You are on page 1of 15

1/15

Charge and Discharge of a Capacitor

จุดประสงค์การทดลอง

1. ศึกษาการชาร์จตัวเก็บประจุในวงจร RC
2. ศึกษาการคายประจุของตัวเก็บประจุ
3. หาค่าคงตัวเวลา (RC time constant)

สมาชิกในกลุ่ม

1.นายภาณุวิชญ์ วินัยชาติศักดิ ์ ม.5/1 เลขที่


3

2.นายภพพีรวัส ธีรสีหไตร ม.5/1 เลขที่ 6

3.นายชอบธรรม อยู่วนิชชานนท์ ม.5/1 เลขที่


11

4.นายธนภัทร เจริญศิริมณี ม.5/1 เลขที่


12

ทฤษฎี :
2/15

บ่อยครัง้ ที่เราจะเห็นตัวเก็บประจุกับตัว ต้านทานต่อร่วมกัน ซึ่งการต่อตัว


เก็บประจุกับตัวต้านทานร่วมกันจะช่วยให้สามารถควบคุมความเร็ว ของการ
ชาร์จประจุและการคายประจุจากตัวเก็บประจุ ซึ่งเราเรียกการต่อแบบนีว้ ่า
วงจร RC (RC Circuit)

ตามรูปเป็ นวงจร RC โดยแบตเตอรี่จะชาร์จตัวเก็บประจุเมื่อสวิตซ์ปิด โดย


ตอนแรกแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุจะเป็ นศูนย์ (Vc = 0 V) หลังจากนัน

เมื่อสวิตซ์ปิดจะทำให้กระแสเริ่มไหลผ่าน ดังนัน
้ กระแสที่ไหลผ่านช่วงนีจ
้ ะ
เท่ากับแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน (Vr) ซึง่ เท่ากับแรงดันจากแหล่งจ่ายไฟ
หารด้วยค่าของตัวต้านทาน (R), (I = V/R) ซึ่งลำดับการทำงานของวงจรจะ
เป็ นดังนี ้

1.ช่วงเริ่มต้น: เพราะในช่วงเริ่มต้นแรงดันที่ตัวเก็บประจุจะเป็ นศูนย์ ดังนัน



แรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานจะเท่ากับแหล่งจ่ายไฟ

2.ช่วงเก็บประจุ: ตอนเก็บประจุ ตัวเก็บประจุจำทำงานร่วมกันกับตัวต้าน


ทานเืพ่อควบคุมความเร็วกระแส

3.ช่วงเก็บประจุเต็ม: เมื่อตัวเก็บประจุชาร์จประจุจนเต็ม กระแสจะหยุด


ไหล จะไม่มีแรงดันตกคร่อมตัวต้านทานและแรงดันทัง้ หมดจะตกคร่อมที่ตัว
เก็บประจุ

โดยถ้าเรามาเขียนกราฟของสมการนีจ
้ ะอยู่ในรูปข้างล่างดังแสดงโดยเส้น
กราฟสีชมพู
3/15

ถ้าถอดแบตเตอรี่ออก แล้วต่อตัวต้านทานคร่อมตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ


จะทำการคายประจุผ่านตัวต้านทาน เวลานีแ
้ รงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานจะ
เท่ากับแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ (Vr = Vc) ดังนัน
้ กระแสจะมีค่าเท่ากับ
Vc/R โดยที่ลำดับการทำงานจะเป็ นดังนี ้

1.ช่วงเริ่มต้น: เนื่องจากตัวเก็บประจุตอนนีช
้ าร์จประจุจนเต็มแล้ว ซึ่งตอนนี ้
แรงดันตัวเก็บประจุจะเท่ากับแรงดันจากแหล่งจ่ายไฟ และเพราะ Vr = Vc
แรงดันตัวต้านทานจะเท่ากับแรงดันตัวเก็บประจุ ซึง่ กระแสในวงจรที่ได้จะ
เป็ น Vsupply / R ดังนัน
้ ตัวเก็บประจุจะเปลี่ยนถ่ายประจุจากแผ่นเพลท
หนึ่งไปอีกแผ่นเพลทหนึ่ง อย่างรวดเร็ว

2.ช่วงการคายประจุ: ตัวเก็บประจุจะทำการคายประจุอย่างต่อเนื่อง แต่ใน


อัตราที่ช้าลง ส่วนแรงดันและกระแสก็จะตกลงไปด้วย
4/15

3.ช่วงคายประจุหมด: เมื่อตัวเก็บประจุทำการคายประจุจนหมด กระแสจะ


หยุดไหลและทำให้แรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานและตัวเก็บประจุเป็ นศูนย์

ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงก็เป็ นไปตามกราฟต่อไปนี ้ (ทัง้ สองสมการเป็ น


ลักษณะของ exponential decay)

การคำนวณหาค่าคงที่เวลา RC (RC TIME CONSTANT)

คุณสามารถที่จะปรับเปลี่ยนเวลาของการเก็บประจุและการคายประจุได้
โดยการเปลี่ยนค่าของตัวต้านทานและตัวเก็บประจุ โดยเมื่อคุณนำค่าตัว
ต้านทาน (Ohm) คูณกับตัวเก็บประจุ (Farad) คุณจะได้ค่าคงที่มาค่าหนึ่งซึง่
ค่านีเ้ ราเรียกว่าค่า RC time constant โดยใช้สัญลักษณ์เป็ นตัว T ดังนัน

T=RxC
5/15

อุปกรณ์

1. แผงบอร์ดวงจร
2. ตัวเก็บประจุ ขนาด 470 μF

3. ตัวต้านทาน ขนาด 10 ×10 4 ± 5 % Ω

4. Multimeter
5. เคร่องจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
6. สายไฟ
7. กล้องถ่าย VDO (อุปกรณ์จับเวลา)
6/15

วิธีการทดลอง (เขียนเพิ่มเองนะครับ)

1. ต่อวงจร ดังรูป
2. ตัง้ ค่าแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง V0 = volt
3. เปิ ดสวิตซ์ S1 เพื่อชาร์จประจุ
4. อ่านค่าของมัลติมิเตอร์ในรูปแบบของการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าจน
ค่าที่อ่านมีค่าน้อยกวา ่ 0 V แล้วบันทึกลงในตาราง
5. เปิ ดสวิตซ์ S2 เพื่อคายประจุ
6. อ่านค่าของมัลติมิเตอร์ในรูปแบบของการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าจน
ค่าที่อ่านมีต่าน้อยกวา ่ 0 V แล้ว
บันทึกลงในตาราง
7. นําข้อมูลจากตารางบันทึกผลการทดลองมาสร้างกราฟเพื่อหาค่าคงตัว
เวลา (RC)

Volt Volt Volt

meter meter meter

R R R

S2 C S2 C S2 C

S1 V0 S1 V0 S1 V0
7/15

ผลการทดลอง
V 0 = 9.85 ± 0.05 volt R = 98100 ± 100 Ω

C= 470 μF Rvoltmeter = 200 ± 0.1 k Ω

ตารางที่ 1 บันทึกผลการวัดศักย์ไฟฟ้ าคร่อมตัวต้านทาน R เมื่อทำการชาร์จ


ประจุ
V C =V 0 −V R (± ln V R δ ( ln V R )
VR (± t (±
0.05 volt) 0.05 s) 0.07 volt)
9.50 2.631 0.1 2.251 0.01
9.00 4.549 0.6 2.197 0.01
8.50 6.413 1.1 2.142 0.01
8.00 8.512 1.6 2.079 0.01
7.50 10.814 2.1 2.145 0.01
7.00 13.211 2.6 1.946 0.01
6.50 15.817 3.1 1.872 0.01
6.00 18.656 3.6 1.792 0.01
5.50 21.860 4.1 1.705 0.01
5.00 25.255 4.6 1.610 0.01
4.50 28.904 5.1 1.504 0.02
4.00 33.400 5.6 1.386 0.02
3.50 38.358 6.1 1.253 0.02
8/15

3.00 44.039 6.6 1.099 0.02


2.50 50.861 7.1 0.916 0.03
2.00 59.600 7.6 0.693 0.04
δV C =√ δV 20 +δV 2R
δV R
δ ( ln V R ) =
VR

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง vr กับ t

vr กับ t
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0
0 10 20 30 40 50 60 70

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง lnvr กับ t


9/15

lnvr กับ t
2.5

1.5

0.5

0
0 10 20 30 40 50 60 70

ตารางที่ 2 บันทึกผลการวัดศักย์ไฟฟ้ าคร่อมตัวเก็บประจุ เมื่อทำการคาย


ประจุ
V C =V R (± lnV C δ ( ln V C )
t (± 0.05
0.05 volt) s)
8.9 2.268 2.186 0.01
8.5 4.786 2.140 0.01
8.0 6.882 2.080 0.01
7.5 9.190 2.015 0.01
7.0 11.700 1.946 0.01
6.5 14.287 1.872 0.01
6.0 17.221 1.792 0.01
5.5 20.327 1.705 0.01
5.0 23.815 1.609 0.01
10/15

4.5 27.694 1.504 0.02


4.0 31.901 1.386 0.02
3.5 36.970 1.253 0.02
3.0 42.826 1.099 0.02
2.5 49.387 0.916 0.03
2.0 57.279 0.693 0.04

δV C
δ ( ln V C ) =
VC
11/15

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง vc กับ t

vc กับ t
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0
0 10 20 30 40 50 60 70

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง lnvc กับ t


12/15

lnvc กับ t
2.5

1.5

0.5

0
0 10 20 30 40 50 60 70

การวิเคราะห์ผล

1. ค่าความต้านทานรวมของวงจร
R⋅R voltmeter
R parallel= =
R+R voltmeter 66666.67 Ω

2
δR 2 + δR2voltmeter
δR parallel=R pararel
√( δR 2 δR voltmeter
R ) (
+
R voltmeter )(
+
( R+ Rvoltmeter ) 2)=
82.03 Ω

2. ค่าคงตัวเวลา (RC Time constant, τ ) จากการคำนวน


τ =Rparallel ×C= 31.33

δτ= 0.038

3. ค่าคงตัวเวลา (RC Time constant) จากการชาร์จประจุ


13/15

lnvr t
2.5
2
1.5
1
-0.02747 2.25936571
0.000133 0.0036817
0.5
0
0 10 20 30 40 50 60 70

t
V C =V max 1−e( −
RC ); V max =V 0 , V 0 =V R +V C
t

RC
V 0 −V R =V 0 −V 0 e
t

RC
V R =V 0 e
t
ln V R =ln V 0 −
RC
t
ln V R=ln V 0 −
จาก RC

และ y = mx + c

y = -0.02747x + 2.2594
1

จะได้ว่า m = slope = RC = -0.02747

RC = 36.3975478
δslope 0.000133
หา RC จาก RC = slope2 = −0.027472 = 0.17618032

4. ค่าคงตัวเวลา (RC Time constant) จากการคายประจุ


14/15

lnvc t
2.5

1.5

0.5

0
0 10 20 30 40 50 60 70

-0.027320366 2.262394
9.07232E-05 0.002617
t

RC
V C =V 0 e
t
ln V C =lnV 0−
RC
t
ln V C =lnV 0 −
จาก RC

และ y = mx + c

y = -0.02732x + 2.2623
1

จะได้ว่า m = slope = RC = -0.02732

RC = 36.60273
δslope 0. 00009
หา RC จาก RC = slope2 = −0.027322 = 0.121547

5.เปรียบเทียบค่าคงตัวเวลา โดยใช้ t-score

เมื่อลองคำนวณ t-score ของกราฟทัง้ 2 อัน จะได้ว่า t-score =


36.60273−36.3975478
= 0.95862
√ 0.1215472+ 0.176180322

สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง
15/15

จากการศึกษาและทดลองเรื่อง การอัดและการคายประจุของตัวเก็บ
ประจุ และได้ว่าค่าคงตัวเวลา RC ของกราฟตอนอัดประจุเท่ากับ 36.40±
0.18 s และได้ค่าคงตัวเวลาตอนคายประจุเท่ากับ 36.60± 0.12 และค่าที่ได้
จากการคำนวณเท่ากับ 31.33± 0.038 s ซึ่งจากผลการทดลอง จากค่า t-
score RC น้อยกว่า 1 จึงสามารถสรุปได้ว่าค่าทัง้ สามเป็ นค่าเดียวกันซึ่งค่า
ความคลาดเคลื่อนที่พบในการทดลองอาจเกิดมาจากความละเอียดของ
เครื่องจับเวลา , ปฎิกิริยาตอบสนองของร่างกายขณะจับเวลา , ค่า
ความคลาดเคลื่อนที่เกิดมาจากเครื่องมือวัดศักย์ไฟฟ้ า และ ค่าความคลาด
เคลื่อนจากตัวต้านทาน.

You might also like