You are on page 1of 43

คำนำ

หนังสื อเล่มนี้ เรี ยบเรี ยงขึ้นเพื่อให้นกั เรี ยนที่กาลังจะขึ้น ม. 5 ได้ฝึกทักษะพื้นฐานและเทคนิ คในการคานวณ


ปริ มาณสารสัมพันธ์ มีเนื้อหา แบบฝึ กหัด และโจทย์ครอบคลุมทุกจุดสาคัญที่นิยมออกข้อสอบ โดยแบ่งเป็ น
2 ส่ วนคือ ส่ วนแรก (ร้อยละ 80) สาหรับเรี ยนในห้อง ฝึ กทาโจทย์และแบบทดสอบในห้องเรี ยนไปพร้อมกับ
ครู และส่ วนที่ 2 เป็ นส่ วนที่นกั เรี ยนต้องฝึ กทาด้วยตนเองเป็ นการบ้าน (ส่ วนนี้จะง่ายกว่าส่ วนแรกเล็กน้อย)

หลังจากนักเรี ยนได้ศึกษาเนื้ อหาในส่ วนนี้ แล้ว ในส่ วนท้ายครู ได้เพิ่มเนื้ อหาเคมีอินทรี ยข์ ้ นั พื้นฐาน สาหรับ
เป็ นฐานความรู ้ในการเรี ยนเคมีอินทรี ยใ์ นภาคการศึกษาต่อไป

อย่างไรก็ตาม หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดในหนังสื อเล่มนี้ ต้องขออภัยเป็ นอย่างสู ง และหากมีขอ้ สงสัยใน


เรื่ องใดๆ สามารถสอบถามจากครู ได้โดยตรง สุ ดท้ายนี้ก็ขอให้นกั เรี ยนใช้ประโยชน์จากหนังสื อเล่มนี้ ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ด

ครู กุ๊ก
สำรบัญ
พืน้ ฐำน-เทคนิคปริมำณสำรสั มพันธ์
เทคนิคการเพิม่ ความเร็ วในการคานวณ 1
แบบฝึ กหัดเรื่ องสารละลาย 5
สมบัติคอลิเกทีฟ 9
เทคนิคการเพิ่มความเร็ วในการคานวณสัดส่ วนสารในองค์ประกอบ 14
สมการเคมี 16
แบบฝึ กหัดปริ มาณสารในสมการเคมี 18
พืน้ ฐำนเคมีอนิ ทรีย์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและการเรี ยกชื่อ 20
โครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 23
ไอโซเมอร์ โครงสร้าง 25
แบบฝึ กหัดกำรบ้ ำน
ปริ มาณสารสัมพันธ์ 27
ฝึ กคานวณเทคนิคปริ มาณสารสัมพันธ์ 35
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 1

เทคนิคเพิม่ ความเร็วในการคานวณโมล มวลโมเลกุลและมวลสู ตร


1. มวลของกลุ่มอะตอมหรื อไอออนที่ควรจาได้ เพื่อเพิม่ ความเร็ วในการคานวณ Mw ของสาร
สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw
OH- H2O CO32- PO43-
Cl2 NH4+ NO3- SO42-

2. จงเติมมวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้ ซึ่ งเป็ นสารที่นิยมออกข้อสอบ (speed test)


สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw
NH3 Ca(OH)2 CaCl2 AgNO3
HCl SO3 MgSO4 C6H12O6
NaOH MgCO3 KClO3 BaCO3
CO2 NaHCO3 (NH4)2SO4 BaCl2
NO2 MnO2 Na2SO4 BaSO4
C2H5OH FeS AgCl K2Cr2O7
Mg(OH)2 C3H8O2 CuSO4 PbSO4
NaCl MgCl2 FeSO4 Hg(NO3)2
NH2CONH2 H3PO4 CCl4 Pb(NO3)2
CH3COOH H2SO4 KMnO4 C12H22O11
HNO3 CaCO3 ZnSO4 Al2(SO4)3
SO2 Na2CO3 Na3PO4 Fe2(SO4)3

3. จงคานวณจานวนโมลของสารต่อไปนี้ อย่างรวดเร็ ว
1) 8.0 g-NaOH = …………. 2) 126 g-HNO3 = ……….. 3) 6.08 g-FeSO4 = …………..
4) 4.2 g-Urea = …………. 5) 47.4 g-KMnO4 = ……….. 6) 6.67 g-CaCl2 = …………..
7) 1.45 g-Mg(OH)2= ………. 8) 57.0 g-MgCl2 = ……….. 9) 7.0 g-BaSO4 = …………..
10) 2.8 g-NaHCO3= …………. 11) 12.5 g-CaCO3 = ……….. 12) 11.32 g Na2SO4 = …………..
13) 9.9 g-(NH4)2SO4= ……….. 14) 6.29 g-Ca(OH)2 = ……….. 15) 3.94 g-BaCO3 = …………..
2 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

เทคนิคเพิม่ ความเร็วในการคานวณโมล และปริมาตรก๊าซที่ STP


4. ตารางเพิม่ ความเร็ วในการคานวณจานวนโมลและปริ มาตรก๊าซที่ STP
โมล ลิตร โมล ลิตร ลิตร โมล โมล ลิตร
0.1 2.24 0.1 2.24 0.1
0.125 2.80 0.125 2.80 11.20
0.15 3.36 0.15 3.36 0.375
0.2 4.48 0.2 4.48 4.48
0.25 5.60 0.25 5.60 0.85
0.3 6.72 0.3 6.72 19.60
0.375 8.40 0.375 8.40 0.15
0.4 8.96 0.4 8.96 0.4
0.5 11.20 0.5 11.20 2.80
0.6 13.44 0.6 13.44 16.80
0.625 14.00 0.625 14.00 0.625
0.7 15.68 0.7 15.68 0.9
0.75 16.80 0.75 16.80 13.44
0.8 17.92 0.8 17.92 17.92
0.85 19.04 0.85 19.04 0.25
0.875 19.60 0.875 19.60 6.72
0.9 20.16 0.9 20.16 0.7
0.925 20.72 0.925 20.72 20.72
0.95 21.28 0.95 21.28 21.28
0.975 21.84 0.975 21.84 21.84

5. จงบอกจานวนโมลของก๊าซต่อไปนี้ที่ STP (ก๊าซ 1 โมล ที่ STP มีปริ มาตร 22.4 dm3 หรื อ 22,400 cm3)
ปริ มาตร (dm3) 0.112 1.68 1.344 196 0.84 0.448 56 2.24 201.6
จานวนโมล

ปริ มาตร (dm3) 21.84 1.4 156.8 112 28 212.8 0.336 207.2 89.6
จานวนโมล

ปริ มาตร (cm3) 560 8400 67.2 140 1960 11200 1680 896 2184
จานวนโมล
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 3

เทคนิคเพิม่ ความเร็วในการคานวณโมล ปริมาตรของสารละลาย


6. จากค่าความเข้มข้นของสารละลาย และปริ มาตร จงคานวณจานวนโมลของสาร
ความเข้มข้น ปริ มาตร จานวนโมล ความเข้มข้น ปริ มาตร จานวนโมล
2.0 mol/dm3 210 cm3 0.50 mol/dm3 50 cm3
0.10 mol/dm3 400 cm3 0.4 mol/dm3 1.5 dm3
0.25 mol/dm3 30 cm3 0.02 mol/dm3 800 cm3
0.625 mol/dm3 20 cm3 0.08 mol/dm3 25 cm3

7. ถ้าต้องการสารตามจานวนโมลที่กาหนด จะต้องใช้สารละลายที่เข้มข้นในแต่ละข้อ ในปริ มาตรเท่าใด


จานวนโมล ความเข้มข้น ปริ มาตร จานวนโมล ความเข้มข้น ปริ มาตร
0.20 0.05 mol/dm3 0.300 2.5 mol/dm3
0.003 0.04 mol/dm3 0.225 0.15
mol/dm3
0.05 0.2 mol/dm3 0.0625 0.25
mol/dm3
0.20 0.8 mol/dm3 0.0048 0.12
mol/dm3

8. การเตรี ยมสารละลายโดยการละลายสารต่อไปนี้ในน้ า จงเติมต่างๆลงในตาราง


1) เตรี ยมสารลาย Na2CO3 โดยละลาย Na2CO3 หนัก 2.515 กรัมลงในน้ า จนได้สารละลาย 200 cm3 ซึ่งมี
ความหนาแน่น 1.02 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา
4 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

2) เตรี ยมสารลาย CuSO4 โดยละลาย CuSO4.5H2O หนัก 3.60 กรัมลงในน้ า จนได้สารละลาย 300 cm3 ซึ่งมี
ความหนาแน่น 1.01 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา

3) เตรี ยมสารลาย NaOH โดยละลายผลึก NaOH (ความบริ สุทธิ์ 96%w ที่เหลือเป็ นความชื้ น) หนัก 20 กรัม
ลงในน้ า 280 กรัม จะได้สารละลายที่มีความหนาแน่น 1.25 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา

4) เตรี ยมสารลาย CuSO4 โดยละลายผลึก CuSO4.5H2O หนัก 25 กรัม ลงในน้ า 180 กรัม และได้สารละลายที่
มีความหนาแน่น 1.025 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 5

5) เตรี ยมสารลาย MgCl2 โดยละลายผลึก MgCl2.7H2O หนัก 66.3 กรัม ลงในน้ าจนได้สารละลาย 300 cm3
และได้สารละลายที่มีความหนาแน่น 1.121 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา

แบบฝึ กหัดเรื่องสารละลาย
1. น้ าส้มสายชูชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 1.13 g/cm3 ระบุวา่ มีกรดแอซี ติกละลายอยูร่ ้อยละ 8 โดยน้ าหนัก
น้ าส้มสายชูน้ ีจะมีความเข้มข้นของกรดแอซี ติกคิดเป็ นกี่ mol/L
1) 0.13 2) 1.33
3) 1.51 4) 7.1

2. จงคานวณหาปริ มาตรสารละลาย NaOH เข้มข้น 6 M ที่ตอ้ งใช้ในการเตรี ยมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.12 M
จานวน500 cm3
1) 10 cm3 2) 12 cm3
3) 15 cm3 4) 24 cm3

3. ถ้าละลายผลึก Na2S2O3.5H2O หนัก 24.8 กรัม ในน้ า จนได้สารละลาย 500cm3 จงหาความเข้มข้นของ Na+ ใน
สารละลายในหน่วยโมลาร์
1) 0.1 2) 0.2
3) 0.3 4) 0.4

4. ผ่านก๊าซ A ลงในน้ าจานวนหนึ่ งได้สารละลายที่มีความเข้มข้นร้อยละ 30 โดยมวล และมีความหนาแน่น 0.9


g/cm3 ถ้ามวลโมเลกุลของ A เท่ากับ 60 สารละลาย A นี้เข้มข้นกี่โมลาร์
1) 4.5 2) 5.0
3) 6.0 4) 10.0
6 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

5. สารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 8 mol/dm3 มีความหนาแน่ น 0.8 g/cm3 ถ้าเตรี ยมสารละลายนี้ จากน้ า


บริ สุทธิ์ เพียง 101.6 cm3 จะได้สารละลายกี่ cm3
1) 200.0 2) 179.5
3) 180.75 4) 123.46

6. ละลายผลึ กสารชนิ ดหนึ่ งในน้ า ได้สารละลายเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล ถ้ามีน้ า 120 cm3 จะสามารถเตรี ยม
สารละลายนี้ได้กี่ cm3 ความหนาแน่นของน้ าและสารละลาย เท่ากับ 1.0 และ 0.75 g/cm3 ตามลาดับ
1) 120 2) 187.5
3) 200 4) 225.75

7. สารละลาย X มีความเข้มข้น 8 mol/dm3 มีความหนาแน่น 1.4 g/cm3 แบ่งสารละลายนี้ มา 25 กรัม พบว่ามี X


อยู่ 12 กรัม จงหามวลโมเลกุลของ X
1) 60 2) 84
3) 124 4) 132

8. สารประกอบ AS2 เป็ นของเหลวบริ สุทธิ์ มีความหนาแน่น 1.68 g/cm3 ละลายของเหลวนี้ จานวนหนึ่ งในน้ า 4
cm3 จะได้สารละลายเข้มข้น 15.12 โดยมวลต่อปริ มาตร หรื อคิดเป็ น 1.26 mol/dm3 จงหามวลโมเลกุลของ A
1) 120 2) 88
3) 56 4) 42

9. น้ าเสี ยจากโรงงานหนึ่งมี HgCl2 เจือปนอยู่ 0.813 ppm ถ้านาน้ าเสี ยนี้ 100 กรัมมาวิเคราะห์ จะพบ Hg2+ กี่ mg
1) 0.0003 2) 0.003
3) 0.06 4) 0.0006

10. สารละลาย HCl เข้มข้น 1 molal คิดเป็ นความเข้มข้นกี่เปอร์ เซ็นต์โดยมวล


1) 2.48 2) 3.52
3) 3.86 4) 4.13
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 7

11. ถ้าท่านต้องการเตรี ยมสารละลาย Al2(SO4)3 200 cm3 ให้มีโลหะ Al อยูเ่ ป็ นปริ มาณ 3% โดยมวลต่อปริ มาตร
จะต้องใช้ Al2(SO4)3 กี่กรัมมาละลายน้ าจนมีปริ มาตร 200 cm3
(Al = 27, S = 32, O = 16)
1) 27 2) 38
3) 54 4) 42

12. น้ ากระด้างตัวอย่างมี SO42- และ HCO3- อยู่ 96 และ 183 ppm ตามลาดับโดยมีไอออนบวกเป็ น Ca2+ เท่านั้น
ปริ มาณของ Ca2+ ในหน่วย ppm มีค่าเท่าใด
1) 100 2) 160
3) 188 4) 279

13. สารละลายเอทานอล 23.75 cm3 ในเบนซี น 300 cm3 สารละลายนี้ มีความเข้มข้นกี่ mol/L ถ้าความหนาแน่น
ของเอทานอลเท่ากับ 0.8 g/cm3 ความหนาแน่นของเบนซี นเท่ากับ 0.9 g/cm3
1) 1.2 2) 1.3
3) 1.5 4) 1.8

14. สารละลายชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 2 g/cm3 ประกอบด้วยตัวถูกละลาย X ซึ่ งมีมวลโมเลกุล 80 สารละลายนี้


มีความเข้มข้น 60% โดยมวล จงหาความเข้มข้นของสารละลายนี้ในหน่วยโมลาร์
1) 5 M 2) 15 M
3) 20 M 4) 30 M

15. กรดอินทรี ยช์ นิ ดหนึ่ งเป็ นของเหลว มีความหนาแน่น 2.0 g/cm3 เมื่อละลายน้ าได้ความเข้มข้นในหน่วยต่างๆ
ดังนี้
a molal หรื อ b molar หรื อ x% wt หรื อ y %w/v
ถ้าความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1 g/cm3 การเปรี ยบเทียบค่าข้อใดถูกต้อง
1) a > b, x > y 2) a < b, x > y
3) a > b, x < y 4) a < b, x < y
8 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

16. สารละลายกรดซัลฟิ วริ ก 2 ชนิด ชนิ ดแรกมีความเข้มข้น 2 โมลาร์ ชนิดที่สองเข้มข้น 1 โมลาร์ ถ้านามาผสม
กันในอัตราส่ วน 2:3 โดยปริ มาตร แล้วเติมน้ าจนได้ปริ มาตรเป็ น 4 เท่าของปริ มาตรเดิมจะมีความเข้มข้น
กี่โมลาร์
1) 1.4 2) 0.7
3) 0.35 4) 2.8

17. ต้องผสมสารละลาย X เข้มข้น 1.0 โมลาร์ กับสารละลาย X เข้มข้น 3.2 โมลาร์ ในอัตราส่ วนโดยปริ มาตร
เท่าใด เพื่อให้ได้สารละลายผสมเข้มข้น 2.0 โมลาร์
1) 3:2 2) 6:5
3) 9:8 4) 9:7

18. สารละลายแอมโมเนียในบีกเกอร์หนึ่งเข้มข้น 2%w/v 200 cm3 มีความหนาแน่น 0.980 g/cm3 ตั้งทิ้งไว้จนเหลือ


ปริ มาตร 150 cm3 มีความเข้มข้นเป็ น 1.8%w/v และมีความหนาแน่นเป็ น 0.990 g/cm3 จงหาว่าน้ าระเหยไป
กี่กรัม
1) 50 กรัม 2) 47.5 กรัม
3) 47.3 กรัม 4) 46.2 กรัม

19. โซดาขวดหนึ่ง 330 g มีความเข้มข้นของกรดคาร์ บอนิก 0.12 M ตั้งทิ้งไว้ 6 ชัว่ โมง จะเหลือน้ าหนักอยู่ 325 g
และเข้มข้น0.01 M จงหาว่าน้ าระเหยไปเท่าใด (อนุโลมให้โซดามีความหนาแน่นเท่ากับน้ า)
1) 1.6 กรัม 2) 2.4 กรัม
3) 3.0 กรัม 4) 3.4 กรัม

20. สารละลาย Na2SO4 1150 cm3 มี Na+ อยู่ 57.5 กรัม เมื่อ Na2SO4 ลงไปอีก 28.4 กรัม และเติมน้ าจนสารละลายมี
ปริ มาตร 2500 cm3 สารละลายใหม่น้ ีจะมีความเข้มข้นของ Na2SO4 เป็ นกี่โมลาร์
1) 2.08 2) 1.08
3) 0.68 4) 0.58

21. จงคานวณหาปริ มาตรสารละลาย NaOH เข้มข้น 2.5 M ที่ตอ้ งใช้ในการเตรี ยมสารละลาย NaOH 0.12 M
จานวน500 cm3
1) 10 cm3 2) 12 cm3
3) 15 cm3 4) 24 cm3
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 9

22. ถ้าละลายผลึก Na2S2O3.5H2O หนัก 24.8 กรัม ในน้ า จนได้สารละลาย 500cm3 จงหาความเข้มข้นของ Na+ ใน
สารละลายในหน่วยโมลาร์
1) 0.1 2) 0.2
3) 0.3 4) 0.4

23. ผ่านก๊าซ A ลงในน้ าจานวนหนึ่ งได้สารละลายที่มีความเข้มข้นร้อยละ 30 โดยมวล และมีความหนาแน่น 0.9


g/cm3 ถ้ามวลโมเลกุลของ A เท่ากับ 60 สารละลาย A นี้เข้มข้นกี่โมลาร์
1) 4.5 2) 5.0
3) 6.0 4) 10.0

24. สารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 4 mol/dm3 มีความหนาแน่ น 0.9 g/cm3 ถ้าเตรี ยมสารละลายนี้ จากน้ า
บริ สุทธิ์ เพียง 377 cm3 จะได้สารละลายกี่ cm3
1) 200.0 2) 500.0
3) 180.75 4) 123.46

25. ละลายผลึกสารชนิ ดหนึ่ งในน้ า ได้สารละลายเข้มข้นร้อยละ 30 โดยมวล ถ้ามีน้ า 210 cm3 จะสามารถเตรี ยม
สารละลายนี้ได้กี่ cm3 ความหนาแน่นของน้ าและสารละลาย เท่ากับ 1.0 และ 1.2 g/cm3 ตามลาดับ
1) 120 2) 187.5
3) 225 4) 250

สมบัติคอลิเกทีฟของสารละลาย
การเปลีย่ นแปลงจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลาย
T

ความเข้ มข้ น (mol/kg)


การคานวณใช้ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วย ........................
ความชันของกราฟ คือ ............................................ ซึ่ งขึ้นกับ ....................................
ค่า Kb และ Kf ของน้ า คือ ............................. และ ................................. ตามลาดับ
10 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

จงหาความเข้ มข้ นของสารละลายต่ อไปนีใ้ นหน่ วย mol/kg สาหรับใช้ คานวณสมบัติคอลิเกทีฟ


สาร ตัวถูกละลาย ตัวทาละลาย ความเข้มข้น (mol/kg) Kf | Kb fb. | bp.
NH2CONH2 4.2 g น้ า 100 g 1.86 | 0.53

C6H12O6 4.5 g น้ า 50 g 1.86 | 0.53

C12H22O11 34.2 g น้ า 80 g 1.86 | 0.53

C10H8 5.12 g เบนซีน 50 g 4.9 | 2.5

C6H5COOH 24.4 g น้ า 500 g 1.86 | 0.53

C6H5OH 2.35 g น้ า 100 g 1.86 | 0.53

แบบฝึ กหัด
1. เมื่อสารละลายซัคคาริ น 91.5 กรัมในน้ า 1 ลิตร ได้สารละลายที่มีจุดเยือกแข็ง -0.93 OC
(Kf น้ า = 1.86 OC.kg/mol) และซัคคาริ นประกอบด้วยร้อยละโดยมวลของธาตุดงั นี้ C = 45.90, H = 2.13, O =
26.23, N = 7.65 และ S = 17.49 จงหาสู ตรโมเลกุลของซัคคาริ น
1) C5H7O3NS 2) C7H5O3NS
3) C8H9O2NS 4) C14H10O6N2S2

2. ตัวทาละลาย X มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดเป็ น 17 OC และ 118 OC ตามลาดับ เมื่อละลายสาร Y ในตัวทา


ละลาย X จนมีความเข้มข้น 9.09% โดยมวล พบว่าสารละลายมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดเป็ น 7 OC และ
125.5 OC ตามลาดับ จงหาว่าค่า Kb เป็ นกี่เท่าของค่า Kf
1) 2 เท่า 2) 1.33 เท่า
3) 0.75 เท่า 4) 0.5 เท่า
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 11

3. สาร A, B และ C มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 46, 92 และ 460 ตามลาดับ ถ้านาสารแต่ละชนิ ดมาละลายในตัวทา


ละลาย X จนได้สารละลายที่มีความเข้มข้น 0.1 กิโลต่อกิโลกรัมของตัวทาละลาย ถ้าสารทั้งสามไม่ระเหยและ
ไม่แตกตัวใน Xจุดเยือกแข็งของสารละลายทั้งสามจะเป็ นอย่างไร
1) A > B > C 2) A<B<C
3) A = B = C 4) ไม่มีขอ้ ใดถูก

4. การบูรบริ สุทธิ์ มีจุดเยือกแข็ง 180OC มีค่า Kf 40OC/m เมื่อนาสารชนิดหนึ่งมวล 0.8 กรัม มาละลายในการบูร
จานวน 25 กรัม สารละลายนี้จะมีจุดเยือกแข็งที่ 152OC จงหาสู ตรโมเลกุลของสารนี้
1) C3H3 2) C3H4
3) C4H4 4) C6H6

5. จากข้อมูลในตาราง จงเรี ยงลาดับค่า a b c และ x y z


สาร ความเข้มข้นในน้ า f.p. ของสาละลาย b.p. ของสาละลาย
CH3OH 15% w a x
C6H12O6 15% w b y
C3H8O3 2 molal c z

1) b > c > a และ y > z > x 2) b > c > a และ x > z > y
3) c > a > b และ y > z > x 4) a > c > b และ x > z > y

6. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
สาร มวลโมเลกุล ความเข้มข้นในน้ า จุดเดือดของสารละลาย(OC )
เอทิลแอลกอฮอล์ 46 10% โดยมวล a
น้ าตาลทราย 342 3 g ในน้ า 25 cm3 b
เอทิลีนไกลคอล 62 40% โดยมวล c
ยูเรี ย 60 4 g ในน้ า 15 cm3 d
การเรี ยงลาดับจุดเดือดของสารละลายในข้อใดถูกต้อง
1) a > b > c > d 2) b > a > d > c
3) c > d > b > a 4) d > c > b > a
12 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

7. เมื่อละลายน้ าตาลทราย (มวลโมเลกุล 342 ) หนัก 34.2 g ในน้ า 200 g (Kb ของน้ ามีค่าเท่ากับ 0.50OC.kg/mol)
พิจารณาข้อสรุ ปต่อไปนี้ ข้อใดถูก
1. ความเข้มข้นของสารละลายนี้ในหน่วยโมแลลลิตีอาจแทนด้วยความเข้มข้นในหน่วยโมลาริ ตี
2. จุดเดือดของสารละลายนี้คือ 100.25 OC
3. ความหนาแน่นของสารละลายนี้มีค่าเท่ากับ 1.17 g/cm3
4. เมื่อเคี่ยวน้ าเชื่ อมนี้จนน้ าหนักของสารละลายลดลงเป็ น 134.2 g จุดเดือดของสารละลายจะเป็ น 100.5 OC
1) 1 2 และ 3
2) 2 และ 3
3) 3 และ 4
4) 2 3 และ 4

8. สารละลายของ A 2.0 กรัม ในน้ า 250 กรัม มีจุดเดือดเป็ น 100.4 OC ถ้าต้องการให้สารละลายนี้ มีจุดเยือกแข็ง
เป็ น -3.6 OC จะต้องเติมสาร A ลงไปอีกกี่กรัม กาหนดค่า Kb และ Kf ของน้ าเป็ น 0.5 และ 1.8 OC/m ตามลาดับ
1) 5 กรัม 2) 4 กรัม
3) 3 กรัม 4) 2 กรัม

9. ในเมืองที่มีอากาศหนาวเย็น ต้องเติมสาร antifreeze (C2H4(OH)2) ลงในหม้อน้ ารถยนต์เพื่อไม่ให้น้ าหล่อเย็น


แข็งตัวขณะจอดรถทิ้งไว้เมื่ ออุณหภูมิอากาศต่ ากว่า 0OC ถ้าน้ าในหม้อน้ ามี ปริ มาณ 2 ลิ ตร ต้องเติมสาร
antifreeze อย่างน้อยกี่กรัม เพื่อไม่ให้น้ าหล่อเย็นแข็งตัวก่อนอุณหภูมิ -6OC กาหนดค่า Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86
1) 400 g 2) 200 g
3) 154 g 4) 100 g

10. จงพิจารณาตารางต่อไปนี้
สารละลาย มวลสาร A (g) ตัวถูกละลายที่เติมใน A มวลที่เติม f.p. (OC)
1 X D Y -4.0
2 40 C6H12O6 14.4 -2.8
3 200 E 9.2 0.8
O O
สาร A มีจุดเดือด 56 C และจุดเยือกแข็ง 2 C ข้อความใดอาจไม่ถูกต้อง
1) Kf ของ A = 2.4OC/molal 2) สารละลาย D ใน A เข้มข้น 2.5 mol/kg
3) สู ตรโมเลกุลของ E คือ C3H8O3 4) สารละลาย 1 มีจุดเดือดสู งกว่าสารละลาย 2
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 13

11. โพรพาโนนมีจุดเดือด 56OC มีค่า Kb เท่ากับ 1.7 OC/m ถ้าละลายสาร B 26.4 กรัมในโพรพาโนน 200 กรัม จะ
ได้สารละลายที่มีจุดเดือดในข้อใด ที่ไม่สอดคล้องกับมวลโมเลกุลของ B
1) 57.9 OC มวลโมเลกุลของ B = 120
2) 59.4 OC มวลโมเลกุลของ B = 66
3) 57.7 OC มวลโมเลกุลของ B = 132
4) 55.8 OC มวลโมเลกุลของ B = 88

12. สารละลายที่มีน้ ามันระกา 3.80 กรัม ละลายในเบนซีน 245 กรัม


จะมีจุดเยือกแข็งเท่าใด ถ้าน้ ามันระกามีมวลโมเลกุลเท่ากับ 152
และเบซีนมีจุดเยือกแข็ง 5.50OC ค่า Kb ของเบนซี นเท่ากับ 4.90OC

13. สารประกอบชนิดหนึ่งมวล 2.76 กรัม ละลายในเอทานอล 10 กรัม


ได้สารละลายที่มีจุดเดือด 82.16OC จงหามวลโมเลกุลของสารนี้
(จุดเดือดเอทานอล = 78.5OC และ Kb = 1.22OC)

14. เมื่อนาตัวถูกละลายที่ไม่ระเหยชนิ ดหนึ่ งจานวน A โมล ละลายในสาร P 250 g ได้สารละลายที่มีจุดเยือกแข็ง


เท่ากับ -1.85OC เมื่อนาตัวถูกละลายชนิดและจานวนเดียวกันนี้ ไปละลายในน้ า 75 g จะได้สารละลายที่มีจุด
เดือดเพิ่มขึ้นกี่องศาเซลเซี ยส
ตัวทาละลาย Tb (OC) Kb (OC) Tf (OC) Kf (OC)
น้ า 100.00 0.51 0.00 1.86
สาร P 80.10 2.53 5.50 4.90

15. สารละลายผสมของสาร P และ Q ในอัตราส่ วนต่างๆ คือ สาร P Q


สารละลายที่ 1 P : Q = 4 : 1 โดยมวล B.P. (OC) 120 180
สารละลายที่ 2 P : Q = 5 : 2 โดยมวล Kb 2.4 2.2
สารละลายทั้งสองมีจุดเดือดต่างกันกี่องศาเซลเซี ยส Mw 50 100
14 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

เทคนิคเพิม่ ความเร็วในการคานวณสั ดส่ วนองค์ ประกอบในสาร


จงบอกสั ดส่ วนของสารองค์ ประกอบ
1. ร้อยละของ Ca ใน Ca(NO3)2 2. ร้อยละของน้ าใน Na2CO3.7H2O

3. ร้อยละของ Fe ใน Fe3O4 4. ร้อยละของ Al ใน Al2(SO4)3

5. ร้อยละของ K ใน KMnO4 6. ร้อยละของ C ใน C5H10

จากร้ อยละของสารองค์ ประกอบ จงเขียนสู ตรของสาร


1. As 65.2% และ O 34.8% 2. C 24.3% H 4.1% และ Cl 71.6%

3. ไฮโดรเจน 0.250 กรัม คาร์บอน 1.500 กรัม และคลอรี น 8.875 กรัม

4. ออกไซด์ของไนโตรเจนชนิดหนึ่ง 72 กรัม มีธาตุไนโตรเจนอยู่ 46 กรัม


สารประกอบนี้มีสูตรอย่างไร

5. สารประกอบของธาตุ Ca และ X มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 160 ประกอบด้วยธาตุ


Ca 25.0% โดยน้ าหนัก สู ตรโมเลกุลของสารนี้คือ

6. วิตามิน K มีคาร์บอนเป็ นองค์ประกอบ 76.27% และมีมวลโมเลกุล 173.21


วิตามิน K หนึ่งโมเลกุลจะมีคาร์ บอนอยูก่ ี่อะตอม

7. โลหะ M มีมวลอะตอม 200 เมื่อนามาเผากับกามะถันที่มากเกินพอ ปรากฎว่า


ธาตุ M หนัก 16 กรัม ให้สารประกอบหนัก 19.84 กรัม จงหาสู ตรอย่างง่ายของ
สารประกอบนี้

8. เหล็กที่ถลุงแล้วประกอบด้วย C 4% โดยมวล ถ้า C ทั้งหมดอยูใ่ นรู ปของ


สารประกอบเหล็กคาร์ไบด์ โดยร้อยละของเหล็กคาร์ไบด์ในเหล็กที่ถลุง
แล้วนี้เท่ากับ 60 จงหาสู ตรของเหล็กคาร์ไบด์
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 15

แบบฝึ กหัดสั ดส่ วนขององค์ ประกอบในสาร


1. Fe(OH)x มี O เป็ นองค์ประกอบในสัดส่ วน 4/9 โดยมวล
จงหาค่า x

2. Na2CO3.nH2O มีความชื้นอยู่ 45.9%w จงหาค่าของ n

3. Na2CO3.yH2O มี Na อยู่ 16.1%w จงหาค่าของ y

4. MgCl2.zH2O มีธาตุคลอรี นอยูร่ ้อยละ 32.1 โดยมวล จงหาค่า z

5. ESO4 มีธาตุ E เป็ นองค์ประกอบ 40%w เมื่อดูดซับความชื้ น


แล้วกลายเป็ น ESO4.aH2O ซึ่งมี E อยู่ 25.6%w
จงหามวลอะตอมของ E และค่าของ a

6. เมื่อให้ความร้อนแก่ XBrO4 ซึ่ งมีโบรมีนเป็ นองค์กอบอยู่


43.5%w จะสลายตัวให้ก๊าซ O2 และ XBrOn ซึ่งมีโบรมีน
อยู่ 47.6%w จงหามวลอะตอมของ X และค่าของ n

7. KZ(SO4)2 มีองค์ประกอบเป็ น Z อยูร่ ่ อยละ 10.5 โดยมวล


เมื่อโดนความชื้ นจนกลายเป็ น KZ(SO4)2.mH2O พบว่ามี
ความชื้นอยูร่ ้อยละ 45.6 โดยมวล จงหามวลอะตอมของ
G และค่าของ Z

8. เมื่อนาผลึกสารส้ม KAl(SO4)2.mH2O ซึ่ งมีความชื้นร้อยละ


45.6 โดยมวล มาระเหยความชื้นออกไปบางส่ วนจะมีมวล
ลดลงเหลือร้อยละ 84.8 เมื่อเทียบกับน้ าหนักตอนแรกและได้
ผลึกสารส้มที่มีสูตร KAl(SO4)2.nH2O จงหาค่าของ m และ n
16 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

สมการเคมี
สมการเคมี คือ ..................................................................................................................
สารที่อยูฝ่ ั่งซ้ายของลูกศร เรี ยกว่า ..................... ส่ วนสารที่อยูฝ่ ั่งขวาของลูกศร เรี ยกว่า ......................
ตัวอักษรในวงเล็บหลังสู ตรสารแต่ละสารบอกถึง ..........................
และสิ่ งที่อยูเ่ หนือหรื อใต้ลูกศร ระบุถึง ...................................................................................
ค่า ΔH บอกถึง ........................................................................................................................
1. จงอธิบายสมการเคมีต่อไปนี้

1.1) H2(g) + 2O2(g) → 2H2O(l) ΔH = -285 kJ/mol

...............................................................................................................................................................
1.2) C(s) + O2(g) →
∆ CO (g) ΔH = -1100 kJ/mol
2

...............................................................................................................................................................
1.3) 3H2(g) + N2(g) 200 atm
2NH3(g) ΔH = -92.4 kJ/mol
...............................................................................................................................................................
หลักการดุลสมการเคมี
ธาตุในสมการเคมี มีหลายธาตุ ให้เริ่ มดุลจาก ..................................................................... เช่น
FeCO3 → Fe2O3 + CO2 + CO ให้เริ่ มดุลจากธาตุ ........ ก่อน
2. จงดุลสมการต่ อไปนี้
2.1) CuO + H2 → Cu2O + H2O
2.2) NaOH + CO2 → Na2CO3 + H2 O
2.3) O2 → O3
2.4) KNO3 → K2O + NO2 + NO
2.5) C5H12 + O2 → CO2 + H2O
2.6) CaCO3 + HNO3 → Ca(NO3)2 + H2O + CO2
2.7) AgNO3 + CaCl2 → Ca(NO3)2 + AgCl
2.8) Sb2S3 + O2 → Sb2O3 + SO2
2.9) TiO2 + Cl2 + C → TiCl4 + CO2
2.10) NH3 + O2 → NO + H2O
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 17

3. การเทียบปริมาณสารในสมการเคมี
3.1) KClO3 → KCl + O2
จะเกิดก๊าซออกซิ เจนขึ้นกี่โมลเมื่อเริ่ มต้นด้วยโพแทสเซี ยมคลอเรต 12 โมล

3.2) K + Cl2 → KCl


โลหะโพแทสเซียม 2.5 กรัมสามารถผลิตโพแทสเซียมคลอไรด์ได้กี่กรัม

3.3) Na2O + H2O → NaOH


เมื่อละลายโซเดียมออกไซด์ 1.20 x 102 กรัมจะเกิดโซเดียมไฮดรอกไซด์ข้ ึนกี่กรัม

3.4) Fe + S8 → FeS
ก. ต้องใช้เหล็กหนักเท่าเพื่อทาปฏิกิริยาพอดีกบั ซัลเฟอร์ 16 กรัม
ข. จะเกิดสารประกอบซัลไฟด์ข้ ึนกี่กรัม

3.5) NaClO3 → NaCl + O2


ก.โซเดียมคลอเรต 12 กรัมสามารถผลิตก๊าซออกซิ เจนได้กี่กรัม
ข. ด้วยปฏิกิริยานี้ถา้ เกิดก๊าซออกซิ เจน 80 กรัมจะเกิดเกลือขึ้นกี่กรัม

3.6) Cu + AgNO3 → Cu(NO3)2 + Ag


ก. ต้องใช้โลหะทองแดงกี่โมลเพื่อทาปฏิกิริยาพอดีกบั ซิ ลเวอร์ ไนเตรท 3.5 โมล
ข. ถ้าต้องการเงินหนัก 89.5 กรัม ต้องใช้โลหะทองแดงหนักกี่กรัม

3.7) Fe2O3 + C → Fe + CO
การถลุงเหล็กในเตาเผา ถ้าใช้ถ่านโค้กมากเกินพอทาปฏิกิรยากับสารประกอบเหล็กออกไซด์
ปริ มาณ 25.0 กิโลกรัมจะได้เหล็กหนักกี่กิโลกรัม
18 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

3.8) CO2 + H2O → C6H12O6 + O2


มนุษย์ตอ้ งการกลูโคสวันละ 12 กรัม ต้องใช้ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์กี่กรัมในการสังเคราะห์
กลูโคสปริ มาณดังกล่าวโดยกระบวนการสังเคราะห์แสง

แบบฝึ กหัดปริมาณสารในสมการเคมี

1. C3H8 (g) + O2 (g) → CO2 (g) + H2O (g)


ก. ต้องใช้ก๊าซออกซิ เจนกี่โมลเพื่อทาปฏิกิริยาพอดี
กับโพรเพน 2.25 โมล

ข. จากปฏิกิริยาดังกล่าว ถ้ามีก๊าซออกซิ เจน 3.5 โมล


จะเกิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ข้ ึนกี่โมล

ค. จากปฏิกิริยาดังกล่าว ถ้าเกิดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์


ขึ้น 4.75 โมล จะเกิดน้ าขึ้นกี่โมล

ง. ต้องใช้โพรเพนกี่โมลเพื่อต้องการผลิตไอน้ า 1.50 โมล

2. Fe2O3 (s) + CO (g) → Fe (s) + CO2 (g)


ก. จงคานวณน้ าหนักของก๊าซคาร์ บอนมอนอกไซด์
ที่ใช้ในการถลุงเหล็กออกไซด์ 80.0 กรัม

ข. จงคานวณหาน้ าหนักของเหล็กที่เกิดขึ้นเมื่อใช้
คาร์บอนมอนอกไซด์ 140 กรัมในการถลุง

ค. ถ้าต้องการเหล็กหนัก 140 กรัม จะต้องเกิดก๊าซ


คาร์ บอนไดออกไซด์ข้ ึนกี่กรัม
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 19

3. NaN3 (s) spark→ Na (s) + N2 (g) ระบบถุงลมนิ รภัย ถุงลมสามารถพองตัวออกได้ดว้ ยปฏิกิริยาการ


สลายตัวของโซเดียมเอไซด์
ก. ถ้าต้องการก๊าซไนโตรเจนปริ มาตร 44.8 ลิตร
จะต้องใช้โซเดียมเอไซด์กี่กรัม

ข. ถ้าวัดปริ มาณของโซเดียมที่เกิดขึ้นได้ 175 กรัม


จะเกิดก๊าซไนโตรเจนขึ้นกี่ลิตร

4. Al (s) + HCl (aq) → AlCl3 (aq) + H2 (g)


ก. ละลายอลูมิเนียม 54.0 กรัมในกรดมากเกินพอ
จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนขึ้นกี่ลิตรที่ STP

ข. ถ้ามีกรดไฮโดรคลอริ กบริ สุทธิ์ 73 กรัม จะละลาย


โลหะได้กี่กรัมและเกิดก๊าซไฮโดรเจนขึ้นกี่ลิตร

ค. เมื่อละลายโลหะอลูมิเนียม 5.00 โมลด้วยกรดไฮโดรคลอริ ก


5.00 โมล จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนขึ้นกี่โมล

ง. ละลายอลูมิเนียม 73 กรัม ในกรดไฮโดรคลอริ กบริ สุทธิ์


73 กรัม จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนขึ้นกี่ลิตร

5. ลวด Mg 2.4 g ทาปฏิกิริยากับกรด HCl 17.3 g ภายหลังพบว่า


มีสารเหลืออยู่ 19.5 g จงหาว่าเกิดก๊าซขึ้นกี่กรัม
20 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

6. โลหะชนิดหนึ่งหนัก 1.021 g ถูกละลายด้วยกรดไนตริ กจนหมด ได้ เ กลื อ ไนเตรท จากนั้ นน าไปเผาจน


สลายตัวหมดเหลือโลหะออกไซด์หนัก 1.1 g และเมื่อนาโลหะออกไซด์น้ ี 5 g มาทาปฏิกิริยากับ H2 มากเกิน
พอได้โลหะ 4.64 g

7. ก๊าซ NH3 ประกอบด้วย N 82.4% และ H 17.6% ถ้าใช้ธาตุ N 10 g และ H 3 g จะเกิด NH3 กี่กรัม

8. เผาโลหะ Zn 3.27 g ในภาชนะปิ ดที่มีออกซิ เจนมากกินพอได้ออกไซด์หนัก 4.07 g ถ้ามี Zn หนัก 26.16 g


ต้องใช้ออกซิ เจนอย่างน้อยกี่กรัมจึงจะเกิดปฏิกิริยาได้พอดี

9. ก๊าซ carbondioxide ประกอบด้วย C 27.27%w ถ้านาคาร์บอนและ


ออกซิ เจนมาอย่างละ 50 g จะเกิดก๊าซ carbondioxide กี่กรัม

สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
1. การบอกจานวน C ในโมเลกุล (กาหนดให้ จานวน C เท่ากับ n)
C1 C2 C3 C4 C5
C6 C7 C8 C9 C10

2. จานวน H ในโมเลกุล ในกรณี มีโครงสร้าเป็ นโซ่เปิ ด (aliphatic hydrocarbon)


Alkane, H = 2n + 2 ให้ลงท้ายเสี ยง .....................
Alkene, H = 2n ให้ลงท้ายเสี ยง ..................... (ต้องมีพนั ธะคู่ระหว่าง C, C = C)
Alkyne, H = 2n – 2 ให้ลงท้ายเสี ยง ..................... (ต้องมีพนั ธะสามระหว่าง C, C ≡ C)
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 21

3. จงเรี ยกชื่อสารไฮโดรคาร์ บอนต่อไปนี้


1) CH4 = ........................... 2) C2H6 = .......................... 3) C2H4 = .......................
4) C3H8 = ........................... 5) C5H10 = ........................... 6) C6H10 = .....................
7) C6H12 = .......................... 8) C8H14 = .......................... 9) C4H8 = ........................

4. ในกรณี ที่มีโครงสร้างเป็ นวงปิ ด (alocyclic hydrocabon) จานวน H จะลดลง 2 ตัว ต่อ 1 วง เช่น
C4H8 C5H10 C6H10 C8H14

การเรี ยกชื่ อ จะมีคาว่า .............. นาหน้าชื่อ


จงเขียนสู ตร โครงสร้ างแบบเส้ นและมุม จาก สู ตรโครงสร้ างแบบย่ อ
1. CH3CH2CH2CH2CH3 2. CH3CH=CHCH2CH3

3. (CH3)2CHCH2CH(CH3)CH2CH3 4. (C2H5)2CHCH=CHCH(CH3)2

5. CH2=CHCH(C3H7)CH2CH3 6. CH≡CCH2CH(C2H5)CH2CH2CH3

จงเขียนสู ตร สู ตรโครงสร้ างแบบย่ อ จาก โครงสร้ างแบบเส้ นและมุม


1. 2.

3. 4.
22 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

หลักการอ่านชื่อสารไฮโดรคาร์ บอนที่มีความซับซ้ อน ตามหลัก IUPAC


1. ...............................................................................................................................................
2. ...............................................................................................................................................
3. ...............................................................................................................................................
จงอ่านชื่อ IUPAC ของสารต่ อไปนี้
1. 2.

3. 4.

5. 6.

7. 8.

9. 10.

11. 12.

13. 14. 15.


เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 23

จงเขียนสู ตร โครงสร้ างแบบลิวอิส จากชื่อของสารต่ อไปนี้


1. 3-ethyl-4-methylhexane 2. 2,3-dichlorocyclopentene

3. 2,2,5,5-tetramethyl-3-hexene 4. 3-bromo-3-ethyl-2-methyl-4-octyne

4. 2,3,5-triethylcyclohexene 6. 4-cyclobutyl-2,4-heptadiene

จงเขียนสู ตร โครงสร้ างแบบย่อผสมลิวอิส ของสารต่ อไปนี้


1. 4-propylheptane 2. 2,4-dibromo -3-ethyl-1-pentene

2. 3,4-diethyl-1-hexyne 4. 1-chloro-4-ethyl-2-octene

5. 2,2,4-trimethylpentane 6. 1,2,4,5-tetramethylbenzene
24 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

จงเขียนสู ตร โครงสร้ างแบบย่อ ของสารต่ อไปนี้

1. 3-ethenyl-1,5-pentadiene 2. 2-cyclopropylbutane

3. 1,5-dichloro-2-pentene 4. 2,4-dimethyl-1-hexene

5. 4,5,5-tribromo-1-heptyne 6. 3,5,5-trimethyl-1-hexene

จงเขียนสู ตร โครงสร้ างแบบเส้ นและมุม ของสารต่ อไปนี้

1. 2,3-dimethyl-2pentene 2. 1,1,5-trichloro-3-hexyne

3. 1,1,2,2-tetrachloroethane 4. 2,2-dimethyl-3,3-diethylpentane

5. 5-bromo-7-chloro-2,4-octadiene 6. 1,1,4-trichlorobenzene
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 25

ไอโซเมอร์ ของโครงสร้ าง
ไอโซเมอร์ โครงสร้าง หมายถึง ...............................................................................................................
จงระบุว่าสารในแต่ ละข้ อเป็ นไอโซเมอร์ กนั หรื อไม่ ถ้ าไม่ เป็ นเพราะเหตุใด

จงเขียนไอโซเมอร์ ของสารต่อไปนี้และเรี ยกชื่ อให้ถูกต้องตามหลัก IUPAC


1. C4H10

2. C5H12
26 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

3. C6H14

4. C7H16

5. C4H8 (alkene)

6. C5H10 (alkene)

7. C4H8 (alicyclic)

8. C5H10 (alicyclic)

9. C6H12 (alicyclic)
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 27

แบบฝึ กหัดการบ้ าน
1. หน่วยวัดปริ มาณต่างๆในทางเคมีที่นกั เรี ยนต้องเรี ยนรู ้และทาความเข้าใจมีอยูห่ ลายหน่วยและหลายมิติ ใน
ขั้นต้น จงเติมค่าของคาอุปสรรคลงในตาราง
สัญลักษณ์ตวั พหุคูณ n μ M c d k
คาอ่าน
ความหมาย
2. ปริ มาณที่ใช้เป็ นส่ วนใหญ่ในทางเคมี แสดงดังตารางต่อไปนี้
ปริมาณ หน่ วยต่ างๆทีใ่ ช้
มวล 1g mg kg
ปริ มาตร 1 mL cm3 dm3 L m3
อุณหภูมิ 0 OC K O
F
ความดัน 1 atm torr Pa kPa
mmHg
โมล mol

3. จงบอกหน่วยของค่าต่อไปนี้
1) มวลอะตอม, มวลโมเลกุล, มวลตามสู ตร มีหน่วยเป็ น ____________
2) ความเข้มข้นโมลาร์ มีหน่วยเป็ น ____________________
3) ความหนาแน่น มีหน่วยเป็ น ________________________

4. สาร 1 โมลจะมีมวลเป็ นกรัมเท่ากับมวลอะตอม หรื อมวลโมเลกุล หรื อมวลตามสู ตร


สารต่อไปนี้มีปริ มาณเท่าใด
สาร มวล โมล สาร มวล โมล
CO2 2 mol Fe 280 g
H2O 0.25 mol Br2 32 g
C2H5OH 12 mol CH4 12 g
28 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

5. ก๊าซทุกชนิดที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 OC ปริ มาณ 1 โมลจะมีปริ มาตร 22.4 ลิตร


จงเติมตารางให้สมบูรณ์
ก๊าซ ปริ มาตร โมล ก๊าซ ปริ มาตร โมล
Cl2 NH3
142 g 85 g
CH4 NO2
40 g 18.4 g cm3
SO3 C3H8
5.6 g cm3 22 g

6. ตัวอย่างที่ 1 ธาตุ C จานวน 1 mol หนัก 12 g มีจานวนอนุ ภาคเท่ากับ 6.02 x1023 อะตอม
ตัวอย่างที่ 2 โมเลกุลโคเวเลนต์ CO2 จานวน 1 โมล หนัก 44 g มีจานวนอนุภาคเท่ากับ 6.02 x1023 โมเลกุล
และมีจานวนอะตอมเท่ากับ 3 x6.02 x1023 อะตอม
ตัวอย่างที่ 3 สารไอออนิก AlCl2 จานวน 1 mol หนัก 179 g มีจานวนอนุภาคเท่ากับ 4 x6.02 x1023 ไอออน
จาก 3 ตัวอย่างข้างต้น จงเติมตารางให้สมบูรณ์
สาร จานวนโมล มวล จานวนอนุภาค
N2 0.25 mol
CCl4 0.5 mol
Na 46 g
KOH 14 g
H2O 3 x6.02 x1023 atom
NH4Cl 2 x6.02 x1023 ion

7. สารในข้อใดมีจานวนโมลมากที่สุด
1) CCl4 30.8 g 2) PbCl2 27.8 g
3) AgNO3 25.5 g 4) KMnO4 23.8 g
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 29

8. สารในข้อใดมีจานวนอะตอมมากที่สุด
1) CO2 5.6 dm3 ที่ STP 2) SO3 0.2 mol
3) Cl2 21.3 g 4) N2O4 2.24 dm3 ที่ STP

9. คริ ปตอนที่มีปริ มาตร 44.8 ลิตรที่สภาวะมาตรฐาน จะมีมวลเท่าไร (Kr = 84)


1) 22.4 กรัม 2) 44.8 กรัม
3) 84.0 กรัม 4) 168.0 กรัม

10. Na2CO3 หนักกี่กรัมจึงจะมีจานวนอะตอมโซเดียมเท่ากับ Na3PO4 16.4 กรัม


1) 10.6 กรัม 2) 15.9 กรัม
3) 21.2 กรัม 4) 31.8 กรัม

11. จงหามวลแมกนีเซียม 1 อะตอม (Mg = 24)


1) 3 x10-23 2) 6 x10-23
3) 12 x10-23 4) 24 x10-23

12. ก๊าซไฮโดรเจน 2.24 cm3 ที่สภาวะมาตรฐานมีจานวนกี่โมเลกุล


1) 3.01 x10-20 2) 6.02 x10-20
3) 3.01 x10-19 4) 6.02 x10-19

13. ธาตุ A มีมวลอะตอมเท่ากับ x และธาตุ A จานวน 1 อะตอมหนัก y กรัม ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้อง
1) ธาตุ A หนัก 10 กรัม มีจานวนอะตอมเท่ากับ 10/y
2) ธาตุ A หนัก 10 กรัม มีจานวนโมลเท่ากับ 10/ x
3) ธาตุ A 1 โมลหนักเท่ากับ (6.02 x1023)y
4) y/x มีค่าเท่ากับ เลขอโวกาโดร

14. ก๊าซชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 2.5 g/dm3 ก๊าซนี้น่าจะเป็ นก๊าซใด


1) CO2 2) CH4
3) C4H8 4) Cl2

15. ก๊าซ A2O3 จานวน 3.01 x1023 อะตอม จะมีปริ มาตรเท่าใดที่ STP
1) 2.24 dm3 2) 1.12 dm3
3) 22.4 dm3 4) 11.2 dm3
30 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

16. ธาตุ A 10 อะตอมมีมวลเป็ น 50 เท่าของ 12C 2 อะตอม ถ้ามวลอะตอมของ A เป็ น 4 เท่าของธาตุ B จงหามวล
อะตอมของ B
1) 10 2) 20
3) 30 4) 40

สารละลาย
17. สารละลาย NaOH 0.5 mol/dm3 จานวนกี่ cm3 จึงจะมีไฮดรอกไซด์ไอออนเท่ากับ สารละลาย Ca(OH)2 0.02
mol/dm3 2 ลิตร

18. สารละลาย NaOH 0.5 mol/dm3 จานวนกี่ cm3 จึงจะมีไฮดรอกไซด์ไอออนเท่ากับ สารละลาย Ca(OH)2 0.02
mol/dm3 2 ลิตร

19. อัดก๊าซ CO2 112 L (ที่ STP) ให้ละลายน้ าจนได้สารละลาย 500 L จะมีความเข้มข้นกี่ molar

20. ใส่ กรดแอซี ติก (CH3COOH) 6 g ลงในน้ า 2 ลิตร

21. ละลาย MgSO4 12 กรัม ในน้ า 60 cm3 จะได้สารละลายเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวล

22. สารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ (MgCl2) เข้มข้น 0.5 M จานวน 500 cm3 จะมีคลอไรด์ไอออนอยูก่ ี่โมล
1) 0.25 2) 0.50
3) 1.0 4) 17.75

23. ถ้าละลายผลึก Na2S2O3.5H2O หนัก 24.8 กรัม ในน้ า จนได้สารละลาย 500 cm3 จงหาความเข้มข้นของ Na+
ในสารละลายในหน่วยโมลาร์
1) 0.1 2) 0.2
3) 0.3 4) 0.4
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 31

24. ในการเตรี ยมสารละลาย X2Y เข้มข้น 0.25 mol/dm3 ทาโดยละลาย X2Y 3.2 กรัมในน้ าจนได้สารละลาย 250
cm3 ถ้า Y มีมวลอะตอมเป็ น 2 เท่าของ X จงหามวลอะตอมของธาตุท้ งั สอง
1) 4, 8 2) 5, 10
3) 16, 32 4) 22, 44

25. โซเดียมซัลเฟต 0.4 M จานวนกี่ cm3 จึงจะมีจานวน Na+ เท่ากับโซเดียมคลอไรด์ 0.2 M จานวน300 cm3
1) 37.5 2) 75
3) 150 4) 300

26. สารละลายใดต่อไปนี้เจือจางที่สุด
1) HNO3 0.2 mol/L
2) NaOH 15 g/น้ า 500 cm3
3) CO2 10 dm3 ที่ STP ละลายน้ า 1 dm3
4) C6H12O6 10 g/น้ า 100 cm3

สมบัติคอลิเกทีฟ
27. ถ้าละลายสารชนิดหนึ่ง 20 กรัม ลงในน้ า 200 กรัม ปรากฎว่าน้ ามีจุดเดือดที่
101.06 องศาเซลเซี ยส หากละลายสารนี้จานวน 40 กรัม ในตัวทาละลาย A
ปริ มาณ 1 กิโลกรัม จะได้สารละลายที่มีจุดเดือดเท่าใด
ค่า Kb ของสาร A = 0.8 OC∙kg/mol จุดเดือดของสาร A บริ สุทธิ์ เท่ากับ 80 OC

28. สาร A ละลายในกรดแอซีติกเป็ นสารละลายที่มีความเข้มข้น 1 mol/kg มีจุดเดือด


120.97OC ถ้า kb ของกรดแอซี ติกเท่ากับ 3.07 จงหาจุดเดือดปกติของกรดแอซีติก

29. เบนซีน (C6H6) มีค่า Kb = 2.5 ถ้าละลายโทลูอีน (C6H5CH3) 4.6 กรัม ลงในเบนซีน
250 กรัม สารละลายที่ได้จะมีจุดเดือดเปลี่ยนไปเท่าไร
32 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

30. สาร A มีมวลโมเลกุล 100 g/mol สามารถละลายน้ าได้แต่ไม่แตกตัว ถ้าต้องการ


ได้สารละลาย A ในน้ ามีจุดเยือกแข็งที่ -7.44 OC จะต้องใส่ สาร A กี่กรัมลงไปใน
น้ าครึ่ งกิโลกรัม

31. สารละลาย A 10 กรัม ในเอทานอล 400 กรัม มีจุดเดือด 82OC สารละลาย A 15 กรัม
ในเอทานอล 250 กรัม จะมีจุดเดือดเท่าใด กาหนดให้เอทานอลมีจุดเดือดปกติ 78OC

สั ดส่ วนองค์ ประกอบ


32. ปุ๋ ยแอมโมเนียมไนเตรท (NH4NO3) มีไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบกี่เปอร์ เซ็นต์
1) 17.5% 2) 25%
3) 35% 4) 35.5%

33. สารต่อไปนี้ ข้อใดมีองค์ประกอบโดยมวลของออกซิ เจนมากที่สุด (B=11)


1) Na2B4O7 2) C6H12O6
3) Ca(NO3)2 4) H2S2O7

34. สารใดต่อไปนี้มีองค์ประกอบโดยมวลของกามะถันมากที่สุด
1) NaHSO3 2) Na2S2O3
3) H2S2O7 4) Fe2(SO4)3

35. สารใดมีมวลของไนโตรเจนมากที่สุด
1) 0.1 mol ของ Pb(NO3)2
2) 0.30 mol/dm3 ของสารละลาย (NH4)3PO4 จานวน 400 cm3
3) 10 g ของ NH4NO3
4) 1.204x1023 โมเลกุลของ NH2CONH2
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 33

36. BaO2 ในธรรมชาติเป็ นรู ปโครงผลึกที่มีน้ าอยูด่ ว้ ย นาผลึกนี้ 314 กรัม มาให้ความร้อน จะสู ญเสี ยน้ า 144 กรัม
ในสุ ตรของโครงผลึกนี้มีน้ าอยูก่ ี่โมเลกุล
1) 7 2) 8
3) 9 4) 10

37. เมื่อนาไอร์ ออน (II) ซัลเฟตที่มีผลึกน้ า 27.8 กรัม มาเผาพบว่ามีน้ าเกิดขึ้น 12.6 กรัม n มีค่าเท่าใด
1) 4 2) 5
3) 7 4) 10

สมการเคมี
38. ต้องใช้ก๊าซออกซิ เจนกี่โมเลกุลเพื่อทาปฏิกิริยาพอดีกบั คาร์ บอนมอนอกไซด์ 174 g
__ CO + __ O2 → __ CO2

39. ต้องก๊าซออกซิ เจนกี่ลิตรในการเผาลวดแมกนีเซี ยม1.4 g


__ Mg + __ O2 → __ MgO

40. ต้องใช้ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์กี่กรัมเพื่อให้สลายตัวให้น้ า 48.64 g


__ H2O2 → __ O2 + __ H2O

41. ต้องก๊าซออกซิ เจนกี่ลิตรเพื่อให้เกิดปฏิกิริยากับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ 5.2×1022 โมเลกุล


__ H2S + __ O2 → __ SO2 + __ H2O

42. ต้องใช้ก๊าซคลอรี นกี่กรัมในการผลิตก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ 258 ลิตรที่ STP


__ H2 + __ Cl2 → __ HCl

43. แคลเซียมคาร์ไบด์ 6.2×1022 โมเลกุลสามารถผลิตก๊าซอะเซทิลีนได้กี่กรัม


__ CaC2 + __ H2O → __ Ca(OH)2 + __ C2H2
34 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

44. ต้องใช้โซเดียมไอโอไดด์กี่กรัมเพื่อให้เกิดฏิกิริยาพอดีกบั ก๊าซคลอรี น 7.82 g


__ NaI + __ Cl2 → __ NaCl + __ I2

45. ต้องใช้โลหะโซเดียมกี่กรัมใส่ ลงในน้ าเพื่อผลิตก๊าซไฮโดรเจน 8.2 ลิตรที่ STP


__ Na + __ H2O → __ NaOH + __ H2

46. ไตรไนโตรโทลูอีน 68.2 กรัมสามารถสลายตัวให้ก๊าซไนโตรเจนกี่ลิตรที่ STP


__ C7H5(NO2)3 → __ C + __ CO + __ H2 + __ N2
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 35

ภาคผนวก ฝึ กคิดคานวณ ซ้าเพือ่ เพิม่ ความคล่องและความเร็วในการคิด


1. มวลของกลุ่มอะตอมหรื อไอออนที่ควรจาได้ เพื่อเพิ่มความเร็ วในการคานวณ Mw ของสาร
สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw
OH- H2O CO32- PO43-
Cl2 NH4+ NO3- SO42-

2. จงเติมมวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้ ซึ่ งเป็ นสารที่นิยมออกข้อสอบ (speed test)


สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw สู ตรสาร Mw
NH3 Ca(OH)2 CaCl2 AgNO3
HCl SO3 MgSO4 C6H12O6
NaOH MgCO3 KClO3 BaCO3
CO2 NaHCO3 (NH4)2SO4 BaCl2
NO2 MnO2 Na2SO4 BaSO4
C2H5OH FeS AgCl K2Cr2O7
Mg(OH)2 C3H8O2 CuSO4 PbSO4
NaCl MgCl2 FeSO4 Hg(NO3)2
NH2CONH2 H3PO4 CCl4 Pb(NO3)2
CH3COOH H2SO4 KMnO4 C12H22O11
HNO3 CaCO3 ZnSO4 Al2(SO4)3
SO2 Na2CO3 Na3PO4 Fe2(SO4)3

3. จงคานวณจานวนโมลของสารต่อไปนี้ อย่างรวดเร็ ว
1) 8.0 g-NaOH = …………. 2) 126 g-HNO3 = ……….. 3) 6.08 g-FeSO4 = …………..
4) 4.2 g-Urea = …………. 5) 47.4 g-KMnO4 = ……….. 6) 6.67 g-CaCl2 = …………..
7) 1.45 g-Mg(OH)2= ………. 8) 57.0 g-MgCl2 = ……….. 9) 7.0 g-BaSO4 = …………..
10) 2.8 g-NaHCO3= …………. 11) 12.5 g-CaCO3 = ……….. 12) 11.32 g Na2SO4 = …………..
13) 9.9 g-(NH4)2SO4= ……….. 14) 6.29 g-Ca(OH)2 = ……….. 15) 3.94 g-BaCO3 = …………..
36 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

4. ตารางเพิ่มความเร็ วในการคานวณจานวนโมลและปริ มาตรก๊าซที่ STP


โมล ลิตร โมล ลิตร ลิตร โมล โมล ลิตร
0.1 2.24 0.1 2.24 0.1
0.125 2.80 0.125 2.80 11.20
0.15 3.36 0.15 3.36 0.375
0.2 4.48 0.2 4.48 4.48
0.25 5.60 0.25 5.60 0.85
0.3 6.72 0.3 6.72 19.60
0.375 8.40 0.375 8.40 0.15
0.4 8.96 0.4 8.96 0.4
0.5 11.20 0.5 11.20 2.80
0.6 13.44 0.6 13.44 16.80
0.625 14.00 0.625 14.00 0.625
0.7 15.68 0.7 15.68 0.9
0.75 16.80 0.75 16.80 13.44
0.8 17.92 0.8 17.92 17.92
0.85 19.04 0.85 19.04 0.25
0.875 19.60 0.875 19.60 6.72
0.9 20.16 0.9 20.16 0.7
0.925 20.72 0.925 20.72 20.72
0.95 21.28 0.95 21.28 21.28
0.975 21.84 0.975 21.84 21.84

5. จงบอกจานวนโมลของก๊าซต่อไปนี้ที่ STP (ก๊าซ 1 โมล ที่ STP มีปริ มาตร 22.4 dm3 หรื อ 22,400 cm3)
ปริ มาตร (dm3) 0.112 1.68 1.344 196 0.84 0.448 56 2.24 201.6
จานวนโมล

ปริ มาตร (dm3) 21.84 1.4 156.8 112 28 212.8 0.336 207.2 89.6
จานวนโมล

ปริ มาตร (cm3) 560 8400 67.2 140 1960 11200 1680 896 2184
จานวนโมล
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 37

6. จากค่าความเข้มข้นของสารละลาย และปริ มาตร จงคานวณจานวนโมลของสาร


ความเข้มข้น ปริ มาตร จานวนโมล ความเข้มข้น ปริ มาตร จานวนโมล
2.0 mol/dm3 210 cm3 0.50 mol/dm3 50 cm3
0.10 mol/dm3 400 cm3 0.4 mol/dm3 1.5 dm3
0.25 mol/dm3 30 cm3 0.02 mol/dm3 800 cm3
0.625 mol/dm3 20 cm3 0.08 mol/dm3 25 cm3

7. ถ้าต้องการสารตามจานวนโมลที่กาหนด จะต้องใช้สารละลายที่เข้มข้นในแต่ละข้อ ในปริ มาตรเท่าใด


จานวนโมล ความเข้มข้น ปริ มาตร จานวนโมล ความเข้มข้น ปริ มาตร
0.20 0.05 mol/dm3 0.300 2.5 mol/dm3
0.003 0.04 mol/dm3 0.225 0.15
mol/dm3
0.05 0.2 mol/dm3 0.0625 0.25
mol/dm3
0.20 0.8 mol/dm3 0.0048 0.12
mol/dm3

8. การเตรี ยมสารละลายโดยการละลายสารต่อไปนี้ในน้ า จงเติมต่างๆลงในตาราง


1) เตรี ยมสารลาย Na2CO3 โดยละลาย Na2CO3 หนัก 2.515 กรัมลงในน้ า จนได้สารละลาย 200 cm3 ซึ่งมี
ความหนาแน่น 1.02 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา
38 | เคมีครูก๊ กุ สยามสแควร์ ซอย 6

2) เตรี ยมสารลาย CuSO4 โดยละลาย CuSO4.5H2O หนัก 3.60 กรัมลงในน้ า จนได้สารละลาย 300 cm3 ซึ่งมี
ความหนาแน่น 1.01 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา

3) เตรี ยมสารลาย NaOH โดยละลายผลึก NaOH (ความบริ สุทธิ์ 96%w ที่เหลือเป็ นความชื้ น) หนัก 20 กรัม
ลงในน้ า 280 กรัม จะได้สารละลายที่มีความหนาแน่น 1.25 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา

4) เตรี ยมสารลาย CuSO4 โดยละลายผลึก CuSO4.5H2O หนัก 25 กรัม ลงในน้ า 180 กรัม และได้สารละลายที่
มีความหนาแน่น 1.025 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา
เทคนิ ค ปริ มาณสารสั ม พั น ธ์ | 39

5) เตรี ยมสารลาย MgCl2 โดยละลายผลึก MgCl2.7H2O หนัก 66.3 กรัม ลงในน้ าจนได้สารละลาย 300 cm3
และได้สารละลายที่มีความหนาแน่น 1.121 g/cm3

ตัวถูกละลาย ………… g ……….. mol


ตัวทาละลาย ---- …………. g …………. kg
สารละลาย ………… cm3 ………….. g ……….. mol ………… dm3
จากตาราง สามารถเขียนระบุค่าความเข้มข้นได้หลายหน่วย คือ
%w , %m %w/vol , %m/v mol/dm3 , Molar mol/kg , molal Xตัวถูก Xตัวทา

You might also like