You are on page 1of 5

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมปลาย)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 2. (9 คะแนน)

การวัดสเปกตรัมของกาแล็กซีกังหันหนึ่ง พบว่าเส้นดูดกลืนแสงจากธาตุ Mg (Mg-absorption line) ซึ่งมีความ


ยาวคลื่นในห้องปฏิบัติการ 0  518.3 nm ถูกเลื่อนไปทางสีแดง (redshift) โดยที่วัดค่าความยาวคลื่นเฉลี่ยได้
เท่ากับ 529.5±0.03 nm หากวัดความกว้างของเส้นดูดกลืนแสง พบว่ามีความยาวคลื่นต่่าสุดวัดได้เท่ากับ
529.3±0.02 nm และสูงสุดเป็น 529.7±0.02 nm กาแล็กซีนี้มีขนาดเชิงมุมเท่ากับ 2.9 ลิปดา และระนาบของ
กาแล็กซีอยู่ในแนวสายตา
 F10pc 
ก่าหนดให้ reference flux จากความสัมพันธ์ M mag   2.5log10 
 F0 @10pc 
 
ในที่นี้ F0 @10pc  3880 Jy

2.1จงวิเคราะห์หาระยะห่างของกาแล็กซีจากเราพร้อมกับค่านวณหาค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติ (statistical
uncertainties)

2.2 กาแล็กซีในข้อ 2.1) ประกอบด้วยดาวฤกษ์ชนิดต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 1 ซึ่งคอลัมน์ที่ 2 คือสัดส่วนของ


ฟลักซ์รวมของดาวทุกดวงในแต่ละชนิดสเปกตรัม (spectral type) ต่อฟลักซ์ทั้งหมดของกาแล็กซี และคอลัมน์ที่ 3
คือโชติมาตรสัมบูรณ์ (absolute magnitude) ต่อดวงของดาวฤกษ์ในแต่ละชนิดสเปกตรัม ถ้าโชติมาตรปรากฎ
(apparent magnitude) ของกาแล็กซีมีค่าเท่ากับ +12.6
a) จงหา flux ที่ 10 pc ในหน่วย Jy ของกาแล็กซีนี้
b) จงหาจ่านวนของดาวฤกษ์ในแต่ละชนิดสเปกตรัม
c) จงหามวลรวมของดาวฤกษ์ในแต่ละชนิดสเปกตรัม
d) แล้วใช้ข้อมูล จากตารางที่ 1 เพื่อวิเคราะห์หาค่ามวลที่วัดจากความสว่าง (luminous mass หรือ
visible mass) ของกาแล็กซี
2.3 หากเราใช้ความกว้างของเส้นสเปกตรัมดูดกลืนแสง (line width) ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจาก Doppler shift ของ
แก๊สในจานของกาแล็กซี เพื่อหามวลที่วัดจากการเคลื่อนที่ (dynamical mass) ได้ค่าเท่ากับ 𝑀𝑑𝑦𝑛 = 1.3 ×
1011 𝑀𝑆𝑢𝑛
จงเปรียบเทียบ dynamical mass กับ luminous mass ที่หาได้ในข้อ 2.2 และหาสัดส่วนของความ
แตกต่างระหว่างมวลทั้งสองแบบเทียบกับ dynamical mass
ค่าความแตกต่ างระหว่า งมวลทั้ งสองนี้ เป็ นปั ญหาทางดาราศาสตร์ ที่รู้ จักกั นดี ว่า missing mass
problem

1
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 1

Spectral Type สัดส่วนของฟลักซ์


Absolute Magnitude มวลต่อดวง
(ต่อดวง) (ในหน่วย M )
G4V 0.0100 4.9 0.955
G6V 0.0080 5.2 0.891
K0V 0.0040 5.9 0.759
K2V 0.0030 6.4 0.676
K4V 0.0020 7.0 0.589
K5V 0.0010 7.4 0.543
K7V 0.0009 8.1 0.457
M0V 0.0008 8.8 0.340
M1V 0.0007 9.3 0.244
M2V 0.0006 9.9 0.125
M3V 0.0004 10.4 0.102
M4V 0.0003 11.3 0.090
M5V 0.0002 12.3 0.085
M6V 0.0001 13.3 0.082
G0III 0.0130 1.0 0.950
G4III 0.0200 0.9 0.960
G6III 0.0300 0.9 0.970
G8III 0.0400 0.8 0.980
K0III 0.0500 0.7 0.990
K1III 0.0700 0.6 0.995
K2III 0.0750 0.5 0.996
K3III 0.0850 0.3 0.997
K4III 0.1000 0.0 0.998
K5III 0.1000 -0.2 0.999
M0III 0.1000 -0.4 1.000
M1III 0.0750 -0.5 1.005
M2III 0.0600 -0.6 1.010
M3III 0.0500 -0.6 1.015
M4III 0.0400 -0.5 1.020
M5III 0.0300 -0.3 1.025
M6III 0.0200 -0.2 1.050
M7III 0.0100 -0.1 1.100

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลย
2.1) จาก Hubble’s lawv  H0 D galaxy อยู่ห่างจากเรา
v km/s
D , H0  67.8±0.8
H0 Mpc
v



 529.5  518.3 nm  11.2
c 0 518.3 nm 518.3

D 

11.2  3 105 km/s   95.6 Mpc
 km/s 
518.3   67.8
 Mpc 
2
    H 0 
2

D = D     
    H0 
2 2
 0.03   0.8 
 95.6       1.1 Mpc
 529.5   67.8 
D  96  1 Mpc ตอบ

2.2 a) ค่านวณหาค่า absolute magnitude ของ galaxy


 12.6  M  5log  95.6 106 pc   5
d
m  M  5log
10 pc
M   22.30
ค่านวณหาค่า flux ของกาแล็กซีที่ 10 pc
FGalaxy
22.30  2.5log  FGalaxy  3.23 1012 Jy
3880 Jy
b) จากตารางที่ก่าหนดให้ spectral type G4V มีค่าความสว่าง 0.01 ของทั้งกาแล็กซี
FG4V  0.01 3.23 1012 Jy  3.23 1010 Jy
ค่านวณหาค่าฟลักซ์ของดาว G4V หนึ่งดวง ที่ 10 pc

จากค่าในตารางดาว G4V มี absolute magnitude Mv = 4.9


F  G4V   3880104.9/2.5  42.5 Jy
ดังนั้นเราจะสามารถค่านวณหาดาวทั้งหมดใน G4V ได้
3.23 1010 Jy
NG4V   7.59 108
42.5 Jy

c) ค่านวณหามวลทั้งหมดในแต่ละ spectral type


จากค่าในตาราง G4V หนึ่งดวงมีมวลเท่ากับ 0.955 เท่าของดวงอาทิตย์
เพราะฉะนั้น ทั้งหมดของดาวใน spectral type G4V จะมีมวลเป็น
0.955  6.21108  7.25 108 M

3
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ค่าที่เหลือทั้งหมดในตารางสามารถค่านวณได้ด้วยวิธีข้างต้นและแสดงดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2
Spectral มวลต่อดวง มวลดาวรวมในแต่ละ spectral
สัดส่วนของฟลักซ์ Mv (ต่อดวง) จ่านวนดาว
Type (ในหน่วย M ) type (ในหน่วย M )

G4V 0.01 4.9 0.955 7.59E+08 7.25E+08


G6V 0.008 5.2 0.891 8.01E+08 7.13E+08
K0V 0.004 5.9 0.759 7.63E+08 5.79E+08
K2V 0.003 6.4 0.676 9.07E+08 6.13E+08
K4V 0.002 7 0.589 1.05E+09 6.19E+08
K5V 0.001 7.4 0.543 7.59E+08 4.12E+08
K7V 0.0009 8.1 0.457 1.30E+09 5.95E+08
M0V 0.0008 8.8 0.34 2.21E+09 7.50E+08
M1V 0.0007 9.3 0.244 3.06E+09 7.46E+08
M2V 0.0006 9.9 0.125 4.56E+09 5.69E+08
M3V 0.0004 10.4 0.102 4.81E+09 4.91E+08
M4V 0.0003 11.3 0.09 8.27E+09 7.44E+08
M5V 0.0002 12.3 0.085 1.38E+10 1.18E+09
M6V 0.0001 13.3 0.082 1.74E+10 1.43E+09
G0III 0.013 1 0.95 2.72E+07 2.58E+07
G4III 0.02 0.9 0.96 3.81E+07 3.66E+07
G6III 0.03 0.9 0.97 5.72E+07 5.55E+07
G8III 0.04 0.8 0.98 6.96E+07 6.82E+07
K0III 0.05 0.7 0.99 7.93E+07 7.85E+07
K1III 0.07 0.6 0.995 1.01E+08 1.01E+08
K2III 0.075 0.5 0.996 9.90E+07 9.86E+07
K3III 0.085 0.3 0.997 9.33E+07 9.30E+07
K4III 0.1 0 0.998 8.32E+07 8.31E+07
K5III 0.1 -0.2 0.999 6.92E+07 6.92E+07
M0III 0.1 -0.4 1 5.76E+07 5.76E+07
M1III 0.075 -0.5 1.005 3.94E+07 3.96E+07
M2III 0.06 -0.6 1.01 2.87E+07 2.90E+07
M3III 0.05 -0.6 1.015 2.40E+07 2.43E+07
M4III 0.04 -0.5 1.02 2.10E+07 2.14E+07
M5III 0.03 -0.3 1.025 1.89E+07 1.94E+07
M6III 0.02 -0.2 1.05 1.38E+07 1.45E+07

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อสอบวิเคราะห์ข้อมูล 26 เมษายน 2557
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
M7III 0.01 -0.1 1.1 7.59E+06 8.35E+06

d) ค่านวณหามวลเฉลี่ยทั้งหมดในกาแล็กซีโดยข้อมูลในตารางที่ 2 จะได้
M lum  1.111010 M ตอบ

2.3) มวลจาก Doppler effect มีค่า 1.3 1011 M


แต่จาก visible mass 1.111011 M
ได้น้อยกว่า ข้อ 2.2 หากคิดว่ามวลที่หายไปคือ Dark matter
ดังนั้น M missing  M dyn  M lum  1.2 1011 M
M dark matter
จึงมีเปอร์เซ็นต์ของ dark matter ประมาณ 100  92% ตอบ
M dyn

You might also like