ า การสู ญเสี ยพลังงาน การเสี ยเฮดความฝื ด (Head loss) ลักษณะการไหล
ของของเหลวภายในท่อจะเป็ นการไหลแบบปั่ นป่ วน (Turbulent Flow) ซึ่งการเสี ยเฮด( Head) จะเป็ น
สัดส่ วนโดยตรงกับกาลังสองของความเร็ วในการไหลโดยประมาณการหาค่าความฝื ดจากการไหลของน้ า
ในท่อตรง และมีความยาว จากการคานวณในกรณี ที่เหมือนๆ กัน เปรี ยบเทียบโดยใช้สมการของ Darcy –
weisbach, Hazen – Williams, Manning พบว่า ค่าของการสู ญเสี ยพลังงาน ( hf ) ที่คานวณโดยใช้สมการ
ของ Hazen – Williamsให้ค่ามากที่สุด จึงปลอดภัยในการนาค่าการสู ญเสี ยพลังงาน ( hf ) ไปคิดหาปริ มาณ
น้ าในการไหล และเลือกขนาดท่อและอุปกรณ์
1.3.6 ข้อแนะนาในการคานวณหาค่าการสู ญเสี ยหัวน้ า (Head Loss) การคานวณหาค่า
การสู ญเสี ยหัวน้ า (Head Loss) อันเกิดเนื่องจากความเสี ยดทานของน้ ากับผิวสัมผัสภายในของท่อในการไหล
ภายใต้แรงดัน โดยทัว่ ๆ ไป นิยมใช้สมการของ Hazen-Williams เนื่องจากการใช้ค่อนข้างสะดวก และ
ให้ค่าที่น่าเชื่อถือ ในการนาไปใช้กรณี ที่ท่อมีความยาวมาก ๆ เช่น ระบบท่อส่ งน้ าชลประทานรับแรงดัน โดย
มีขอ้ จากัดว่า ผลจากการคานวณจะได้ค่า Re (Reynolds number) ที่ดีใน ช่วง 50,000 ถึง 150,000
โดยท่อต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 50 มม. และความเร็ วการไหลในท่อต้องไม่เกิน
3 เมตรต่อวินาที โดยมีรูปแบบของสู ตรเป็ นสมการยกกาลังสอง คือ
V  4.57x10 -3 xCD 0.63S0.54

Q  3.59x10 -6 xCD 2.63S 0.54


ในเมื่อ
V = ความเร็ วเฉลี่ยของน้ า (Mean Velocity of Flow) มีหน่วยเป็ น เมตรต่อวินาที
C = สัมประสิ ทธิ์ การไหลของ Hazen-Williams
D = เส้นผ่าศูนย์กลางภายในของท่อกลม มีหน่วยเป็ น มม.
hf
S = Slope of Energy Gradient or Hydraulic Gradient =
L
h f = การสู ญเสี ยหัวน้ า (Head Loss) มีหน่วยเป็ น เมตร
L = ความยาวของท่อ (Extended Length of pipe) มีหน่วยเป็ น เมตร
2-1
บทที่ 2
การออกแบบระบบท่ อส่ งนา้ ชลประทานรับแรงดัน
2.1 วิธีการออกแบบระบบท่ อส่ งนา้ ชลประทานรับแรงดัน
การออกแบบระบบท่ อส่ ง น้ า ชลประทานของโครงการชลประทานนั้น โดยทั่วไปวิศวกร
ผูอ้ อกแบบมักจะพิจารณาวางแผนขั้นตอนต่าง ๆ ในการคานวณออกแบบ หลังจากได้พิจารณาวางแนว
ระบบท่อส่ งน้ าไว้เรี ยบร้อยแล้ว ดังต่อไปนี้
2.1.1 การคานวณปริ มาณน้ าที่จะส่ งให้ท้ งั หมด พร้อมประมาณน้ าต้นทุนเฉลี่ย เมื่อทราบความ
ต้องการน้ าทั้งหมดของพืชที่ตอ้ งส่ งรวมถึ งน้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภคของคนและสัตว์เลี้ ยงทั้งหมดก็จะได้
ปริ มาณน้ าเพื่อใช้ในการออกแบบทั้งระบบ ในขณะเดียวกันจาเป็ นที่จะต้องประมาณปริ มาณน้ าต้นทุนด้วยว่า
เพียงพอหรื อไม่ เพราะหากปริ มาณน้ าต้นทุนมีจานวนจากัด ก็จะต้องส่ งน้ าได้เท่าปริ มาณน้ าต้นทุนเท่านั้น
ฉะนั้น ผูอ้ อกแบบ จึงต้องพิจารณาเป็ นพิเศษไว้ดว้ ย เพื่อจะระบุบอกไปในแบบก่อสร้างได้วา่ สามารถส่ งน้ า
ได้มากน้อยเท่าไร ขยายพื้นที่เพาะปลูก และใช้ในการอุปโภคบริ โภคจานวนกี่ครัวเรื อน
สาหรับข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการหาความต้องการใช้น้ าจะขอกล่าวพอสังเขปดังนี้ :-
(1) น้ าอุปโภค - บริ โภค
-คน (ชนบทและท้องถิ่นที่ตอ้ งการประหยัดน้ า) = 30 – 60 ลิตรต่อคนต่อวัน
-คน (ท้องถิ่นที่มีน้ าอุดมสมบูรณ์) = 75 – 300 ลิตรต่อคนต่อวัน
-วัว ควาย = 50 ลิตรต่อตัวต่อวัน
-หมู = 20 ลิตรต่อตัวต่อวัน
-ไก่ = 0.167 ลิตรต่อตัวต่อวัน
(2) น้ าใช้ปลูกพืช
-ปลูกผักหน้าแล้ง =7 ลูกบากศ์เมตรต่อไร่ ต่อวัน
-ปลูกข้าวหน้าแล้ง = 13 ลูกบากศ์เมตรต่อไร่ ต่อวัน
-น้ าตกกล้า – เตรี ยมแปลง = 240 มม.ต่อการปลูกข้าวครั้งหนึ่ง

2.1.2 การคานวณขนาดท่อที่จะใช้ในแต่ละสายทั้งระบบ เมื่อได้วางแนวท่อแต่ละสายไปตาม


ความเหมาะสมของภูมิประเทศแล้ว ผูอ้ อกแบบก็สามารถคานวณหาปริ มาณน้ าในแต่ละช่วงของท่อสายแยก
ซอย สายซอย ตลอดจนสายท่อประธาน ซึ่ งครอบคลุ มพื้นที่โครงการได้ในลักษณะรวมทบขึ้นมา ดังนั้น
ท่อจึงมีขนาดใหญ่ลดหลัน่ กันเป็ นลาดับ จากท่อประธาน ท่อสายซอย และท่อสายแยกซอย สาหรับวิธีการ
คานวณขนาดท่อ จะพิจารณาจากปริ มาณน้ าที่จะต้องไหลผ่านท่อนั้น ๆ พร้อมกับกาหนดค่าความเร็ วจากัด
ของท่อแต่ละชนิดในแต่ละสาย เช่น สายประธาน
2-2
จากสู ตร Q = AV
เมื่อ Q = ปริ มาณน้ า (ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที)
A = เนื้อที่หน้าตัดท่อส่ งน้ า (ตารางเมตร)
πD 2
ในที่น้ ี A = 4
D = ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ (เมตร)
V = ความเร็ วของน้ าในท่อ (เมตรต่อวินาที)

2.1.3 การคานวณการสู ญเสี ยพลังงานในเส้นท่อของระบบทั้งหมด การสู ญเสี ยพลังงานในท่อ


เนื่องจากความต้านทานต่าง ๆ จะแบ่งออกเป็ นสองประเภทด้วยกันดังนี้
(1) การสู ญเสี ยหลัก (Major Loss) โดยปกติการสู ญเสี ยหลักจะเกิดขึ้นจากความเสี ยดทานของ
ผิวท่อ ขนาดของท่อ ความเร็ วในการไหลและความยาวท่อ ถ้าผิวท่อขรุ ขระ ความยาวท่อ และความเร็ วใน
การไหลสู ง การสู ญเสี ยพลังงานจะสู งตามไปด้วย แต่การสู ญเสี ยพลังงานจะลดลงถ้าท่อมีขนาดโตขึ้น
สาหรับท่อกลมซึ่งเป็ นท่อที่ใช้ในงานวิศวกรรมเป็ นส่ วนใหญ่ ค่าการสู ญเสี ยหลักในท่อชนิดดังกล่าวสามารถ
หาได้จากสู ตร
-การออกแบบโดยสู ตรการไหลของ Darcy-Weisbach
L V2
hf = 
D 2g
เมื่อ hf = การสู ญเสี ยหลัก (เมตร)
 = แฟคเตอร์ของความเสี ยดทาน จาก Moody Diagram
L = ความยาวท่อ (เมตร)
D = เส้นผ่าศูนย์กลางภายในของท่อ (เมตร)
V = ความเร็ วในการไหล (เมตรต่อวินาที)
g = อัตราเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (เมตรต่อวินาที2)

-การออกแบบโดยสู ตรการไหลของ Hazen-Williams


สู ตรการไหลของ Hazen-Williams
V  4.57x10 -3 xCD 0.63S0.54

Q  3.59x10 -6 xCD 2.63S 0.54


ในเมื่อ
V = ความเร็ วเฉลี่ยของน้ า (Mean Velocity of Flow) มีหน่วยเป็ น เมตรต่อวินาที
C = สัมประสิ ทธิ์ การไหลของ Hazen-Williams
2-3
D = เส้นผ่าศูนย์กลางภายในของท่อกลม มีหน่วยเป็ น มม.
hf
S = Slope of Energy Gradient or Hydraulic Gradient =
L
h f = การสู ญเสี ยหัวน้ า (Head Loss) มีหน่วยเป็ น เมตร
L = ความยาวของท่อ (Extended Length of pipe) มีหน่วยเป็ น เมตร
Q = อัตราการไหลของน้ า (Flow Rate) มีหน่วยเป็ น ลิตรต่อวินาที

หมายเหตุ : ค่า C ขึ้นกับวัสดุและสภาพการใช้งานของท่อ ในการออกแบบใช้ค่า C ดังนี้

ท่อเหล็กเหนียวค่า C อยูร่ ะหว่าง 80 ถึง 100

ท่อซี เมนต์ใยหิ น (AC) ท่อพีวซี ี (PVC) ท่อไฟเบอร์ กลาสส์ (GRP) ค่า C อยูร่ ะหว่าง 120 ถึง 140
(2) การสู ญเสี ยรอง (Minor Loss) หมายถึงการสู ญเสี ยพลังงานเนื่ องจากการไหลในท่อ เมื่อของ
ไหลผ่านทางเข้าข้อต่อชนิ ดต่าง ๆ ข้องอ ประตูน้ า ฯลฯ ปกติถา้ ท่อมีความยาวมาก เช่น ในระบบท่อประปา
การชลประทานระบบท่อ ค่าการสู ญเสี ยรองนี้ จะมีค่าของการสู ญเสี ยน้อย เมื่อเปรี ยบเทียบกับ การสู ญเสี ย
หลัก แต่ถา้ ท่อที่มีความยาวไม่มากนัก มีขอ้ ต่อ ข้องอ หลายแห่งตามสภาพภูมิประเทศแล้ว ค่าการสู ญเสี ย
รองก็จะมีค่ามากเช่นกัน ค่าการสู ญเสี ยรองหาได้จากสู ตร
V2
hm = K
2g
เมื่อ
hm = การสู ญเสี ยรอง (เมตร)
K = สัมประสิ ทธิ์ ของการสู ญเสี ยพลังงานรองในท่อ (รู ปที่ ผก.2 รู ปที่ ผก.3รู ปที่ ผก.4)
V = ความเร็ วในการไหล (เมตรต่อวินาที)
g = อัตราเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (เมตรต่อวินาที2)

2.1.4 การคานวณความลาดชันทางชลศาสตร์ (Hydraulic Grade Line) ตามแนวท่อ Hydraulic


Grade Line หรื อ ค่าความลาดชันทางชลศาสตร์ คือ เส้นความลาดชันซึ่ งเกิดจากอัตราส่ วนระหว่างความ
สู ญเสี ยพลังงานรวมของระบบต่อความยาวท่อ การคานวณลาด Hydraulic Grade Line นั้น ควรจะเพิ่มค่าการ
สู ญเสี ยพลังงานรวมของท่อทั้งระบบอีก ประมาณ 5 ถึง 10 % ของค่าการสู ญเสี ยทั้งหมด เพื่อให้แน่ใจว่าน้ ามี
แรงดันพออย่างทัว่ ถึง ถ้าหากกาหนดให้ กม. 0+000 ของระบบท่อ เป็ นจุดหลักในการคานวณ จะถือว่าที่จุดนี้
ค่าการสู ญเสี ยเริ่ มต้นเท่ากับศูนย์สาหรับระบบท่อ

2.1.5 การคานวณและออกแบบอาคารประกอบในระบบท่อรับแรงดันอาคารประกอบในสาย
ท่อที่จาเป็ นเช่น Thrust Block อ่างควบคุมระดับน้ า บ่อดักตะกอน ข้อต่อคอนกรี ตรับแรงดัน เป็ นต้น จะต้อง
คานวณให้อาคารตัวนั้น ๆ มีความมัน่ คงแข็งแรงและถูกต้องตามหลักวิศวกรรม
2-4
(1) การคานวณหาแท่งคอนกรี ตเพื่อสกัดกั้นแรงขับ (Standard Concrete Protection Design) สิ่ ง
ที่ใช้ในการสกัดกั้นแรงขับ ส่ วนมากจะใช้การหล่อแท่งคอนกรี ต หรื อการตอกไม้ค้ ายันในตาแหน่งทิศทาง
ของแรงขับที่เกิ ดขึ้น พื้นที่ต่ าสุ ดหรื อขนาดของสิ่ งสกัดกั้นแรงขับ (Protection Area) จะคานวณหาได้จาก
สู ตร
W
A
K
A = คือ พื้นที่ต่าสุ ดของสิ่ งสกัดกั้นแรงขับ (Protection Area) ตารางเซนติเมตร
W = คือ แรงขับ (Thrust Load) กิโลกรัม กรณี ความดันของน้ าภายในท่อ (P) เท่ากับ 1 กิโลกรัมต่อ
ตารางเซนติเมตร
K = คือ ความต้านแรงกระทาของดิน (Bearing Strength) (กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)

ตารางที่ 2.1.1 ความต้านแรงกระทาของดิน (Bearing Strength) ของสภาพชั้นดินต่าง ๆ


ความต้านแรงกระทาของดิน(K)
สภาพของชั้นดิน
(กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
โคลนเหลว 0.04 ~ 0.10
โคลนเปี ยก ดินเหนียวอ่อน 0.25
ทรายผสมดินเหนียว ดินเหนียวแข็ง 0.50 ~ 0.60
ทรายเปี ยก 0.50
ทรายละเอียด 0.60
ทรายปนกรวด 0.70
ทรายปนกรวดผสมดินเหนียว 1.00

ค่ า K จะมี ค่ า แตกต่ า งกัน ออกไป ขึ้ น อยู่ ก ับ สภาพชั้ น ดิ น ที่ ติ ด ตั้ง ท่ อ กรณี แ รงขับ
(Thrust Load) ที่เกิดขึ้นตามแนวนอนในสภาพที่มีความลึกของชั้นดินที่ปกคลุมหลังท่อเกิน 60 เซนติเมตร
จะกาหนดค่า K ตาม ตารางที่ 2.1.1
3-27

3.4 ท่ อพอลิเอทิลนี ชนิดความหนาแน่ นสู ง (High Density Polyethylene )


ท่อพอลิเอทิลีนชนิ ดความหนาแน่ นสู ง (High Density Polyethylene) เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มาจาก
อุตสาหกรรมปิ โตเคมี วัสดุ โพลิ เอทิลี นที่ ใช้ในการผลิ ตท่อท่อพอลิ เอทิ ลีนชนิ ดความหนาแน่ นสู ง (High
Density Polyethylene) หรื อที่เรี ยกชื่ อทางการตลาดท่อ HDPE ตามมาตรฐาน มอก. 982-2548 ปั จจุบนั
สามารถผลิ ตท่อให้เหมาะสมกับความต้องการในการใช้งานมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม.จนถึ งขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุด 1,600 มม.มีความยาวท่อที่เลื อกใช้ได้ ตั้งแต่ความยาวท่อนมาตรฐาน 6 เมตร
และ12 เมตรหรื อท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง16 มม. จนถึงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 110 มม. สามารถม้วนขดได้
ความยาวถึง 500 เมตร ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความเหมาะสมในการขนส่ ง
3.4.1 คุณลักษณะโดยทัว่ ไป
(1) น้ าหนักเบา (Light Weight) มีน้ าหนักประมาณ 1 ต่อ 5 เท่าของน้ าหนักของท่อเหล็กที่มี
ขนาดท่อใกล้เคียงกัน
(2) พื้นผิวภายในของท่อ HDPE มีความเรี ยบมันด้วยค่า สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน (n) เท่ากับ
0.009 (Manning) และ C เท่ากับ 150 (Hazen and Williams)
(3) ท่อ HDPE มีความสามารถทนทานต่อสารเคมีไม่เกิดการผุกร่ อน และไม่เกิดการเป็ นสนิ ม
แม้วา่ จะวางท่อในดิน หรื อในน้ าทะเลทาให้การซ่ อมแซมบารุ งรักษาน้อยกว่าท่อชนิ ดอื่นๆ อีกทั้งท่อ HDPE
มีสีดาจากคาร์ บอน เป็ นตัวต้านทานต่อแสงอุลตร้าไวโอเลท (UV-Resistance) จึงทาให้ท่อ HDPE สามารถใช้
กับงานกลางแจ้งได้ โดยไม่กรอบแตกร้าว
3-28

ตารางที่ 3.4.1 รายละเอียดชื่อขนาด และมิติของท่อ HDPE ตาม มอก. 982-2548


ขนาด ชั้นคุณภาพ ชั้นคุณภาพ ชั้นคุณภาพ ชั้นคุณภาพ ชั้นคุณภาพ
ระบุ PN 6.3 PN 8 PN 10 PN 12.5 PN 16
f=oD S Weight S Weight S Weight S Weight S Weight
มม. มม. กก./ม. มม. กก./ม. มม. กก./ม. มม. กก./ม. มม. กก./ม.
16 - - - - 1.6 0.08 1.8 0.09 2.3 0.10
20 - - 1.6 0.10 1.9 0.11 2.3 0.14 2.8 0.16
25 1.6 0.13 1.9 0.15 2.3 0.17 2.8 0.20 3.5 0.24
32 1.9 0.19 2.4 0.24 3.0 0.28 3.6 0.33 4.5 0.4
40 2.4 0.30 3.0 0.36 3.7 0.44 4.5 0.52 5.6 0.62
50 3.0 0.46 3.8 0.57 4.6 0.68 5.6 0.80 6.9 0.95
63 3.8 0.73 4.7 0.89 5.8 1.07 7.0 1.25 8.7 1.51
75 4.5 1.03 5.6 1.25 6.9 1.51 8.4 1.79 10.4 2.13
90 5.4 1.48 6.7 1.80 8.2 2.16 10.0 2.55 12.5 3.06
110 6.6 2.2 8.2 2.69 10.0 3.19 12.3 3.84 15.2 4.55
125 7.5 2.84 9.3 3.45 11.4 4.14 13.9 4.92 17.3 5.88
140 8.3 3.52 10.4 4.32 12.8 5.19 15.6 6.18 19.4 7.40
160 7.7 3.77 9.6 4.63 11.8 5.59 14.5 6.73 18.1 8.12
180 8.6 4.74 10.8 5.85 13.3 7.09 16.3 8.15 20.3 10.32
200 9.6 5.87 12.0 7.21 14.8 8.75 18.1 10.5 22.6 12.64
225 10.8 7.41 13.5 9.13 16.6 11.04 20.4 13.29 25.4 16.0
250 12.0 9.13 15.0 11.25 18.4 13.59 22.6 16.35 28.2 19.71
280 13.4 11.44 16.8 14.11 20.6 17.03 25.3 20.5 31.6 24.71
315 15.0 14.37 18.9 17.84 23.2 21.57 28.5 25.96 35.5 31.23
355 17.0 18.33 21.2 22.58 26.2 27.43 32.1 32.95 40 39.62
400 19.1 23.74 23.9 29.26 29.5 35.54 36.2 42.72 45.1 51.36
450 21.5 30.07 26.9 37.06 33.1 44.83 40.7 54.04 50.8 56.60
500 23.9 37.07 29.9 45.71 36.8 55.38 45.2 66.62 56.4 80.22
560 26.7 46.44 33.5 57.39 41.2 69.38 50.6 83.51 - -
630 30.0 58.59 37.7 72.6 46.4 87.89 56.9 105.67 - -
710 33.9 74.59 42.4 92.0 52.3 111.63 - - - -
800 38.1 94.52 47.8 116.82 58.9 141.64 - - - -
900 42.9 119.65 53.8 147.88 - - - - - -
1,000 47.7 147.75 59.8 182.59 - - - - - -
1,200 57.2 212.5 - - - - - - - -
1. OD = เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกเฉลี่ยของท่อ (Mean outside Diameter of Pipe)
S = ความหนาของผนังท่อ (Wall Thickness)
PN = ความดันใช้งานที่อุณหภูมิ 20 Co มีหน่วยเป็ น BAR (Nominal Pressure Rating, Bar)
2. ท่อมาตรฐานยาวท่อนละ 6 เมตร 12 เมตร และท่อขนาดเล็กตั้งแต่ 16 มม. ถึง 110 มม. สามารถผลิตเป็ น
ท่อม้วนความยาว 50 เมตร และ 100 เมตร
3-29

ตารางที่ 3.4.2 ชั้นคุณภาพ ท่อ HDPE


ความดันระบุ 20 Co
ชั้นคุณภาพ
เมกะพาสคัล
PN. 3.2 0.32
PN. 4 0.40
PN. 6 0.60
PN. 6.3 0.63
PN. 8 0.80
PN. 10 1.00
PN. 12.5 1.25
PN. 16 1.60
PN. 20 2.00
PN. 25 2.50

3.4.4 อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับท่อ HDPE

อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับท่อ HDPE

(1) Stub End ทามาจากท่อหนาแล้วไปกลึงขึ้นรู ป หรื อหล่อให้ได้มิติตามมาตรฐาน ก่อนสั่งซื้ อ


ต้องระบุให้ชดั ว่าเป็ นชั้นความดัน (PN) อะไร ชั้นคุณภาพเท่าใด PE 80 หรื อ PE 100 ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั คุณภาพ
ท่อ HDPE ที่ใช้

รู ปที่ 3.4.1 Stub End ท่อ HDPE


3-30

(2) Backing Ring โรงงานผลิตท่อ HDPE มักจะใช้เป็ นเหล็กเหนียว ดังนั้น ก่อนกาหนดใช้งาน


ต้องระบุให้ชดั ว่าเป็ นเหล็กหล่อหรื อเหล็กเหนียว

รู ปที่ 3.4.2 แสดง Backing Ring และ Blind Flange ท่อ HDPE

(3) สลักเกลียว
สลักเกลียวสาหรับใช้กบั ข้อต่อหน้าจาน Stub end และ Backing Ring ของท่อ HDPE ต้องทา
จากเหล็กกล้าไร้สนิม มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ASTM A320 Grade B8

รู ปที่ 3.4.3 แสดงสลักเกลียวสาหรับใช้กบั ข้อต่อหน้าจาน


(4) ปะเก็นยาง และข้อลด
ปะเก็นยางของท่อ HDPE จะใช้แบบ”หู กระต่าย”ไม่ตอ้ งมีรูเหมือนกับปะเก็นยางหน้าจานแบบ
งานท่อ พีวซี ี (PVC) หรื อท่อเหล็กเหนียว

รู ปที่ 3.4.4 แสดงปะเก็นยาง และข้อลด ท่อ HDPE


3-1

บทที่ 3
ชนิดท่ อส่ งนำ้ รับแรงดันที่จะนำมำใช้ ในกำรก่อสร้ ำง
3.1 ท่ อ พีวซี ี (PVC) และ อุปกรณ์ ท่อ
ท่อ พีวีซี(PVC) มอก. 17-2532 สำหรับใช้เป็ นท่อน้ ำดื่ม ซึ่ งเหมำะสำหรับใช้ในที่ ที่ไม่ถูกแสงแดด
โดยตรง ตำม มอก. นี้ เป็ นท่ อ ที่ ท ำขึ้ น จำกโพลิ ไ วนิ ล คลอไรด์ โดยไม่ ผ สมพลำสติ ไ ซเซอร์ และต้อ งมี
คุณสมบัติทนควำมดันน้ ำใช้งำนได้ไม่น้อยกว่ำ 8.5 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 27 C0 มีควำม
ถ่วงจำเพำะ (Specific Gravity) ของวัสดุ พีวซี ี (PVC) ต้องไม่มำกกว่ำ 1.43
ตำรำงที่ 3.1.1 ชั้นคุณภำพ ท่อ พีวซี ี(PVC)
ควำมดันระบุ
ชั้นคุณภำพ เมกะพำสคำล
(MPa)
PVC 5 0.50
PVC 8.5 0.85
PVC 13.5 1.35

หมำยเหตุ 1 เมกะพำสคำล = 9.8692 ควำมดันบรรยำกำศ


= 10.1972 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
= 145.038 ปอนด์ต่อตำรำงนิ้ว
หรื อเท่ำกับควำมสู งของน้ ำ = 101.9716 เมตร
ท่อพีวซี ี (PVC) มอก. 17-2532 มีสีฟ้ำ สำหรับใช้ท่อน้ ำดื่ม ท่อรับควำมดันเพื่อกำรเกษตรและ
กำรชลประทำน ท่อระบำยน้ ำทิ้ง และสิ่ งปฏิกลู ฯลฯ ท่อพีวซี ี (PVC) ชนิดต่อด้วยน้ ำยำประสำนท่อ ผลิต
ตั้งแต่เส้นผ่ำศูนย์กลำงขนำด 18 มม. ถึง 600 มม. ท่อพีวซี ี (PVC) ชนิดต่อด้วยแหวนยำงผลิตตั้งแต่
เส้นผ่ำศูนย์กลำงขนำด 55 มม. ถึง 600 มม.
ท่อพีวซี ี (PVC) มอก. 999-2533 สี เทำ สำหรับใช้ในงำนอุตสำหกรรม
3.1.1 คุณสมบัติพิเศษท่อ พีวซี ี (PVC) และอุปกรณ์ท่อ
(1) ทนทำนต่อกำรกัดกร่ อนได้ดีเป็ นพิเศษ (High Corrosion Resistance) ทนทำนต่อสำรเคมี
เกือบทุกประเภท ไม่วำ่ จะได้เป็ นกรด ด่ำง หรื อเกลือ และไม่เป็ นสนิม หรื อเกิดกำรผุกร่ อน

(2) ทนทำนต่อสภำพดินฟ้ ำอำกำศ (Outstanding Durability) ไม่สำมำรถถูกแสงแดดโดยตรง ถ้ำ


หำกใช้อยู่ภ ำยนอกไม่ ไ ด้ฝ่ั ง ดิ นหรื อ ฝั่ ง อยู่ใ นปู น ซิ เ มนต์ส ำมำรถทำสี ป้ องกัน แสงแดดได้ ทนฝน และ
สภำพแวดล้อมภำยนอกได้ดี และต่อต้ำ นแบคที เรี ย เชื้ อรำต่ ำง ๆ โดยเฉพำะกำรฝั งตัวอยู่ในดิ นได้อย่ำ ง
ปลอดภัยมีอำยุกำรใช้งำนได้ไม่ต่ำกว่ำ 50 ปี
3-2

(3) น้ ำหนักเบำ (Light Weight) เมื่อเทียบกับท่อที่ทำจำกวัสดุอื่น ๆ น้ ำหนัก 1 ต่อ 6 เท่ำของท่อ


เหล็ก 1 ต่อ 5 เท่ำของท่อเหล็กหล่อ และ 2 ต่อ 3 เท่ำของท่อซี เมนต์ใยหิ น สะดวกในกำรติ ดตั้ง ขนส่ ง
ประหยัดเงินค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆ
-แบบท่อปลำยธรรมดำ(PVC Pipe Drinking Water Service with Both Plain Ends)

รู ปที่ 3.1.1 ท่อพีวซี ี (PVC) แบบท่อปลำยธรรมดำ(PVC Pipe Drinking Water Service with Both Plain End)
ตำรำงที่ 3.1.2 รำยละเอียดท่อพีวซี ี (PVC) แบบท่อปลำยธรรมดำ
ชื่ อขนาดท่อ เส้นผ่าศูนย์กลาง ความหนาเฉลี่ ยของท่อ ความยาวท่อ น้ าหนักของท่อต่อท่อน-กิโลกรัม
NOMINAL SIZE ภายนอกเฉลี่ ย(OD) (มม.) ต่อท่อน WEIGHT PER LENGTH (Kg.)
มม.(นิ้ว) (มม.) PVC 5 PVC 8.5 PVC 13.5 (มม.) PVC 5 PVC 8.5 PVC 13.5
1
18( /2" ) 22±0.15 - 2.0±0.20 2.5±0.20 - 0.72 0.88
20(3/4") 26±0.15 - 2.0±0.20 2.5±0.20 - 0.86 1.06
25(1") 34±0.15 - 2.0±0.20 3.0±0.25 - 1.15 1.67
35(11/4") 42±0.15 1.5±0.15 2.0±0.20 3.1±0.25 1.09 1.44 2.17
40(11/2") 48±0.15 1.5±0.15 2.3±0.20 3.5±0.25 1.25 1.89 2.80
55(2") 60±0.15 1.8±0.20 2.9±0.25 4.3±0.30 1.88 2.98 4.30
65(21/2") 76±0.20 2.2±0.20 3.5±0.25 5.4±0.35 2.92 4.56 6.85
80(3") 89±0.20 2.5±0.20 4.1±0.30 6.4±0.40 3.89 6.26 9.50
100(4") 114±0.30 3.2±0.25 5.2±0.35 8.1±0.50 6.37 10.17 15.41
125(5") 140±0.30 3.9±0.30 6.4±0.40 9.9±0.55 9.55 15.40 23.23
150(6") 165±0.40 4.6±0.30 7.5±0.45 11.7±0.65 13.28 21.29 32.37
200(8") 216±0.50 5.4±0.35 8.8±0.50 13.7±0.75 4,000 20.48 32.87 50.06
250(10") 267±0.70 6.6±0.40 10.9±0.60 16.9±0.90 30.96 50.37 76.43
300(12") 318±0.80 7.8±0.45 12.9±0.70 20.1±1.05 43.61 71.07 108.40
350(14") 370±0.90 9.1±0.55 15.0±0.80 23.4±1.20 59.22 96.22 147.01
400(16") 420±1.10 10.3±0.60 17.0±0.90 26.5±1.35 76.12 123.89 189.23
450(18") 470±1.20 11.5±0.65 19.0±1.00 29.7±1.50 95.16 155.07 237.58
500(20") 520±1.30 12.7±0.70 21.0±1.10 32.8±1.65 116.32 189.78 290.65
600(24") 630±1.60 15.3±0.80 25.4±1.30 39.7±2.00 169.97 278.57 427.32
3-3

หมำยเหตุ :
1. ควำมยำวท่อพิเศษที่แตกต่ำงจำกควำมยำวมำตรฐำนข้ำงต้น ให้ติดต่อสอบถำมผูผ้ ลิต โดยตรง
2. ตัวเลขที่ระบุช้ นั คุณภำพท่อ PVC 5 PVC 8.5 และPVC 13.5 เป็ นควำมดันใช้งำน (Working
Pressure) หมำยถึงควำมดันสู งสุ ดที่กำหนดให้ใช้งำนได้ติดต่อกันเป็ นเวลำนำน ที่อุณหภูมิ 27 C0 มี
หน่วย เป็ น กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร
3. น้ ำหนักท่อต่อท่อน เป็ นน้ ำหนักโดยประมำณ

-ท่อพีวีซี(PVC) แบบปลำยบำนชนิ ดต่อด้วยแหวนยำง(PVC Pipe one End with Rubber Ring


Socket)สำหรับใช้เป็ นท่อน้ ำดื่ม สี ท่อเป็ นสี ฟ้ำผลิตเส้นผ่ำศูนย์กลำงตั้งแต่ขนำด 55 มม. ถึง 600 มม.

รู ปที่ 3.1.2 ท่อพีวซี ี (PVC) แบบปลำยบำนชนิดต่อด้วยแหวนยำง(PVC Pipe one End with Rubber Ring Socket)

ตำรำงที่ 3.1.3 รำยละเอียดท่อพีวซี ี (PVC) แบบปลำยบำนชนิดต่อด้วยแหวนยำง


ชื่ อขนาดท่อ เส้นผ่าศูนย์กลาง ความหนาเฉลี่ ยของท่อ ความยาวท่อ ความลึกของการสวม น้ าหนักของท่อต่อท่อน-กิโลกรัม
NOMINAL SIZE ภายนอกเฉลี่ ย(OD) t (มม.) ต่อท่อน DEPTH MARK WEIGHT PER LENGTH (Kg.)
มม.(นิ้ว) D(มม.) PVC 5 PVC 8.5 PVC 13.5 Z(มม.) LS(มม.) PVC 5 PVC 8.5 PVC 13.5
55(2") 60±0.15 1.8±0.20 2.9±0.25 4.3±0.30 100 2.89 4.59 6.64
65(21/2") 76±0.20 2.2±0.20 3.5±0.25 5.4±0.35 105 4.50 7.04 10.58
80(3") 89±0.20 2.5±0.20 4.1±0.30 6.4±0.40 110 6.01 9.70 14.71
100(4") 114±0.30 3.2±0.25 5.2±0.35 8.1±0.50 135 9.90 15.80 23.97
150(6") 165±0.40 4.6±0.30 7.5±0.45 11.7±0.65 155 20.69 33.14 50.56
200(8") 216±0.50 5.4±0.35 8.8±0.50 13.7±0.75 6,000 170 32.02 51.38 78.47
250(10") 267±0.70 6.6±0.40 10.9±0.60 16.9±0.90 195 48.69 79.18 120.70
300(12") 318±0.80 7.8±0.45 12.9±0.70 20.1±1.05 220 68.97 112.32 172.11
350(14") 370±0.90 9.1±0.55 15.0±0.80 23.4±1.20 235 93.92 152.48 233.96
400(16") 420±1.10 10.3±0.60 17.0±0.90 26.5±1.35 275 121.53 197.60 303.06
450(18") 470±1.20 11.5±0.65 19.0±1.00 29.7±1.50 285 153.07 249.17 383.57
500(20") 520±1.30 12.7±0.70 21.0±1.10 32.8±1.65 300 188.35 306.89 472.17
600(24") 630±1.60 15.3±0.80 25.4±1.30 39.7±2.00 340 278.06 454.89 701.26
3-4

(4) กำรไหลของของเหลว สม่ำเสมอ สะดวก คล่องตัว (Consistent & High Flow Rate) ผิวใน
ท่อเรี ยบ สัมประสิ ทธิ์ กำรเสี ยดทำนต่ำ ป้ องกันกำรสะสมตัวเป็ นตะกรันอุดตันในเส้นท่อ และประสิ ทธิ ภำพ
กำรไหลตัวของของเหลวสู งสม่ำเสมอตลอดอำยุกำรใช้งำนท่อ
(5) มีควำมแข็งแกร่ งทำงกลสู ง (Excellent Mechanical) ทนทำนต่อแรงกระทบ แรงกระแทก
จำกภำยนอก แรงกดบีบต่ำง ๆ ที่กระทำกับตัวท่อ และรู ปทรงแข็งแกร่ ง ทนทำนต่อกำรรับควำมดันภำยใน
เส้นท่อ
(6) ไม่เป็ นพิษ หรื อเป็ นอันตรำยต่อสุ ขภำพ (Hygienically & Safe) ของเหลวที่ลำเลียงผ่ำนท่อ
ไม่ มี ร ส กลิ่ น และสี ผิ ด แผกไปจำกเดิ ม เหมำะส ำหรั บ ใช้ใ นระบบเป็ นท่ อ น้ ำ ดื่ ม ท่ อ น้ ำ รั บ แรงดัน เพื่ อ
กำรเกษตรและกำรชลประทำน ที่ตอ้ งกำรควำมสะอำดและควำมปลอดภัยเป็ นพิเศษ
(7) สะดวกในกำรติดตั้ง และง่ำยต่อกำรซ่ อมบำรุ ง (Easy Installation & Maintenance) กำร
ประกอบติดตั้งทำได้ง่ำย สะดวก รวดเร็ ว สำมำรถต่อเข้ำกับระบบท่ออื่น ๆ อุปกรณ์ วำล์วต่ำง ๆ ได้ทุกชนิ ด
ซ่อมบำรุ งทำได้ง่ำย จัดหำอุปกรณ์ต่ำง ๆ ในท้องตลำดได้ง่ำย สะดวก
(8) รำคำถูก ประหยัดค่ำใช้จ่ำย (Economical) มีรำคำถูก เมื่อเที ยบกับท่อชนิ ดอื่น แต่คุณภำพ
เหนือกว่ำช่วยประหยัดค่ำใช่จ่ำย และมีอำยุกำรใช้งำนที่นำนกว่ำ
3.1.2 ข้อต่อ (Joints) ท่อ พีวซี ี (PVC) มอก. 1131-2535
ท่อ พีวีซี (PVC) ที่นิยมใช้เป็ นแบบปลำยข้ำงหนึ่ งเป็ นปลำยบำนอีกข้ำงหนึ่ งเป็ นปลำยเรี ยบ
(Plain End) กำรต่อเชื่อมท่อ พีวซี ี แข็ง และอุปกรณ์ท่อชนิ ดนี้ ตอ้ งเป็ นแบบต่อสวม โดยใช้แหวนยำง (Push –
on Joint Employing a Rubber Gasket) จะมีขนำดท่อเส้นผ่ำศูนย์กลำง 55 มม. ถึง 600 มม. ควำมยำวท่อ
ท่อนละ 6 เมตร ถ้ำหำกเป็ นชนิ ดต่อด้วยน้ ำยำจะมีขนำดท่อเส้นผ่ำศูนย์กลำง 15 มม. ถึง 100 มม. ควำมยำว
ท่อ ท่อนละ 4 เมตร
-แหวนยำง (Rubber Gasket) สำหรับใช้กบั ท่อ พีวซี ี (PVC) มอก.237-2552
-สลักเกลียว และแป้ นเกลียวต้องเป็ นแบบหัวหกเหลี่ยมที่ทำมำจำกเหล็กเหนียว มีคุณสมบัติตำม
มำตรฐำน มอก. 171-2530
(1) กำรเพิ่มควำมแข็งแรงเป็ นพิเศษในส่ วนของแบบปลำยบำน หรื อแบบปำกระฆัง และข้อต่อ
ชนิดต่อด้วยแหวนยำง (Improved Strength at the Part of Rubber Ring Socket) ท่อแบบปลำยบำน หรื อแบบ
ปำกระฆัง และข้อต่อชนิ ดต่อด้วยแหวนยำง ผลิ ตโดย เนื้ อท่อส่ วนที่จะนำมำขึ้นรู ปเป็ นข้อต่อทั้งส่ วนที่เป็ น
ท่อแบบปลำยบำน และข้อต่อท่อ ให้มีควำมหนำเพิ่มเป็ นพิเศษประมำณ 20 % ถึง 25 % จำกควำมหนำปกติ
เมื่อนำมำขึ้นรู ปเป็ นข้อต่อชนิดต่อด้วยแหวนยำงแล้ว ควำมหนำบริ เวณส่ วนที่เป็ นข้อต่อนี้ จะมีควำมหนำไม่
น้อยกว่ำควำมหนำปกติ ของท่อ ควำมแข็งแรง และประสิ ทธิ ภำพควำมทนทำนต่อแรงดันของข้อต่อด้วย
แหวนยำง จะมีคุณสมบัติเหนื อกว่ำ หรื ออย่ำงน้อยเทียบเท่ำกับส่ วนที่เป็ นเนื้ อท่อส่ วนอื่น ๆ ไม่เป็ นปั ญหำ
หรื อเป็ นจุดอ่อนในกำรใช้งำน
(2) มีประสิ ทธิ์ ภำพควำมทนทำนต่อกำรรั่วซึ ม(Absolute Water Seal) ทุก ๆ สภำวะ รู ปร่ ำง และ
ขนำดของข้อต่อชนิ ดต่อด้วยแหวนยำง ต้องได้รับกำรออกแบบเพื่อให้มีส มรรถนะกำรกันซึ มที่ สมบูรณ์
จุดที่ควรติดตั้ง Air Valve

กม.0+000 ของระบบส่ งน้ ารับแรงดัน ทุกระยะที่ความยาวท่อเกิน 1,000 เมตร กม.22+000


แนวระดับน้ า หรื อตามความเหมาะสม

บริ เวณระดับสู งสุ ดของท่อ


เส้น Hydraulic Grade Line (H.G.L.)

ผก.-3
บริ เวณจากสู งไปต่า
บริ เวณจุดจากต่าไปสู ง ปลัก๊ ปิ ดปลายท่อ

หมายเหตุ โดยทัว่ ไปหลังท่อจะต่ากว่าระดับดินเดิมประมาณ 0.60 เมตร เว้นแต่ผา่ นถนนต้องฝังลึก 1.20 เมตร

รู ปที่ ผก.1 แสดงจุดทีค่ วรติดตั้งวาวล์ไล่อากาศ Air Valve


3-5

สู งสุ ด เหมำะสมกับทุก ๆ สภำวะของกำรนำไปใช้งำน ด้วยประสิ ทธิ ภำพระบบกำรกันซึ มถึง 2 ชั้น ที่ทำงำน


เสริ มสัมพันธ์กนั อย่ำงสอดคล้อง กำรกันซึ มชั้นแรก (Primary Seal) เป็ นกำรกันซึ มที่เกิ ดจำกควำมยืดหยุ่น
ของยำงระหว่ำงร่ องแหวนยำงกับผนังของท่อ ส่ วนกำรกันซึ มในชั้นที่สอง (Secondary Seal) เป็ นกำรกันซึ ม
เพิ่มขึ้นระหว่ำงปี กแหวนยำงกับผนังท่อ เป็ นชั้นกำรกันซึ มพิเศษที่ประสิ ทธิ์ ภำพกำรกันซึ มเพิ่มขึ้น ตำมควำม
ดันในเส้นท่อ ส่ วนที่ต่อของท่อจึงทนทำนต่อกำรรั่ วซึ มทุก ๆ สภำวะ ทั้งในสภำพควำมดันปกติ (Positive
Pressure) และควำมดันสุ ญญำกำศ (Negative Pressure)
(3) มีควำมหยุน่ ตัว และโค้งงอได้มำกเป็ นพิเศษ (Superior Elasticity and Flexibility) ข้อต่อ
ชนิดต่อด้วยแหวนยำง ให้ควำมหยุน่ ตัว (Flexibility) ที่ดี ช่วยลดอุบตั ิเหตุท่อแตกรั่วหรื อรั่วซึ ม เนื่ องจำกกำร
ทรุ ดตัวของท่อสำมำรถเบี่ยงเบนจำกแนวเดิมได้ไม่นอ้ ยกว่ำ 3 องศำ และข้อต่อชนิ ดต่อด้วยแหวนยำงนี้ ยงั
ทำหน้ำที่เป็ นเสมือน Expansion Joint ในตัวเอง จึงช่ วยเอื้อประโยชน์ต่อกำรขยำยตัว หรื อ หดตัวของท่อ
ขณะที่อุณหภูมิเกิดกำรเปลี่ยนแปลง
(4) กำรประกอบติดตั้งได้ง่ำย และสะดวก (Speed-up of Installation) กำรประกอบต่อท่อชนิ ด
ต่อด้วยแหวนยำง จะทำให้ง่ำย และสะดวก ขั้นตอนกำรประกอบไม่ยุ่งยำก และซับซ้อนไม่จำเป็ นต้องมี
เครื่ องมือพิเศษกำรต่อท่อชนิ ดต่อด้วยแหวนยำงจึงช่ วยประหยัดค่ำใช้จ่ำย และเวลำ โดยเฉพำะท่อขนำด
ใหญ่ ๆ สำมำรถใช้คนงำนเพียงหนึ่งหรื อสองคนก็สำมำรถประกอบต่อได้
(5) กำรประกอบติดตั้งทำได้ทุกสภำพดินฟ้ ำอำกำศและทุกสภำพพื้นที่ (No Ambient influence)
กำรประกอบท่อชนิดต่อด้วยแหวนยำง เป็ นกำรต่อแบบ “Push fit Insertion Joint” ใช้น้ ำยำหล่อลื่นเป็ นตัว
ช่วยในกำรประกอบ กำรต่อท่อจึงทำได้ทุกสภำพอำกำศและทุกสภำพพื้นที่ไม่มีขีดจำกัดในกำรทำงำน
3.1.3 น้ ำยำประสำนท่อพีวซี ี (PVC) (Solvent Cement)
น้ ำยำประสำนท่อพีวซี ี (PVC) ผลิตขึ้นตำมมำตรฐำน มอก.1032-2534 สำมำรถใช้ได้ท้ งั กับท่อ
รับแรงดันและท่อไม่รับแรงดัน น้ ำยำประสำนท่อ พีวซี ี (PVC) แบ่งออกได้ดงั นี้
(1) น้ ำยำประสำนท่อชนิดธรรมดำ (Low Viscosity)
(2) น้ ำยำประสำนท่อชนิดข้น (High Viscosity, HV)
(3) น้ ำยำทำควำมสะอำดท่อพีวซี ี (PVC)
(4) น้ ำยำหล่อลื่น สำหรับข้อต่อแหวนยำง (Lubricant for Rubber Ring Joint) ข้อควรระวัง
ห้ำมใช้จำรบี หรื อน้ ำมันพืช หรื อสิ่ งหล่อลื่นใดๆ ที่มีอนั ตรำยต่อแหวนยำง และท่อพีวีซี แทนน้ ำยำหล่อลื่ น
แหวนยำงโดยเด็ดขำด
3.1.4 วิธีกำรเจำะท่อแยก (Branching Method)
จะต้องกำรทำควำมสะอำด (Cleaning) ท่อ ประกอบรัดแยกเหล็กหล่อ (Mounting the Saddle)
และกำรเจำะท่อพีวซี ี (PVC) และกำรนำท่อแยกที่ได้ไปใช้งำน (Service Pipelines)
3-6

รู ปที่ 3.1.3 กำรเจำะท่อพีวซี ี (PVC)

รู ปที่ 3.1.4 กำรนำท่อแยกที่ได้ไปใช้งำน (Service Pipelines)

3.1.5 กำรต่อท่อพีวซี ี (PVC) กับอุปกรณ์ต่ำง ๆ

รู ปที่ 3.1.5 กำรต่อเข้ำกับประตูน้ ำ (Gate Valve)


ภาคผนวก ก
3-7

กำรต่ อช่ วงแยก ใช้ ข้อต่อสำมทำงเหล็กหล่ อ กำรต่ อช่ วงแยก ใช้ ข้อต่อรัดแยกเหล็กหล่ อ

รู ปที่ 3.1.6 กำรต่อเพื่อติดตั้งประตูระบำยอำกำศ (Air Release Valve)

3.1.6 กำรติดตั้งวำงท่อพีวซี ี (PVC) กำรเตรี ยมฐำนล่ำงของร่ องดินสำหรับแนวท่อ กรณี เป็ นชั้น


ดินฐำนรำกรองรับท่อชนิ ดต่ำง ๆ
(1) กรณี เป็ นชั้นดินฐำนรำกรองรับท่อที่มีคุณภำพดี ซึ่ งปรำศจำกทรำย และกรวดเจือปนพื้นร่ อง
ดินที่ปรับแล้วจะใช้เป็ นฐำนรองรับท่อได้เลย

รู ปที่ 3.1.7 กรณี เป็ นชั้นดินฐำนรำกรองรับท่อพีวซี ี (PVC) ที่มีคุณภำพดี

(2) กรณี เป็ นชั้นดินฐำนรองรับท่อ ดินปกติหรื อธรรมดำ ควรถมทรำยที่ฐำนรอง อย่ำงน้อย


10 เซนติเมตร จำกนั้นจึงปรับทรำยเพื่อทำเป็ นฐำนรองรับท่อพีวซี ี (PVC)

รู ปที่ 3.1.8 กรณี เป็ นชั้นดินฐำนรองรับท่อดินปกติหรื อธรรมดำ


3-8

(3) กรณี เป็ นชั้นดินที่เป็ นหิ นและก้อนกรวด ควรถมทรำยที่ฐำนร่ องให้หนำอย่ำงน้อย


30 เซนติเมตร จำกนั้นจึงปรับทรำยเพื่อทำเป็ นฐำนรองรับท่อพีวซี ี (PVC)

รู ปที่ 3.1.9 กรณี เป็ นชั้นดินฐำนรองรับท่อพีวซี ี (PVC) ดินที่เป็ นหิน และกรวด


3.1.7 มำตรฐำนควำมกว้ำง ควำมลึก ของร่ องดิน และปริ มำณดิน
ที่ใช้สำหรับกำรวำงท่อพีวซี ี (PVC)
(1) กำรวำงท่อพีวซี ี (PVC) ใต้ทำงเท้ำ ในลักษณะนี้ แรงที่กระทำบนท่อพีวีซีแข็ง จะมีผลมำจำก
แรงกระทำของชั้นดิน (Earth Load) เป็ นส่ วนใหญ่ จำกกำรคำนวณพบว่ำควำมลึกที่เหมำะสม ระหว่ำงผิวดิน
กับระดับหลังท่ออยูท่ ี่ 0.90 เมตร

รู ปที่ 3.1.10 กรณี กำรวำงท่อพีวซี ี (PVC) ใต้ทำงเท้ำ ดู ตำรำงที่ 3.1.4


3-9

ตำรำงที่ 3.1.4 ควำมกว้ำง ควำมลึก ของร่ องดิน และปริ มำณดิน สำหรับกำรวำงท่อพีวซี ี (PVC) ใต้ทำงเท้ำ
ควำมหนำชั้น
ควำม ควำมลึกชั้นดิน ปริ มำตรของดินในร่ อง ต่อเมตร
ขนำด ขนำด ทรำย
กว้ำง (เมตร) (ลูกบำศก์เมตร)
ท่อ ท่อ (เมตร)
ของร่ อง
(I.D.) (O.D.) ดิ น ที่ ทรำยที่ ดินเดิม ดินส่ วน
ดิน
มม.(นิ้ว) มม. S1 S2 h H ขุด ใช้กลบ ใช้กลบ ที่เหลือ
(เมตร)
ออก
55(2”) 60 0.30 0.30 0.10 0.90 1.06 0.318 0.135 0.180 0.138
80(3”) 89 0.60 0.30 0.10 1.20 1.39 0.834 0.287 0.540 0.294
100(4”) 114 0.60 0.30 0.10 1.20 1.40 0.846 0.298 0.540 0.306
150(6”) 165 0.70 0.30 0.10 1.20 1.47 1.029 0.374 0.630 0.399
200(8”) 216 0.70 0.30 0.10 1.20 1.52 1.064 0.395 0.630 0.434
250(10”) 267 0.85 0.30 0.10 1.20 1.57 1.335 0.511 0.765 0.570
300(12”) 318 0.90 0.30 0.10 1.20 1.62 1.458 0.567 0.810 0.648
350(14”) 370 0.95 0.30 0.10 1.20 1.67 1.587 0.624 0.855 0.732
400(16”) 420 1.00 0.30 0.10 1.20 1.72 1.720 0.681 0.900 0.820

(2) กำรวำงท่อพีวซี ี (PVC)ใต้ผวิ ถนน


กำรวำงท่ อในลัก ษณะนี้ แรงที่ ก ระท ำบนท่ อพี วีซี (PVC) จะค ำนึ ง แรงกระท ำเคลื่ อ นที่ จำก
ยวดยำนพำหนะที่วิ่งผ่ำน และแรงกระทำของชั้นดิน (Earth Load) ประกอบกัน จำกกำรคำนวณพบว่ำควำม
ลึกที่เหมำะสม ระหว่ำงผิวดินกับระดับหลังท่ออยูท่ ี่ 1.20 เมตร

รู ปที่ 3.1.11 กรณี กำรวำงท่อพีวซี ี (PVC) ใต้ผวิ ถนน ดูตำรำงที่ 3.1.5


ผก.1
การติดตั้งแอร์ วาล์ว(Air Valve)
งานติดตั้งชุดแอร์ วาล์วจะติดตั้งตรงตาแหน่งจุดสู งสุ ดของแนวท่อหรื อจุดปลายของตาแหน่ง
สะพานรับท่อมีวตั ถุประสงค์เพื่อระบายอากาศในเส้นท่อ
การทดสอบความดันนา้ (Pressure Test) ในเส้ นท่อ
ในงานวางท่อ จะประกอบด้วยงานขุดวางท่อ และงานการทดสอบความดันน้ า(Pressure Test)
ในเส้นท่อ และนับว่าเป็ นส่ วนที่สาคัญรองจากงานวางท่อ ซึ่ งขณะวางท่อต้องวางแผนการทดสอบน้ าตาม
จุดที่ขดุ วางท่อตามไปด้วย ไม่ควรปล่อยท่อไว้ ยาว ๆ แล้วจึงทดสอบ เพราะว่ามีปัญหามาก ๆ
การทดสอบความดันในเส้นท่อเป็ นการทดสอบการรั่วซึ มของข้อต่อ ข้องอ อยูใ่ นเกณฑ์ที่
ยอมรับได้หรื อไม่โดยยึดถือปริ มาณการรั่วซึ มสู งสุ ดที่ยอมให้เป็ นเกณฑ์ซ่ ึงได้มาจากการคานวณหรื อกราฟ
ในงานทดสอบความดันน้ าในเส้นท่อปกติตอ้ งเติมน้ าในเส้นท่อไว้ไม่นอ้ ยกว่า 24 ชัว่ โมงแล้ว จึงทาการ
ทดสอบความดันน้ า (Pressure Test) ในเส้นท่อ
แนวทางการเลือกวัสดุท่อส่ งนา้ รับความดัน ดังนี้
(1) ปัจจัยในการเลือกวัสดุท่อส่ งน้ ารับความดันต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับการออกแบบท่อส่ งน้ ารับ
แรงดัน
(2) เลือกวัสดุท่อที่มีการผลิตจาหน่ายตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(3) เลือกท่อที่มีความแข็งแรงรับแรงดันทั้งภายในและภายนอกตามต้องการใช้งาน
(5) เลือกท่อที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับสภาพพื้นที่สภาพภูมิประเทศ และความต้องการ
(6) เลือกท่อที่สามารถวางได้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการ
ก่อสร้าง
(7) เลือกท่อที่มีอายุการใช้งานนานปี
กาหนดขั้นตอนการพิจารณาเลือกใช้ วสั ดุท่อ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การพิจารณาข้อมูลทางเทคนิค
ขั้นตอนที่ 2 การพิจารณาลักษณะการใช้งานและบารุ งรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การพิจารณาการออกแบบและการก่อสร้าง
ขั้นตอนที่ 4 การพิจารณาเปรี ยบเทียบด้านราคา
ผก.2
ตารางที่ ผก.1 ค่ าสั มประสิ ทธิ์ C ของสู ตร Hazen-Williams สาหรับท่อชนิดต่ างๆ
ชนิดของท่อ C
ท่อซี เมนต์ใยหิ น(AC) 140

ท่อทองเหลือง 130-140

ท่อเหล็กหล่อ
ใหม่และไม่ดาด 130
เก่าและไม่ดาด 40-120
ดาดด้วยซี เมนต์ 130-150
ทาด้วยสี น้ ามันดิน 115-135

ท่อคอนกรี ตหรื อดาดคอนกรี ต


หล่อด้วยแบบเหล็ก 140
หล่อด้วยการหมุนด้วยแรงเหวีย่ ง 135

ท่อเหล็กชุบสังกะสี 120
ท่อ PVC ท่อ HDPE ท่อ GRP 140-150

ท่อเหล็กเหนียว
ดาดด้วยสี น้ ามันดิน 140-150
ม้วนต่อด้วยหมุดย้า 110

ท่อดีบุก 130
ผก.3
3-10

ตำรำงที่ 3.1.5 ควำมกว้ำง ควำมลึก ของร่ องดิน และปริ มำณดิน สำหรับกำรวำงท่อพีวซี ี (PVC) ใต้ผวิ ถนน

ควำม ควำมหนำชั้น ควำมลึกชั้นดิน ปริ มำตรของดินในร่ อง ต่อเมตร


ขนำด ขนำด ทรำย (เมตร) (เมตร) (ลูกบำศก์เมตร)
กว้ำง
ท่อ ท่อ
ของร่ อง
(I.D.) (O.D.) ดิ น ที่ ทรำยที่ ดินเดิม ดินส่ วน
ดิน
มม.(นิ้ว) (มม.) S1 S2 h H ขุด ใช้กลบ ใช้กลบ ที่เหลือ
(เมตร)
ออก
55(2”) 60 0.30 0.30 0.10 0.90 1.06 0.318 0.135 0.180 0.138
80(3”) 89 0.60 0.30 0.10 1.20 1.39 0.834 0.287 0.540 0.294
100(4”) 114 0.60 0.30 1.20 1.41 0.846 0.846 0.298 0.540 0.306
150(6”) 165 0.70 0.30 0.10 1.20 1.47 1.029 0.374 0.630 0.399
200(8”) 216 0.70 0.30 0.10 1.20 1.52 1.064 0.395 0.630 0.434
250(10”) 267 0.85 0.30 0.10 1.20 1.57 1.335 0.511 0.765 0.570
300(12”) 318 0.90 0.3 0.10 1.20 1.62 1.458 0.567 0.810 0.648
350(14”) 370 0.95 0.3 0.10 1.20 1.67 1.587 0.624 0.855 0.732
400(16”) 420 1.00 0.3 0.10 1.20 1.72 1.720 0.681 0.900 0.820

3.1.8 กำรกลบร่ องดิน (Back Filling) และกำรทดสอบควำมดันท่อพีวซี ี (PVC)

รู ปที่ 3.1.12 กำรกลบร่ องดิน (Back Filling)

กำรทดสอบท่อและอุปกรณ์ท่อที่ทำจำกวัสดุพีวซี ี (PVC) ต้องผ่ำนกำรทดสอบตำมมำตรฐำนไว้ใน


มำตรฐำน มอก. 17-2532 และ มอก. 1311-2535
(1) หลังจำกติดตั้งวำงท่อแล้ว จะต้องมีกำรทดสอบควำมดันเพื่อตรวจสอบ ตำมจุดต่อของท่อใน
ระบบ หำกมีกำรวำงท่อที่มีควำมยำวมำก ๆ กำรทดสอบควำมดันควรจะกระทำเป็ นช่วง ๆ โดยแต่ละช่วงที่
ทดสอบควรมีควำมยำวไม่เกิน 500 เมตร
ภาคผนวก ข
4
ผข.1

รู ปที่ ผข.1 การวางท่อซีเมนต์ ใยหิน (AC)

รู ปที่ ผข.2 การประกบท่อซีเมนต์ ใยหิน (AC)


ผข.2

รู ปที่ ผข.3 การวางท่อซีเมนต์ ใยหิน (AC) ทีอ่ ยู่ข้างถนน

รู ปที่ ผข.4 การยกประกอบท่อด้ วยแรงคน ท่อซีเมนต์ ใยหิน (AC)


ผข.3

รู ปที่ ผข.5 การยกประกอบท่ อด้ วยเครื่องจักร ท่อซีเมนต์ ใยหิน (AC)

รู ปที่ ผข.6 แท่ นรองรับข้ อต่ อและอุปกรณ์ ท่ อซีเมนต์ ใยหิน (AC)


ผข.4

รู ปที่ ผข.7 การยึดข้ อต่ อต่ างๆ ท่อซีเมนต์ ใยหิน (AC)


ผก-4
Use the equation hv = k v unless otherwise indicated . Energy loss EL equals hv head loss in feet
2

2g

1. Perpendicular square entrance:


k = 0.50 if edge is sharp

2. Perpendicular rounded entrance;


R/d = 0.05 0.1 0.2 0.3 0.4
k = 0.25 0.17 0.08 0.05 0.04

3. Perpendicular reentrant entrance:


k = 0.8

4. Additional loss due to skewed entrance:


k = 0.505 + 0.303 sin α + 0.226 sin 2 α

5. Suction pipe in sump with conical mouthpiece:


EL = D + 5.6Q + v2
2g D1.5 2g

Without mouthpiece:
2
EL = 0.53D + 4Q +v
2g D1.5 2g

Width of sump shown: 3.5 D


6. Strainer bucket:
k = 10 with foot valve
k = 5.5 without foot valve

7. Standard Tee, Entrance to minor line


k = 1.8

รู ปที่ ผก.2 สั มประสิ ทธิ์ของการสู ญเสี ยพลังงานรองในท่อ


ผก-5

8. Confusor:
o
α EL = k(v12 – v22) /2g
α° = 20 40 60 80
k = 0.20 0.28 0.32 0.35
9. Diffusor:
EL = k(v12 – v22)/2g
α° = 6 10 20 40 60 80 100 120 140
o
α k for
D = 3d 0.12 0.16 0.39 0.80 1.0 1.06 1.04 1.04 1.04
D = 1.5d 0.12 0.16 0.39 0.96 1.22 1.16 1.10 1.06 1.04

10. Sharp elbow:


k = 67.6x10-6 (α°)2.17
α

11. Sluice gate in rectangular conduit:


1
k = 0.3 1.9 [( ) - n]2
n
where n = h/H
12. Close return bend:
k = 2.2

13. Gate valve:


e/D = 0 1/4 3/8 1/2 5/8 3/4 7/8
k = 0.15 0.26 0.81 2.06 5.52 17.0 97.8
14. Globe valve
k = 10 when fully open
fully open
15. Rotary valve
α° = 5 10 20 30 40 50 60 70 80
α k = 0.05 0.29 1.56 5.47 17.3 52.6 206 485 ∞

รู ปที่ ผก.3 สั มประสิ ทธิ์ของการสู ญเสี ยพลังงานรองในท่ อ (ต่ อ)


ผก-6

16. Measuring nozzle:


EL = 0.3  p for d = 0.8D
EL = 0.3  p for d = 0.2D
where  p is the measured pressure drop
17. Venturi meter:
EL = 0.1  p to 0.2  p
where  p is the measured pressure drop
18. Measuring orifice, square edged:
d
EL =  p (1 - ( )2)
D
where  p is the measured pressure drop
19. Confusor outlet:
d/D = 0.5 0.6 0.8 0.9
k = 5.5 4 2.55 1.1
20. Exit from pipe into reservoir:
k = 1.0

รู ปที่ ผก.4 สั มประสิ ทธิ์ของการสู ญเสี ยพลังงานรองในท่ อ (ต่ อ)


ผข.5

รู ปที่ ผข.8 การวางท่อ,การขนส่ งและการวางท่ อซีเมนต์ ใยหิน (AC)


ผข.6

รู ปที่ ผข.9 การวางท่อเหล็กเหนียวในสนาม

รู ปที่ ผข.10 การวางท่อพีวซี ี (PVC) ในสนาม


ผข.7

รู ปที่ ผข.11 การติดตั้ง Pressure Reducing Valve Gate Valve Air Valve และMechanical Coupling
ผข.8

Final backfill

primary backfill

Pipe bedding

Trench bottom

รู ปที่ ผข.12 ลักษณะการวางท่อ HDPE ในงานก่อสร้ าง


ผข.9

รู ปที่ ผข.13 ลักษณะส่ วนประกอบท่อและการวางท่อไฟเบอร์ กลาสส์ (GRP)


ผข.10
11
12
5

You might also like