You are on page 1of 27

บทที่ 4

ผลการวิจัยและอภิปรายผล

งานวิจยั นี้ ได้ศึกษาความสามารถในการเป็ นตัวดูดซับของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (ซัง


ข้าวโพด) โดยทาการเปรี ยบเทียบสมบัติทางกายภาพและประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับ ของซังข้าวโพด
ถ่านชาร์ จากซังข้าวโพดและถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด จากนั้นได้ทาการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสม
ในการเตรี ยมถ่ านกัมมันต์จากซังข้าวโพด เพื่ อให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดในการดูดซับสี ย อ้ ม โลหะ
(ทองแดง และเหล็ก) รวมถึงศึกษาปั จจัยต่างๆที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพของการดูดซับของถ่านกัมมันต์
เช่ น ขนาดและปริ มาณของถ่านกัมมันต์ อุณหภูมิ เวลาที่ใช้ในการดูดซับ และ pH ของสาระละลาย
ตัวอย่าง ผลการทดลองแสดงดังต่อไปนี้

4.1 ผลการวิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพของตัวดูดซับ


เมื่ อนาซัง ข้า วโพด ถ่ า นชาร์ แ ละถ่ า นกัม มันต์จ ากซัง ข้า วโพดไปวิเคราะห์ ส มบัติท าง
กายภาพ ได้แก่ พื้นที่ผิว ขนาดรู พรุ นเฉลี่ย ปริ มาตรรู พรุ น พบว่า ถ่านกัมมันต์ที่เตรี ยมได้มีพ้ืนที่ผิว
เพิ่มมากขึ้นกว่าของถ่านชาร์ และซังข้าวโพด ตามลาดับ ผลของอุณหภูมิในการเตรี ยมถ่านกัมมันต์มี
ผลสมบัติทางกายภาพของถ่านกัมมันต์ โดยถ่านกัมมันต์ที่การกระตุน้ ที่อุณหภูมิ 600C จะมีพ้ืนที่
ผิวสู งกว่าการกระตุ น้ ที่ อุณหภูมิ 300C พื้นที่ผิวที่ เพิ่มมากขึ้นนั้นมี ความสัมพันธ์กบั ขนาดรู พรุ น
เฉลี่ ย คือขนาดรู พรุ นเฉลี่ ยขนาดเล็กจะส่ งผลให้พ้ืนที่ผิวมีค่ามาก สัดส่ วนของปริ มาตรรู พรุ นส่ วน
ใหญ่เป็ นแบบขนาดรู พรุ นขนาดเล็ก (ดังแสดงในตาราง4.1) สาหรับลักษณะพื้นผิวของซังข้าวโพด
ถ่านชาร์ และถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดจากภาพถ่าย SEM (รู ป4.1) จะเห็นได้วา่ เมื่อซังข้าวโพด
ผ่านกระบวนการเตรี ยมเป็ นถ่านกัมมันต์แล้วจะเกิ ดรู พรุ นเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับผลที่แสดง
ในตาราง 4.1
29

ตาราง 4.1 ผลการวิเคราะห์พ้ืนที่ผวิ ขนาดรู พรุ นเฉลี่ย และปริ มาตรรู พรุ น


พื้นที่ผวิ ขนาดรู พรุ น ปริ มาตรู พรุ น (cm3/g)
ตัวอย่าง
(m2/g) เฉลี่ย (nm) Micropore Mesopore Total
ซังข้าวโพด 0.0268 60.2577 0.000387 0.026800 0.000404
(96%) (4%)
ถ่านชาร์ (600C 2 hr) 3.8751 2.3226 0.001890 0.000398 0.002250
(84%) (16%)
ถ่านกัมมันต์ (300C 2 hr) 482.6270 2.0274 0.183071( 0.037337 0.244617
75%) (25%)
ถ่านกัมมันต์ (600C 2 hr) 579.0815 1.9703 0.230179 0.030477 0.285234
(81%) (19%)

(ก) ซังข้าวโพด (ข) ถ่านชาร์ (600C, 2 hr)

(ค) ถ่านกัมมันต์ (300C, 2 hr) (ง) ถ่านกัมมันต์ (600C, 2 hr)

รู ป 4.1 ลักษณะพื้นผิวของซังข้าวโพด ถ่านชาร์ และถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดจากภาพถ่าย SEM


30

4.2 ประสิ ทธิภาพการดูดซับสารละลายสี ย้อมสั งเคราะห์ ของตัวดูดซับ


4.2.1 ผลของปริ มาณตัวดูดซับที่ใช้ในการดูดซับ
เมื่อนาซังข้าวโพด ถ่านชาร์ และถ่ านกัมมันต์จากซังข้าวโพด ไปทดสอบประสิ ทธิ ภาพใน
การดูดซับสารละลายสี ยอ้ มสังเคราะห์ ที่มีความเข้มข้นเริ่ มต้น 202 mg/L ที่อุณหภูมิ 30C เวลาใน
การดูดซับ 30 นาที โดยหาความเข้มข้นของสารละลายสี ยอ้ มสังเคราะห์ก่อนและหลังการดูดซับด้วย
วิธีเทียบกราฟมาตรฐานของค่าการดูดกลื นแสงที่ความยาวคลื่ น 545 nm ด้วยเครื่ องอัลตราไวโอเลต
และวิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ผลการทดลองแสดงในตาราง 4.2 - 4.4 พบว่าตัวดูดซับทั้ง 3 ชนิ ด
สามารถดูดซับสี ยอ้ มได้และมีร้อยละการดูดซับเพิ่มขึ้นตามปริ มาณของตัวดูดซับที่เพิ่มขึ้น สาหรับ
ซังข้าวโพดมีค่าร้ อยละของการดูดซับสี ยอ้ มได้ร้อยละ 42-56 เมื่อใช้ปริ มาณ 1-5 กรัม ซึ่ งแนวโน้ม
ของการดูดซับไม่สัมพันธ์กบั ปริ มาณของซังข้าวโพดทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากซังข้าวโพดมีน้ าหนักเบา
จึงลอยอยูเ่ หนือสารตัวอย่าง ความสามารถในการดูดซับจึงขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณของซังข้าวโพดที่อยูใ่ น
สารตัวอย่าง สาหรับถ่านชาร์ 2.5 กรัม สามารถดูดซับสี ยอ้ มมากที่สุดร้ อยละ 64 และถ่านกัมมันต์
1.0 กรัม สามารถดูดซับสี ยอ้ มมากที่สุดร้อยละ 77 แต่ท้ งั นี้แนวโน้มของการดูดซับจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อ
เพิ่มปริ มาณของตัวดูดซับมากขึ้น และเมื่อเปรี ยบเทียบชนิ ดของตัวดูดซับ เมื่อใช้ปริ มาณในการดูด
ซับเท่ากัน (1.0 กรัม) พบว่า ซังข้าวโพด ถ่านชาร์ และถ่านกัมมันต์ มีร้อยละการดูดซับ เท่ากับ 48,
52 และ 77ตามลาดับ ดังนั้นถ่านกัมมันต์มีประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับสี ยอ้ มมากที่สุด

ตาราง 4.2 ผลการทดสอบประสิ ทธิภาพการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มด้วยซังข้าวโพด


น้ าหนัก pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (mg/L) ร้อยละของการ
(g) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
1.0 7.14 106 48
2.0 7.28 95 53
3.0 6.41 7.45 202 117 42
4.0 7.53 89 56
5.0 7.64 106 48
31

ตาราง 4.3 ผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มด้วยถ่านชาร์ จากซังข้าวโพด


น้ าหนัก pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (mg/L) ร้อยละของการ
(g) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
0.5 7.42 120 41
1.0 7.48 98 51
1.5 6.41 7.56 202 87 57
2.0 7.72 81 60
2.5 7.96 73 64

ตาราง 4.4 ผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มด้วยถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด


น้ าหนัก pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (mg/L) ร้อยละของการ
(g) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
0.10 6.39 70 65
0.25 6.49 69 66
0.50 6.41 6.42 202 58 71
0.75 6.45 51 75
1.00 6.48 46 77
32

100
90
80
70
ร้ อยละของการดูดซับ

60
50 ซังข้าวโพด
40 ถ่านชาร์
30
20 ถ่านกัมมันต์
10
0
0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00
นา้ หนักของตัวดูดซับ (กรัม)

รู ป 4.2 ร้อยละของการดูดซับซับสี ยอ้ มสังเคราะห์ เมื่อใช้ซงั ข้าวโพด ถ่านชาร์ และ ถ่านกัมมันต์จาก


ซังข้าวโพดในปริ มาณต่างๆกัน

4.2.2 ผลของเวลาที่ใช้ในการดูดซับ
เมื่ อนาซังข้าวโพด 5.0 กรั ม ถ่ านชาร์ 2.5 กรั ม และถ่ านกัมมันต์ 1.0 กรั ม ไปทดสอบ
ประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มสังเคราะห์มีความเข้มข้นเริ่ มต้น 202 mg/L ที่อุณหภูมิ
30C เวลาในการดูดซับ 5-60 นาที โดยหาความเข้มข้นของสารละลายสี ยอ้ มสังเคราะห์ ด้วยเครื่ อง
อัลตราไวโอเลตและวิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ผลการทดลองแสดงในตาราง 4.5 – 4.7 พบว่าตัว
ดูดซับทั้ง 3 ชนิ ด สามารถดูดซับสี ยอ้ มได้และมี ร้อยละการดูดซับเพิ่มขึ้นตามเวลาในการดูดซับที่
เพิ่มขึ้น โดยที่เวลาในการดูดซับ 60 นาที นั้น ซังข้าวโพด ถ่านชาร์ และถ่านกัมมันต์ สามารถดูดซับ
สี ยอ้ มได้ 69, 71 และ81% ตามลาดับ แต่อย่างไรก็ตาม ผลร้อยละการดูดซับของตัวดูดซับทั้ง 3 ชนิ ด
ที่เวลาในการดูดซับ 30 นาที ต่างจากเมื่อใช้เวลาในการดูดซับ 60 นาที ไม่มากนัก
33

ตาราง 4.5 ผลการทดสอบประสิ ทธิภาพการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มด้วยซังข้าวโพด


เวลา pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (mg/L) ร้อยละของการ
(นาที) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
5 5.31 95 53
10 5.40 90 55
20 6.41 5.61 202 72 64
30 5.85 70 65
60 6.12 62 69

ตาราง 4.6 ผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มด้วยถ่านชาร์ จากซังข้าวโพด


เวลา pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (mg/L) ร้อยละของการ
(นาที) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
5 7.80 84 58
10 7.87 78 61
20 6.41 7.97 202 72 65
30 8.03 63 69
60 8.18 59 71

ตาราง 4.7 ผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดูดซับสารละลายสี ยอ้ มด้วยถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด


เวลา pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (mg/L) ร้อยละของการ
(นาที) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
5 6.61 56 72
10 6.28 48 76
20 6.41 6.30 202 44 78
30 6.50 41 80
60 6.68 39 81
34

100
90
80
70
ร้ อยละของการดูดซับ

60
50 ซังข้าวโพด
40 ถ่านชาร์
30
20 ถ่านกัมมันต์
10
0
0 20 40 60 80
เวลาในการดูดซับ (นาที)

รู ป 4.3 ร้อยละของการดูดซับซับสี ยอ้ มสังเคราะห์ของ ซังข้าวโพด (5.0 กรัม) ถ่านชาร์ (2.5 กรัม)
และ ถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด (1.0 กรัม) เมื่อใช้เวลาในการดูดซับต่างๆกัน

จากผลการทดลองเบื้ อ งต้น เห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจนว่ า ถ่ า นกัม มัน ต์ จ ากซั ง ข้า วโพดมี
ประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับสี ยอ้ มสังเคราะห์ได้ดีมากเมื่อเทียบกับซังข้าวโพด และถ่านชาร์ จากซัง
ข้าวโพด ในการวิจยั นี้ จึงได้ทาการหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรี ยมถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด
เพื่อใช้เป็ นตัวดูดซับสี ยอ้ มธรรมชาติและโลหะหนักต่อไป

4.3 สภาวะทีเ่ หมาะสมของการเตรียมถ่ านกัมมันต์


สภาวะต่างๆที่ใช้ในการเตรี ยมถ่านกัมมันต์ เช่ น การแช่สารกระตุน้ อุณหภูมิและเวลาในการ
เผา ขนาดของวัสดุ ก่อนทาการเผา ล้วนแล้วแต่มีผลต่อคุ ณสมบัติทางกายภาพของถ่ านกัมมันต์ ซึ่ งจะ
ส่ งผลถึงประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับของถ่านกัมมันต์ที่เตรี ยมขึ้นด้วย ดังนั้นในการทดลองต่อไปนี้ จึงได้
ทาการศึกษาถึงปั จจัยต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมา โดยพิจารณาจากร้อยละของผลิตภัณฑ์และประสิ ทธิ ภาพใน
การดูดซับสารละลายทองแดง
35

ตาราง 4.8 ร้ อยละของผลิ ตภัณฑ์ และประสิ ทธิ ภาพในการดู ดซับทองแดงของถ่ านกัมมันต์จากซัง


ข้าวโพดที่เตรี ยมในสภาวะที่แตกต่างกัน
การทดลอง การกระตุน้ อุณหภูมิใน เวลาใน ร้อยละของ ร้อยละของ
ที่ การเผา (C) การเผา (ชม.) ผลิตภัณฑ์ (%) การดูดซับ (%)
1 ไม่กระตุน้ 300 2 49 -
2 5 %w/v ZnCl2 300 2 40 51
3 ไม่กระตุน้ 600 2 28 64
4 5 %w/v ZnCl2 600 2 24 90

จากค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์ของการเตรี ยมถ่านกัมมันต์ที่สภาวะแตกต่างกันจะเห็นได้วา่
ถ่านกัมมันต์ที่ได้จากการเผาที่อุณหภูมิสูงจะมีร้อยละของผลิ ตภัณฑ์น้อยกว่าการเผาที่อุณหภูมิต่ า
นอกจากนี้การกระตุน้ ด้วย 5 %w/v ZnCl2 จะส่ งผลให้มีร้อยละของผลิตภัณฑ์มากกว่าการไม่กระตุน้
ด้วยสารเคมีก่อนทาการเผา
ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดู ดซับสารละลายทองแดงของถ่ านหรื อถ่ านกัมมันต์
ดาเนินการโดย นาถ่านหรื อถ่านกัมมันต์ ที่ได้อย่างละ 2.5 กรัม ใส่ ในสารละลายทองแดงความเข้มข้น
5 ppm จานวน 25 mL ด้วยเวลาในการดูดซับ 30 นาที จากนั้นนาสารละลายที่ผา่ นการดูดซับไปวัดค่า
การดูดกลื นแสงที่ความยาวคลื่ น 324.84 nm ด้วยเครื่ อง FAAS แล้วหาปริ มาณทองแดงที่ มีอยู่ใน
สารละลายด้วยวิธีเทียบกราฟมาตรฐาน
เมื่อเปรี ยบเทียบผลของการกระตุน้ ด้วย สารละลาย 5 %w/v ZnCl2 และการไม่กระตุน้ เมื่อ
ทาการเผาที่สภาวะเดียวกันคือ อุณหภูมิ 600 C เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง ผลการทดลองแสดงให้เห็ นอย่าง
ชัดเจนว่า ถ่านกัมมันต์ที่ผา่ นการกระตุน้ ด้วยสารละลาย 5 %w/v ZnCl2 มีประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับ
ทองแดงสู งกว่าถ่านที่ไม่ผา่ นการกระตุน้ โดยมีค่าร้อยละของการดูดซับเป็ น 90 และ 64 ตามลาดับและ
เมื่อพิจารณาผลของอุณหภูมิที่ใช้ในการเผาถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการกระตุน้ ด้วย 5 %w/v ZnCl2 พบว่า
ถ่านกัมมันต์ที่ได้จากการเผาที่อุณหภูมิสูงจะมีประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับทองแดงได้ดีกว่าถ่านกัม
มันต์ที่เผาที่อุณหภูมิต่า ทั้งนี้ ขอ้ มูลที่ได้สอดคล้องกับสมบัติทางกายภาพของถ่านกัมมันต์ กล่าวคือ
ถ่านกัมมันต์ที่เผาที่อุณหภูมิ 600C จะมีพ้นื ที่ผวิ สู งกว่าการเผาที่อุณหภูมิ 300C โดยมีค่าร้อยละของ
การดูดซับเป็ น 90 และ 51 ตามลาดับ ทั้งนี้ พ้ืนที่ผิวที่มีปริ มาณมากส่ งผลให้ความสามารถในการดูด
ซับเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นการกระตุน้ ด้วย 5 %w/v ZnCl2 อุณหภูมิในการเผา 600 OC เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง จึง
เป็ นสภาวะที่เหมาะสมในการเตรี ยมถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด ซึ่ งจะใช้สภาวะนี้ ในการเตรี ยม
36

ถ่านกัมมันต์เพื่อใช้ในการศึกษาปั จจัยต่างๆที่ มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพในการดู ดซับสี ยอ้ มธรรมชาติ


และโลหะในน้ าตัวอย่างต่อไป

4.4 การวิเคราะห์ หาปริมาณสี ย้อมธรรมชาติ ด้ วย เทคนิค UV-Visible spectrophotometry


4.4.1 สเปกตรัมของสี ย้อม
ได้ทาการศึกษาการดูดกลืนแสงของสารละลายสี ยอ้ มธรรมชาติ (ไม้ฝาง) เพื่อหาช่ วงความ
ยาวคลื่ นที่สารที่มีอยู่ในสี ยอ้ มสามารถดู ดกลื นแสงได้ และระดับความเข้มของค่าการดูดกลื นแสงที่
ความยาวคลื่ นนั้นๆ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลสาหรั บการวิเคราะห์ เชิ งปริ มาณต่อไป รู ป 4.4 แสดงแถบการ
ดูดกลืนแสง (Absorption spectrum) ของสารละลายสี ยอ้ มเจือจางที่ความเข้มข้นต่างๆ ในช่วง ความยาว
คลื่น 200-800 nm

ไม่เจือจาง
เจือจาง 2 เท่า
เจือจาง 3 เท่า
เจือจาง 4 เท่า
Dilution เจื อจาง
2 เท่ า 5 เท่า
เจือจาง 10 เท่า
เจือจาง 15 เท่า
เจือจาง 20 เท่า
เจือจาง 25 เท่า

รู ป 4.4 ลักษณะแถบการดูดกลืนแสงสารละลายสี ยอ้ มธรรมชาติเจือจางต่างๆกัน

จากรู ปที่ 4.4 สารละลายสี ยอ้ มจะมีการดูดกลืนแสงอยู่ 2 ช่วง ในช่วง UV จะมีความยาวคลื่นที่มี


การดูดกลืนแสงสู งสุ ด (max) 284 nm ซึ่ งจะสามารถสังเกตเห็นได้ในสารละลายที่มีความเข้มข้นต่าๆ
หรื อมีการเจือจางสารละลาย 15-25 เท่า ในขณะที่ในช่ วง Visible จะปรากฏเป็ นลักษณะของไหล่พีก
37

ในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 400 - 600 nm โดยจะสังเกตเห็นที่ความเข้มข้นสู งๆ คือสารละลายสี


ย้อมเข้มข้นหรื อสารละลายเจือจาง 2-5 เท่าเท่านั้น ข้อมูลแสดง ดังตาราง 4.9

ตาราง 4.9 ผลการบันทึกค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายสี ยอ้ มธรรมชาติ

การเจือจาง ค่าการดูดกลืนแสง
λ max (nm)
(เท่า) (Abs)
No Dilution 1.1559
2 0.5780
3 420 0.3789
4 0.2894
5 0.2234
10 0.8271
15 284 0.4894
20 0.4874
25 0.2980

4.4.2 ผลของ pH ของสารละลายสี ย้อมทีม่ ีต่อสเปกตรัม


จากการสังเกตขณะทาการทดลองพบว่าสี ของสารละลายสี ยอ้ ม จะมีความเข้มและเฉดสี ที่
เปลี่ยนแปลงไป เมื่อ pH ของสารละลายเปลี่ยนไป จึงได้ศึกษาผลของ pH ที่มีผลต่อการดูดกลืนแสง
ของสารละลายสี ยอ้ ม โดยทาการเจือจางสารละลายสี ยอ้ ม 3.3 เท่า จากนั้นนาสารละลายสี ยอ้ มปรับค่า
pH ที่ 6, 7, 8, 9, 10 และ 11 ตามลาดับ นาสารละลายที่เตรี ยมได้น้ ี ไปบันทึกสเปกตรัมตั้งแต่ความยาว
คลื่น 300 ถึง 600 nm ด้วยเครื่ อง UV-Visible spectrophotometer ได้ผลดังตาราง 4.10
38

ตาราง 4.10 ผลการดูดกลืนแสงของสารละลายสี ยอ้ มใน pH ต่างๆ

ค่าการดูดกลืนแสง
pH λ max (nm)
(Abs)
6 547.0 0.4503
7 547.0 0.6843
8 544.0 0.8236
9 542.5 0.7279
10 541.5 0.5548
11 540.0 0.3360

0.900
0.800
0.700
0.600
ร้ อยละของการดูดซับ

0.500
0.400
0.300
0.200
0.100
0.000
6 7 8 9 10 11
pH ของสารละลายตัวอย่าง

รู ป 4.5 ค่าการดูดกลืนแสง ของสารละลายสี ยอ้ มธรรมชาติที่ pH ต่างๆ


39

548

546

544
ร้ อยละของการดูดซับ

542

540

538

536
6 7 8 9 10 11
pH ของสารละลายตัวอย่าง

รู ป 4.6 ค่าความยาวคลื่นที่ดูดกลืนแสงสู งสุ ด (λmax) ของสารละลายสี ยอ้ มที่ pH ต่างๆ

จากรู ป 4.5 สารละลายสี ยอ้ มที่ pH ต่างๆ สังเกตได้วา่ เมื่อค่า pH ของสารละลายสี ยอ้ มเพิ่มขึ้น
จาก pH 6 – pH 8 ค่าการดูดกลืนแสงจะเพิ่มสู งมากขึ้น เกิดจาก ผลของ ไฮเปอร์ โครมิก (Hyperchromic
effect) แต่เมื่อค่า pH ของสารละลายสี ยอ้ มเพิ่มขึ้น จาก pH 8 – pH 11 จะมีผลทาให้ค่าการดูดกลืนแสง
ลดลง โดยจะเรี ยกว่าผลของ ไฮโปโครมิก (Hypochromic effect)
จากรู ป 4.6 พบว่าสารละลายสี ยอ้ มที่ pH 7 มีค่าความยาวคลื่นมากที่สุดแต่เมื่อ ค่า pH ของ
สารละลายสี ยอ้ มเพิ่มขึ้น เรี ยกว่า ผลของแบโทโครมิก (Bathochromic effect) หรื อ เรดชีฟท์ (Rad shift)
แต่เมื่อ pH ของสารละลายสี ยอ้ มเพิ่มขึ้นที่ pH 8-11 ความยาวคลื่ นของสี ยอ้ มลดลง เรี ยกว่า ผลของไฮ
โปโครมิก (Hypochromic effect) หรื อ บลูชีฟท์ (Blue shift)
จากการศึกษาค่า pH ของสารละลายสี ยอ้ มพบว่ามีผลต่อสเปกตรัมลักษณะของการดูดกลืน
แสง ของสารละลายสี ย อ้ มเป็ นอย่างมาก ดังนั้น ในการวิเคราะห์ หาปริ มาณสี ยอ้ มด้วยเครื่ อง UV-
Visible spectrophotometer ในแต่ละครั้งจึงต้องปรับ pH ของสารละลายให้คงที่ค่าหนึ่ งเสมอ ก่อนที่จะ
นาสารละลายไปวัดค่าการดูดกลื นแสง ทั้งนี้ ได้เลือกปรับ pH ของสารละลายสี ยอ้ มให้มีค่าเท่ากับ 7
แล้วทาการวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 547.0 nm
40

4.4.3 กราฟมาตรฐานสารละลายสี ย้อมธรรมชาติ


ได้สร้ างกราฟมาตรฐานของสารละลายสี ย อ้ มจากการวิเคราะห์ ด้วยเครื่ อง UV-Visible
spectrophotometer โดยทาการเตรี ยมสารละลายเข้มข้นร้อยละ 10, 15, 20, 30 และ 40 โดยปริ มาตร
ตามลาดับ จากนั้นปรับสารละลายสี ยอ้ มเป็ น pH 7 แล้วนาไปวัดค่าการดูดกลื นแสงที่ 547.0 nm รู ป
4.7 แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างค่าการดู ดกลื นแสงกับความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานสี ยอ้ ม
ดังนี้

1.200

1.000

0.800
ค่ าการดูดกลืนแสง

0.600

0.400 y = 0.0267x - 0.066


0.200 R² = 0.9991

0.000
0 10 20 30 40 50
ความเข้ มข้ นของสารละลายสี ย้อม (% v/v)

รู ป 4.7 กราฟมาตรฐานของสารละลายสี ยอ้ ม จากการวิเคราะห์ดว้ ยเครื่ อง UV-Vis spectrophotometer

จากรู ป 4.7 พบว่ากราฟมาตรฐานของสารละลายสี ยอ้ ม มีความสัมพันธ์เป็ นเส้นตรง R-squared มี


ค่า เท่ากับ 0.9993 และมีความไวในการวิเคราะห์ เท่ากับ 0.0261 นอกจากนี้ ค่าการดูดกลื นแสงของ
สารละลายมาตรฐานสี ยอ้ มในช่ วงความเข้มข้น 10-40 มีช่วงของค่าการดูดกลื นแสง ที่ยอมรับได้ ซึ่ ง
จะนากราฟมาตรฐานสารละลายที่ได้ นาไปใช้ในการวิเคราะห์หาปริ มาณตัวอย่างสี ยอ้ มต่อไป
41

4.5 ปัจจัยต่ างๆทีม่ ีผลต่ อประสิ ทธิภาพในการดูดซับสี ย้อมธรรมชาติของถ่ านกัมมันต์


ถ่ า นกัมมันต์ ที่ ไ ด้จากการเตรี ยมที่ ส ภาวะเหมาะสมที่ สุ ด จากข้อ 4.3 ได้ถู ก น ามาใช้ใ น
การศึกษาประสิ ทธิภาพในการดูดซับสี ยอ้ มธรรมชาติ(ไม้ฝาง) โดยจะทาการศึกษาถึงปั จจัยต่างๆ ที่มีผล
ต่อการดูดซับเช่น ปริ มาณของถ่านกัมมันต์ เวลาในการดูดซับ และ pH ของสารละลาย
ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดูดซับสี ยอ้ มธรรมชาติ ของถ่านกัมมันต์ ดาเนิ นการโดย นา
ถ่านกัมมันต์ ใส่ ในสารละลายสี ยอ้ มธรรมชาติ ที่เจือจาง 3.3 เท่า สารละลายสี ยอ้ มหลังการดูดซับจะ
นามาปรับ pH ให้มีค่าเท่ากับ 7 ก่อนนาไปวัดค่าการดูดกลื นแสง ที่ความยาวคลื่ น 547 nm ด้วยเครื่ อง
UV-Visible spectrophotometer เพื่อหาปริ มาณความเข้มข้นของสี ยอ้ ม ด้วยวิธีเทียบกราฟมาตรฐาน ได้
ทาการศึกษาถึงผลของปั จจัยต่างๆที่มีต่อประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับดังต่อไปนี้

4.5.1 ผลของปริมาณถ่ านกัมมันต์ และเวลาในการดูดซับสี ย้อม


ในการทดลองนี้ ได้ศึกษาผลของน้ าหนักถ่านกัมมันต์และเวลาในการดูดซับสี ยอ้ ม ที่มีต่อ
ประสิ ทธิ ภาพการดูดซับ โดยเปรี ยบเทียบการใช้ ถ่านกัมมันต์น้ าหนัก 5 และ 10 กรัม และเวลาใน
การดูดซับ 5-180 นาที ผลการทดลองแสดงดัง ตาราง 4.11
จากข้อมูลในตาราง 4.11 และ รู ป 4.8 แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปริ มาณของถ่านกัมมันต์มี
ผลต่อประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับสี ยอ้ ม โดยถ่านกัมมันต์ 10 กรัม จะสามารถดูดซับสี ยอ้ มได้เร็ วกว่า
ถ่านกัมมันต์ 5 กรัม เมื่อใช้เวลาในการดูดซับเท่ากัน ที่เวลาในการดูดซับ 30 นาที พบความแตกต่างของ
ประสิ ทธิ ภาพในการดู ดซับมากที่ สุด โดยค่าร้ อยละของการดู ดซับสี ยอ้ มเป็ น 77 และ 35 ตามลาดับ
นอกจากนี้ ยงั พบว่า เมื่อใช้ถ่านกัมมันต์ 10 กรัม จะสามารถดูดซับสี ยอ้ มได้อย่างรวดเร็ วในช่วง 5 -30
นาทีแรก หลังจากนั้นความสามารถในการดูดซับจะเริ่ มลดลงและเข้าสู่ สมดุล ในช่ วงเวลาประมาณ 60
นาที ในขณะที่ การใช้ถ่ านกัมมันต์ 5 กรั ม การดู ดซับจะเป็ นไปอย่างช้าๆ และเริ่ มเข้าสู่ สมดุ ลใน
ช่วงเวลาประมาณ 120 นาที
42

ตาราง 4.11 ร้อยละของการดูดซับสี ยอ้ มธรรมชาติ ที่ใช้ปริ มาณของถ่านกัมมันต์และเวลาในการ


ดูดซับแตกต่างกัน

น้ าหนักของ เวลาใน pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (% v/v) ร้อยละ


ถ่านกัมมันต์ การดูดซับ ของการ
ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ
(g) (นาที) ดูดซับ (%)
10 5.3 59 32
20 6.0 56 36
5 30 6.0 42 40
3.8 87
60 6.1 50 43
120 6.2 25 71
180 6.2 20 77
10 6.4 51 41
20 6.4 33 62
10 30 6.4 20 77
3.8 87
60 6.4 18 79
120 6.4 10 89
180 6.4 8 91
43

100
90
80
70
ร้ อยละของการดูดซับ

60
50 ถ่านกัมมันต์
5 กรัม
40
ถ่านกัมมันต์
30
10 กรัม
20
10
0
0 50 100 150 200
เวลาในการดูดซับ (นาที)

รู ป 4.8 ร้อยละของการดูดซับซับสี ยอ้ มธรรมชาติของ ถ่านกัมมันต์ ปริ มาณ 5 กรัม และ 10 กรัม เมื่อ
ใช้เวลาในการดูดซับต่างๆกัน

4.5.2 ผลของ pH ของสารละลายสี ย้อม


ในการทดลองนี้ ได้ศึกษาผลของ pH ของสารละลายสี ยอ้ มที่มีต่อประสิ ทธิ ภาพของการ
ดูดซับ โดยนาสารละลายสี ยอ้ มเจือจาง 3.3 เท่า มาปรับค่า pH เป็ น 4, 7 และ 10 ก่อนที่จะนาไป
ทดสอบการดูดซับด้วยถ่ านกัมมันต์ 10 กรัม เวลาในการดูดซับ 120 นาที ผลการทดลองแสดงดัง
ตาราง 4.12
44

ตาราง 4.12 ร้อยละของการดูดซับสี ยอ้ มธรรมชาติ เมื่อ pH ของสารละลายแตกต่างกัน

pH ของสารละลาย ความเข้มข้น (% v/v) ร้อยละของ


pH สารละลาย
การดูดซับ
สี ย้อม ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ
(%)
4 4.03 ± 0.01 6.59 ± 0.15 90 ± 0 29 ± 1 67 ± 2
7 7.07 ± 0.01 6.51 ± 0.03 92 ± 0 23 ± 1 74 ± 1
10 10.03 ± 0.02 6.78 ± 0.08 93 ± 0 17 ± 1 81 ± 1

จากตาราง 4.12 พบว่า pH ของสารละลายสี ยอ้ มมีผลต่อประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับสี ยอ้ ม


ของถ่ านกัมมันต์ โดยการดู ดซับจะเกิ ดขึ้ นได้ดีในสภาวะที่เป็ นเบส โดยทัว่ ไปพื้นผิวของถ่ านกัม
มันต์มีสภาพเป็ นกลาง ดังนั้นที่ สภาวะเบสพื้นผิวของถ่านกัมมันต์จึงมีประจุเป็ นลบ และโมเลกุล
ของสี ยอ้ มธรรมชาติมีประจุเป็ นลบ ด้วยเหตุน้ ี ทาให้พฤติกรรมการดูดซับของสี ยอ้ มธรรมชาติบน
ถ่านกัมมันต์จึงไม่ได้เป็ นแบบการยึดเหนี่ ยวกันด้วยแรงไอออนิ ก แต่ถ่านกัมมันต์สามารถดูดสี ยอ้ ม
ธรรมชาติได้ เนื่ องจากโมเลกุลของสี ยอ้ มเคลื่อนที่เข้าไปถูกดูดซับไว้ในรู พรุ นในโครงสร้ างของ
ถ่านกัมมันต์

4.6 การวิเคราะห์ หาปริมาณโลหะ ด้ วย เทคนิค FAAS


4.6.1 กราฟมาตรฐานของทองแดง
ได้สร้ างกราฟมาตรฐานทองแดง จากการวิเคราะห์ ด้วยเทคนิ ค FAAS โดยท าการเตรี ยม
สารละลายที่มีความเข้มข้น 1, 2, 3, 4 และ 5 ppm ตามลาดับ แล้วนาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความ
ยาวคลื่ น 324.84 nm รู ป 4.9 แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างค่าการดู ดกลื นแสงกับความเข้มข้นของ
สารละลายมาตรฐานทองแดง
45

0.700
0.600
0.500
ค่ าการดูดกลืนแสง

0.400
0.300
y = 0.1145x + 0.0562
0.200
R² = 0.9971
0.100
0.000
0 1 2 3 4 5 6
ความเข้ มข้ นของสารละลายทองแดง (mg/L)

รู ป 4.9 กราฟมาตรฐานของทองแดงจากการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค FAAS

จากรู ป 4.9 พบว่ากราฟมาตรฐานทองแดง มี ความสัมพันธ์ เป็ นเส้ นตรง ค่า R-squared มีค่า
เท่ากับ 0.9996 และความไวต่อการวิเคราะห์ โดยพิ จารณาความชันของกราฟมาตรฐาน มี ค่าเท่ากับ
0.1115 นอกจากนี้ ค่าการดู ดกลื นแสงของสารละลายมาตรฐานทองแดงในช่ วง 1-5 ppm มี ค่าการ
ดูดกลื นแสงอยู่ในช่ วงที่ ยอมรั บได้ นากราฟมาตรฐานที่ไ ด้ นาไปใช้ในการวิเคราะห์หาปริ มาณ
ทองแดงในตัวอย่างต่อไป

4.6.2 กราฟมาตรฐานของเหล็ก
ได้สร้ างกราฟมาตรฐานเหล็ก จากการวิเคราะห์ ด้วยเทคนิ ค FAAS โดยท าการเตรี ยม
สารละลายที่มีความเข้มข้น 1, 2, 4, 6 และ 8 ppm ตามลาดับ แล้วนาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความ
ยาวคลื่น 248.38 nm ดังรู ปที่ 4.10 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสงกับความเข้มข้นของ
สารละลายมาตรฐานเหล็ก
46

0.400
0.350
0.300
0.250
ค่ าการดูดกลืนแสง

0.200
0.150
y = 0.046x + 0.0091
0.100 R² = 0.9991
0.050
0.000
0 2 4 6 8 10
ความเข้ มข้ นของสารละลายเหล็ก (mg/L)

รู ป 4.10 กราฟมาตรฐานของเหล็กจากการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค FAAS

จากรู ป 4.10 พบว่ากราฟมาตรฐานเหล็ก มี ความสั มพันธ์ เป็ นเส้ นตรง ค่า R-squared มี ค่ า
เท่ากับ 0.9991 และมีความไวในการวิเคราะห์ โดยพิจารณาความชันของกราฟมาตรฐาน มี ค่าเท่ากับ
0.046 นอกจากนี้ ค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายมาตรฐานเหล็กในช่วง 1-8 ppm มีค่าการดูดกลืน
แสงอยู่ในช่ วง ที่ ยอมรั บได้ นากราฟมาตรฐานที่ ได้ นาไปใช้ในการวิเคราะห์ หาปริ มาณเหล็กใน
ตัวอย่างต่อไป

4.7 ปัจจัยต่ างๆทีม่ ีผลต่ อประสิ ทธิภาพในการดูดซับโลหะของถ่ านกัมมันต์


ถ่ านกัมมันต์ที่ ได้จากการเตรี ยมที่ สภาวะเหมาะสมที่ สุ ด จากข้อ 4.3 ได้ถู กน ามาใช้ใน
การศึ กษาประสิ ทธิ ภาพในการดู ดซับโลหะทองแดงและ/หรื อเหล็ กที่ มี อยู่ในน้ าตัวอย่าง โดยจะ
ทาการศึกษาถึงปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการดูดซับเช่ น ขนาดและปริ มาณของถ่านกัมมันต์ อุณหภูมิ และ
เวลาในการดูดซับ
ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพการดูดซับสารละลายโลหะของถ่านกัมมันต์ ดาเนิ นการโดย
นาถ่านกัมมันต์ ใส่ ในสารละลายทองแดงความเข้มข้น 5 ppm หรื อ สารละลายเหล็ก ความเข้มข้น 10
47

ppm จานวน 25 mL ด้วยเวลาในการดูดซับต่างๆ กัน จากนั้นนาสารละลายที่ผ่านการดูดซับไปวัดค่า


การดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 324.84 nm และ 284.38 nm ด้วยเครื่ อง FAAS เพื่อหาปริ มาณทองแดง
และเหล็ก ที่มีอยูใ่ นสารละลายตามลาดับด้วยวิธีเทียบกราฟมาตรฐาน

4.7.1 ผลของขนาดของถ่ านกัมมันต์


ในการทดลองนี้ได้ ศึกษาขนาดของถ่านกัมมันต์หลังจากเตรี ยมด้วยสภาวะที่เหมาะสมแล้ว
โดยเลือกศึกษา 2 ขนาดคือ 4 mm (5 mesh) และ 1 mm (18 mesh) ผลการทดลองแสดงดัง ตาราง 4.13

ตาราง 4.13 ร้อยละของการดูดซับ สารละลายทองแดง เมื่อขนาดของถ่านกัมมันต์และเวลาที่ใช้ใน


การดูดซับต่างกัน
ขนาดของ ความเข้มข้น (mg/L)
เวลาในการ ร้อยละของการ
ถ่านกัมมันต์
ดูดซับ (นาที) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ ดูดซับ (%)
(มิลลิเมตร)
5 1.07 79
10 0.97 81
1 15 4.98 0.96 81
20 0.50 90
30 0.47 91
60 0.25 95
5 2.21 56
10 2.17 56
4 15 1.75 65
4.98
20 1.49 70
30 1.33 73
60 1.32 73
48

100
90
80
70
ร้ อยละของการดูดซับ

60
50
40 4 mm
30 1 mm
20
10
0
0 10 20 30 40 50 60 70
เวลาในการดูดซับ (นาที)

รู ป 4.11 ร้อยละของการดูดซับซับทองแดง ของถ่านกัมมันต์ ขนาด 4 มิลลิเมตร และ 1 มิลลิเมตร


เมื่อใช้เวลาในการดูดซับต่างๆกัน

จากข้อมู ลในตาราง 4.13 และ รู ป 4.11 แสดงให้ เห็ นว่าขนาดของถ่ า นกัมมันต์มี ผ ลต่ อ
ประสิ ทธิ ภาพในการดูดซับสี ยอ้ ม โดยถ่านกัมมันต์ที่มีขนาดเล็ก (1 mm) จะสามารถดูดซับทองแดง ได้
มากกว่าถ่านกัมมันต์ที่มีขนาดใหญ่ ( 4 mm) เมื่อใช้เวลาในการดูดซับเท่ากัน เนื่ องจากเมื่อเทียบถ่านกัม
มันต์ขนาดเล็ กกับขนาดใหญ่ที่ มี น้ าหนักเท่ากัน ถ่ านกัมมันต์ขนาดเล็กจะมี พ้ื นที่ ผิวในการดู ดซับ
มากกว่าถ่านกัมมันต์ขนาดใหญ่ เมื่อพิจารณาที่เวลาในการดูดซับ 30 นาที พบว่าค่าร้อยละของการดูด
ซับสี ยอ้ มเป็ น 90 และ 73 ตามลาดับ โดยพบว่าอัตราในการดูดซับจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วในช่วง 5-20
นาทีแรก และเริ่ มเข้าสู่ สมดุลที่เวลาประมาณ 30 นาทีสาหรับถ่านกัมมันต์ท้ งั สองขนาด

4.7.2 ผลของอุณหภูมิและเวลาในการดูดซับโลหะ
ได้ศึกษาผลของอุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการดูดซับทองแดงและเหล็ก ของถ่านกัมมันต์ขนาด
1 mm โดยทาการทดลองที่อุณหภูมิ 20 OC, 35 OC และ 50 OC เป็ นเวลา 5-60 นาที ผลการทดลองแสดง
ดังตาราง 4.14.
49

ตาราง 4.14 ร้อยละของการดูดซับสารละลายทองแดงและเหล็ก เมื่ออุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการ


ดูดซับต่างกัน

อุณหภูมิ เวลาในการดูดซับ ร้อยละของการดูดซับ (%)


(OC) (นาที) ทองแดง เหล็ก
5 76 53
10 78 53
20 20 79 54
30 80 54
60 81 54
5 77 55
10 78 56
35 20 79 57
30 80 57
60 82 59
5 78 51
10 80 51
50 20 82 52
30 82 52
60 83 56
50

100
90
80
70
ร้ อยละของการดูดซับ

60
50 20 °C
40 35 °C
30
20 50 °C
10
0
0 10 20 30 40 50 60 70
เวลาในการดูดซับ (นาที)

รู ป 4.12 ร้อยละของการดูดซับซับทองแดงของถ่านกัมมันต์ เมื่ออุณหภูมิของการดูดซับเป็ น 20C,


35C และ 50C เมื่อใช้เวลาในการดูดซับต่างๆกัน
100
90
80
70
ร้ อยละของการดูดซับ

60
50 20 °C
40 35 °C
30
20 50 °C
10
0
0 10 20 30 40 50 60 70
เวลาในการดูดซับ (นาที)

รู ป 4.13 ร้อยละของการดูดซับซับเหล็กของถ่านกัมมันต์ เมื่ออุณหภูมิของการดูดซับเป็ น 20C,


35C และ 50C เมื่อใช้เวลาในการดูดซับต่างๆกัน
51

จากรู ป 4.12และ 4.13 พบว่า ที่ อุณหภูมิ 20, 35 และ 50C ค่ าร้ อยละของการดู ดซับ
โลหะทองแดง มี ค่าเพิ่มขึ้ นตามอุ ณหภูมิที่เพิ่ มขึ้ น แต่ไม่มากนัก ส่ วนการดู ดซับโลหะเหล็ก พบว่า
อุณหภูมิมีผลต่อการดู ดซับน้อยมาก ดังนั้นในการประยุกต์ใช้ถ่านกัมมันต์ในการดู ดซับโลหะหนัก
สามารถทาการดูดซับที่อุณหภูมิห้องได้ เมื่อพิจารณาที่ เวลาการดูดซับ ต่างๆกัน พบว่า ในช่ วงเวลา 5-
30 นาทีแรก สารละลายโลหะทองแดงถูกดูดซับได้อย่างรวดเร็ ว และจะเริ่ มคงที่ในช่วง 30 – 60 นาที
ในขณะที่สารละลายเหล็กจะถูกดูดซับอย่างรวดเร็ วก่อน 5 นาที และเริ่ มคงที่ในช่วงเวลาประมาณ 10
นาที
จากการเปรี ยบเทียบค่าร้ อยละของการดูดซับโลหะทั้งสอง พบว่าการดูดซับทองแดงของ
ถ่านกัมมันต์มีค่ามากกว่าเหล็ก ทั้งนี้ ค่าที่ ได้น้ ี ไม่สามารถนามาเปรี ยบเทียบกันได้โดยตรงเนื่ องจาก
ความเข้มข้นของสารละลายทองแดงและสารละลายเหล็กแตกต่างกัน โดยมีความเข้มข้น 5 ppm และ
10 ppm ตามลาดับ ดังนั้นเพื่อให้ทราบถึงความสามารถในการดูดซับโลหะแต่ละชนิ ดของถ่านกัมมันต์
อย่างแท้จริ ง ต้องคานวณในเทอมของปริ มาณ แทนการใช้ความเข้มข้น ดังการทดลองต่อไปนี้

4.7.3 ผลของอัตราส่ วนของถ่ านกัมมันต์ ต่อโลหะ


ในการทดลองนี้ ได้ ศึ ก ษาอัต ราส่ ว นของปริ มาณถ่ า นกัม มัน ต์ ต่ อ ปริ มาณโลหะ โดย
กาหนดให้ปริ มาณโลหะทองแดงและเหล็กมีค่าคงที่เป็ น 0.125 mg และ 0.250 mg ตามลาดับ แล้ว
เปลี่ ยนปริ ม าณของถ่ านกัมมันต์เป็ น 1.00- 2.50 กรัม โดยใช้เวลาในการดู ดซับ 30 นาที ผลการ
ทดลอง แสดงดังตาราง 4.15
52

ตาราง 4.15 ร้อยละของการดูดซับสารละลายทองแดงและเหล็ก เมื่อสัดส่ วนของถ่านกัมมันต์ต่อ


โลหะแตกต่างกัน

น้ าหนักของถ่าน อัตราส่ วนของ ร้อยละของการดูดซับ


โลหะ (กรัม) ถ่านกัมมันต์ต่อโลหะ (C/M) (%)

Cu 1.00 8,000 82±3


1.50 12,000 90±1
2.00 13,333 >90
2.50 20,000 >90
Fe 1.00 4,000 59±1
1.50 6,000 75±1
2.00 6,667 >90
2.50 10,000 >90
* n.d. คือ not detected ความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าขีดต่าสุ ดของการวิเคราะห์ (0.5 ppm)

100
90
80
ร้ อยละของการดูดซับ

70
60
50
40 Cu
30 Fe
20
10
0
0 5000 10000 15000 20000 25000
อัตราส่ วน C / M

รู ป 4.14 ร้อยละของการดูดซับซับทองแดงและเหล็กของถ่านกัมมันต์ เมื่ออัตราส่ วนของถ่าน


กัมมันต์และโลหะ (C/M) ต่างๆกัน
53

จากตาราง 4.15 แสดงให้เห็ นว่า สารละลายโลหะทั้งสองจะถูกดูดซับได้มากกว่า ร้ อยละ 90


เมื่อใช้ถ่านกัมมันต์ 2.0 กรัม ในเวลา 30 นาที แต่เมื่อพิจารณาถึ งความเข้มข้นของสารละลายโลหะแต่
ละชนิดซึ่ งมีความเข้มข้นไม่เท่ากัน กล่าวคือ สารละลายเหล็กมีความเข้มข้นสู งกว่าสารละลายทองแดง
ถึง 2 เท่า ดังนั้นเมื่อนามาพล๊อตกราฟระหว่างอัตราส่ วนของน้ าหนักถ่านกัมมันต์ต่อน้ าหนักโลหะ ซึ่ ง
แสดงดังกราฟรู ป 4.14 จะเห็นได้วา่ เหล็กจะให้ค่าร้อยละของการดูดซับมากกว่า 90 เมื่อมีถ่านกัมมันต์
มากกว่า 6,667 เท่า ในขณะที่ทองแดงต้องมีถ่านกัมมันต์มากกว่าถึง 13,333 เท่า จึงจะสามารถให้ค่าร้อย
ละของการดูดซับมากกว่า 90 เท่ากัน จากข้อมูลนี้ แสดงให้เห็ นว่าถ่านกัมมันต์สามารถดูดซับโลหะ
เหล็กได้ดีกว่าทองแดงประมาณ 2 เท่า

4.8 การดูดซับสี ย้อมและโลหะในนา้ ตัวอย่างสั งเคราะห์ ด้ วยถ่ านกัมมันต์


สารละลายตัวอย่างสี ยอ้ มธรรมชาติที่มีโลหะทองแดงและเหล็กเจือปนอยูใ่ นปริ มาณ 5 และ
10 ppm ตามลาดับ จานวน 50 mL ได้ถูกนามาใช้ในการทดสอบการดูดซับโดยถ่านกัมมันต์จานวน
10 กรั ม ในเวลา 120 นาที ตามสภาวะที่เหมาะสมของการดู ดซับสี ยอ้ ม โดยได้ท าการเปรี ยบเทียบ
ระหว่างการไม่ปรับ pH และ ปรับ pH เป็ น 7 ของสารละลายตัวอย่างสี ยอ้ มธรรมชาติก่อนทาการดูดซับ
ผลการทดลองแสดงดังตาราง 4.16

ตาราง 4.16 ร้อยละของการดูดซับสี ยอ้ มในสารละลายตัวอย่างสี ยอ้ มธรรมชาติ


ความเข้ มข้ น (%v/v) ร้อยละของ
ที่ pH ของสารละลาย
ก่ อนดูดซับ หลังดูดซับ การดูดซับ (%)
1 35 23 33
2 ไม่ปรับค่า pH 35 25 29
3 (3.8) 35 25 28
X 35 ± 0 24 ± 1 30 ± 3
1 35 n.d. >90
2 pH7 35 n.d. >90
3 35 n.d. >90
X 35 ± 0 - >90 ± 0
* n.d. คือ not detected ความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าขีดต่าสุ ดของการวิเคราะห์ (3.7 %v/v)
54

ตาราง 4.17 ร้อยละของการดูดซับทองแดงและเหล็กในสารละลายตัวอย่างสี ยอ้ มธรรมชาติ


ที่ pH ของ ความเข้มข้นทองแดง ร้อยละของ ความเข้มข้น เหล็ก ร้อยละของ
สารละลาย (mg/L) การดูดซับ (mg/L) การดูดซับ
ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ (%) ก่อนดูดซับ หลังดูดซับ (%)
1 4.77 0.24 95 8.63 2.56 70
2 ไม่ปรับค่า 4.77 0.19 96 8.63 2.52 71
3 pH 4.77 0.10 98 8.63 2.23 74
X 4.77±0.00 0.17±0.07 96±2 8.63±0.00 2.44±0.18 71.74±2.08
1 n.d. n.d. - n.d. n.d. -
2 pH7 n.d. n.d. - n.d. n.d. -
3 n.d. n.d. - n.d. n.d. -
X - - - - - -
* n.d. คือ not detected ความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าขีดต่าสุ ดของการวิเคราะห์ (0.5 ppm)

ในการดูดซับสี ยอ้ มธรรมชาติของถ่านกัมมันต์พบว่าสามารถดูดซับได้มากกว่าร้อยละ 90


เมื่อทาการปรับ pH ให้เป็ น 7 ในขณะที่ร้อยละของการดูดซับมีค่าเพียง 30 เมื่อไม่ได้ปรับ pH ก่อน
การดูดซับ ทั้งนี้สอดคล้องกับผลการศึกษาในข้อ 4.4.2 ที่ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการดูดซับสี
ย้อมจะเกิดขึ้นได้ดีที่สุดในสภาวะที่เป็ นเบสรองลงมาคือสภาวะที่เป็ นกลาง และดูดซับได้นอ้ ยที่สุด
ในสภาวะที่เป็ นกรด ซึ่ งพบว่า pH ของสารละลายในตอนเริ่ มต้นมีค่าเป็ น 3.8 ซึ่ งมีสภาพเป็ นกรด จึง
ส่ งผลให้ค่าร้อยละของการดูดซับมีค่าน้อยมาก
สาหรับการดูดซับโลหะทองแดงและเหล็กในสารละลายตัวอย่างสี ยอ้ มธรรมชาติที่ความ
เข้มข้น 5 และ 10 ppm ตามลาดับพบว่า ทองแดงถูกดูดซับมากถึงร้อยละ 96 ในขณะที่เหล็กถูกดูด
ซับร้ อยละ 72 ทั้งนี้ สามารถดู ดซับได้ในสภาวะที่ ไม่มีก ารปรั บ pH ของสารละลาย (pH ของ
สารละลายเป็ น 3.8) พบว่าเมื่อปรับ pH ของสารละลายเป็ น 7 จะไม่สามารถวัดค่าความเข้มข้นของ
ทองแดงและเหล็ก โดยวิธีวดั ค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่ อง FAAS ได้ ทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากโลหะทั้ง
สองตกตะกอนได้ในสภาวะที่สารละลายเป็ นกลาง-เบส แล้วแยกตัวออกจากสารละลาย หรื ออยูใ่ นรู ป
ของสารประกอบอื่นที่ไม่สามารถแตกตัวเป็ นอะตอมแล้ววิเคราะห์ดว้ ยเครื่ อง FAAS ได้

You might also like