You are on page 1of 34

หน่วยที่ 6

วงจรอันดับหนึ่ง
วงจรอันดับหนึ่ง (First-Order Circuits)
วงจรอันดับหนึ่ง คือ วงจร RC และ RL ซึ่งสามารถอธิบายคุณลักษณะของวงจรได้ด้วยสมการเชิงอนุพันธ์อันดับ
หนึ่ง (First-order differential equation) โดยการประยุกต์ใช้กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์ (Kirchhoff’s Laws)

วงจร RC

วงจร RL
2
ผลตอบสนอง (Responses)
วงจร RC และ RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย – ผลตอบสนองของวงจรจะเกิดจากพลังงานทีส่ ะสมอยู่ในอุปกรณ์วงจรทั้งตัว
เก็บประจุและตัวเหนี่ยวนา เรียกว่า ผลตอบสนองธรรมชาติ (Natural response)
วงจร RC และ RL ที่ มีแหล่งจ่าย – ผลตอบสนองของวงจรจะเกิดจากการกระตุ้นวงจรด้วยแหล่งจ่ายอิสระ
(Independent source) เรียกว่า ผลตอบสนองบังคับ (Force response)

สภาวะคงตัว (Steady-State)
ตัวเก็บประจุ
1. ตัวเก็บประจุจะเปิดวงจร (Open circuit) เมื่อได้รับ DC voltage
2. แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุจะมีค่าคงที่และกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุจะมีค่าเป็นศูนย์

ตัวเหนี่ยวนา
1. ตัวเหนี่ยวนาจะปิดวงจร (Short circuit) เมื่อได้รับ DC voltage
2. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนาจะมีค่าคงที่และแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนาจะมีค่าเป็นศูนย์

3
6.1 วงจร RC และ RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
6.1.1 วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่ายจะเกิดขึ้น เมือ่ ปลดแหล่งจ่ายออกจากวงจรทันที พลังงานจะถูกสะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ
แล้วจะปล่อยออกไปยังตัวต้านทานที่ถกู ต่ออยู่ในวงจร

รูป 6-1 วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย


สมมุติฐาน
1. v(t) เป็นแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ
2. ตัวเก็บประจุได้รับการชาร์ทประจุมาแล้วตั้งแต่ t =  จนถึง t = 0
3. ณ. t = 0, ค่าแรงดันไฟฟ้าเริ่มต้น (Initial voltage) มีค่าเป็น v(0) = V0
1
จะได้ w(0)  CV02
2
4
 จากรูปวงจร ใช้กฎกระแสของเคิร์ชฮอฟฟ์ (Kirchhoff’s Current Laws)
dv v dv v
iC  iR  0  C  0 หรือ  0
dt R dt RC

 จัดรูปสมการใหม่
dv dt

v RC

 อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


dv 1
 v RC  dt
 

t
ln v(t )   K
RC

 หา K, t = 0
0
ln v(0)   K
RC
K  ln v(0)  ln V0

5
 แทนค่า K = ln V0 และยกกาลัง e จะได้
t
ln v(t )    ln V0
RC
v(t ) t
ln 
V0 RC
t
v(t ) 
 e RC
V0
t

 v(t )  V0e RC
;V0  initial voltage

   RC => ค่าคงที่ทางเวลา (Time constant)


เป็นค่าเวลาการตอบสนองที่ทาให้แรงดันลดลงเป็น 1/e
หรือ 36.8% ของค่าเริ่มต้น
 v(t )  V0e t 
 t 
 v(t )  V0e1  0.368V0

6
7
=> กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน  v(t )  V0e t 
v(t ) V0 t 
iR (t )   e
R R

=> กาลังไฟฟ้าที่ใช้โดยตัวต้านทาน

V02 2t 
p(t )  v(t )iR (t )  e
R

=> พลังงานที่ดดู ซับโดยตัวต้านทาน


t
1
wR (t )   p(t ) dt 
0
2
CV02 (1  e2t  )

8
ตัวอย่างที่ 6.1 กาหนดให้ vC(0) = 15V จงหา vC(t), vx(t) และ ix(t) ที่ t > 0

 หา Req
5  20
Req   4
5  20
  Req C  4  0.1F  0.4s
 v(t )  V0 e t   15e t 0.4 Volt ;V0  vC (0)  15V

 หา vC(t)
vC (t )  15e2.5t V

 หา vx(t)
12
vx (t )  vC (t )  0.6(15e2.5t )  9e2.5t V
12  8

 หา ix(t)
vx (t ) 9e 2.5t
ix (t )    0.75e 2.5t A
R 12

9
10
ตัวอย่างที่ 6.2 จงหา vC(t), vx(t) และ ix(t) ที่ t > 0
R1 t=0 R3
1 2 ix  t < 0 => Req และ vC(0)
4
8 5  20
V1 C1 R4 Req   4
30V R2 5 Vc Vx 5  20
0.1 12 4
vC (0)  V0  30V  15V
44

0
R8
t < 0  t > 0 => vC(t), vx(t) และ ix(t)
4
V2 vC (t )  15e2.5t V
30V Req 4 Vc(0)
vx (t )  9e2.5t V
ix (t )  0.75e2.5t A

11
แบบฝึกหัดที่ 6.1 จงหา v(t) และ wC(0) ที่ t > 0 (Answer: 8e 2 t
V , 5.333 J )

12
6.1.2 วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่ายจะเกิดขึ้น เมื่อปลดแหล่งจ่ายออกจากวงจรทันที พลังงานจะถูกสะสมอยู่ในตัวเหนี่ยวนา
แล้วจะปล่อยออกไปยังตัวต้านทานที่ถูกต่ออยู่ในวงจร

รูป 6-2 วงจร RL ที่ไม่มแี หล่งจ่าย


สมมุติฐาน
1. vL(t) เป็นแรงดันที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนา
2. ณ. t = 0, ค่ากระแสไฟฟ้าเริ่มต้น มีค่าเป็น i(0) = I0

1 2
จะได้ w(0)  LI 0
2

13
 จากรูปวงจร ใช้กฎแรงดันของเคิร์ชฮอฟฟ์ (Kirchhoff’s Voltage Laws)
di di R
vL  vR  0  L  Ri  0 หรือ  i0
dt dt L

 จัดรูปสมการใหม่
di R
  dt
i L

 อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


di R
 i L  dt
 

R
ln i (t )   t  K
L

 หา K, t = 0
R
ln i (0)   (0)  K
L
K  ln i (0)  ln I 0

14
 แทนค่า K และยกกาลัง e จะได้
R
ln i (t )   t  ln I 0
L
i (t ) R
ln  t
I0 L
R
i (t )  t
e L
I0
R
 t
 i (t )  I 0e L
; I 0  initial current
………………………………………

L
  => ค่าคงที่ทางเวลา (Time constant) เป็น
R
ค่าเวลาการตอบสนองที่ทาให้กระแสลดลงเป็น 1/e หรือ
36.8% ของค่าเริ่มต้น
 i (t )  I 0et 
 t 
 i (t )  I 0e 1  0.368I 0

15
=> แรงดันไฟฟ้าทีต่ กคร่อมตัวต้านทาน  i (t )  I 0et 

vR (t )  i (t ) R  RI 0et 

=> กาลังไฟฟ้าที่ใช้โดยตัวต้านทาน

p(t )  vR (t )iR (t )  RI 02e 2t 

=> พลังงานที่ดดู ซับโดยตัวต้านทาน


t
1 2
wR (t )   p(t ) dt 
0
2
LI 0 (1  e2t  )

16
ตัวอย่างที่ 6.3 จงหา i(t) ที่ t > 0

 จากรูป a ที่ t< 0 => i(t) = i(0) = I0


4  12
Ra   3
4  12
40
i1   8A
23
12 12
i (t )  i (0)  I 0   i1  8  6A
12  4 12  4

 จากรูป b ที่ t> 0 => Req และ i(t)


(12  4)  16
Req   8
(12  4)  16
L 2 1
   s
Req 8 4
 i (t )  I 0e t   6e 4t A

17
18
แบบฝึกหัดที่ 6.2 จงหา io(t), vo(t) และ i(t) ที่ t > 0

[Grab your reader’s attention with a great quote from the document or use this space to emphasize
a key point. To place this text box anywhere on the page, just drag it.]

[Grab your reader’s attention with a great quote from the document or use this
space to emphasize a key point. To place this text box anywhere on the page,
just drag it.]

19
เปรียบเทียบระหว่างวงจร RC กับ RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย

วงจร RC วงจร RL
L
v(t )  vC (t )  V0e t  ;  RC i (t )  iL (t )  I 0e t  ; 
R

20
6.2 วงจร RC และ RL ที่มีแหล่งจ่าย

ฟังก์ชันเอกฐาน (Singularity functions) หรือ ฟังก์ชันสวิตช์ (Switch functions)


ในการวิเคราะห์วงจรเพื่อหาผลตอบสนองของวงจรอันดับหนึ่งสามารถทาได้ โดยการป้อนแหล่งจ่ายหรือกระตุ้น
วงจรดังกล่าวด้วยฟังก์ชันเอกฐาน (Singularity functions) ซึ่งเป็นฟังก์ชันที่ไม่ต่อเนื่องทางเวลา หรือ การเปลี่ยนแปลง
ตามเวลาของฟังก์ชันนั้นๆ มีความไม่ต่อเนื่อง ที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ามีอยู่ 3 แบบ คือ ฟังก์ชันขั้นหนึ่งหน่วย
(Unit step function) ฟังก์ชันอิ มพัลส์ ห นึ่งหน่ วย (Unit impulse function) และฟังก์ ชันแรมป์ ห นึ่งหน่ว ย (Unit
ramp function)

ฟังก์ชันขั้นหนึ่งหน่วย (Unit step function) หรือ u(t)


 ที่เวลา t=0
0 t 0
u (t )   
1 t 0

21
 ที่เวลา t ใดๆ

0 t  t0
u (t  t0 )   
1 t  t0

0 t  t0
u (t  t0 )   
1 t  t0

22
ฟังก์ชันขั้นใช้ในการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันของแหล่งจ่ายแรงดันและกระแสไฟฟ้า
 แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า

0 t0
v(t )  
V0 t 0

 แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า

0 t0
i (t )  
I0 t 0

23
6.2.1 การตอบสนองแบบขัน้ ของวงจร RC (The step response of an RC circuit)
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า เพื่อหาผลตอบสนองแบบขั้น (Step response) ของวงจร RC สามารถทาได้โดยการ
กระตุ้นวงจรด้วยฟังก์ชันแบบขั้น (Step function) โดยการป้อนแหล่งจ่ายแรงดันหรือกระแสตรง (DC voltage or
current source) ให้กับวงจรในลักษณะแบบทันทีทันใด

An RC circuit with voltage step input

24
 เงื่อนไขในสภาวะเริ่มต้น (Initial condition)

v(0 )  v(0 )  V0

 โดยประยุกต์ใช้ KCL จะได้ iC  iR  0

dv v  VS u (t )
C  0 หรือ dv

dt
dt R v  VS u (t ) RC

 อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


v (t ) dv 1 t
V0 v  VS

RC 0
dt ; t  0, u (t )  1
t
t
ln (v  VS ) V 
v (t )
0
RC 0

t
ln (v(t )  VS )  ln(V0  VS )   0
RC
v(t )  VS t
ln 
V0  VS RC
v(t )  VS
 e  t / RC
V0  VS
25
v(t )  VS  (V0  VS )et / RC
v(t )  VS  (V0  VS )et / ; t  0,   RC

ดังนั้น

V ;t  0
v(t )   0  t /

VS  (V0  VS )e ;t  0

ถ้าตัวเก็บประจุไม่มีการชาร์ทในตอนเริ่มต้น นั่นคือ V0  0 ดังนั้น

0 ;t  0
v(t )    t /

 VS (1  e ) ;t  0

dv
i (t )  C
dt
d (VS  VS e t / ) C V
C  VS et /  S e t /
dt  R

26
สรุป

หรือ v(t )  vn (t )  v f (t )
เมื่อ
vn (t )  V0e  t /
v f (t )  VS (1  e  t / )

จากสมการของแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุทเี่ วลา t > 0 อาจจะเขียนได้เป็น

v(t )  VS  V0  VS  et /  v(t )  v()  v(0)  v()  e t /

27
ตัวอย่างที่ 6.4

28
6.2.2 การตอบสนองแบบขัน้ ของวงจร RL (The step response of an RL circuit)
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า เพื่อหาผลตอบสนองแบบขั้น (Step response) ของวงจร RL สามารถทาได้โดยการ
กระตุ้นวงจรด้วยฟังก์ชันแบบขั้น (Step function) โดยการป้อนแหล่งจ่ายแรงดันหรือกระแสตรง (DC voltage or
current source) ให้กับวงจรในลักษณะแบบทันทีทันใด

An RL circuit with voltage step input

29
 เงื่อนไขในสภาวะเริ่มต้น (Initial condition)
i (0 )  i(0 )  I 0

 โดยประยุกต์ใช้ KVL จะได้ vL  vR  0

L
di
 iR  VS u (t ) หรือ di

dt
dt iR  VS u (t ) L

 อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


i (t ) di 1 t
I0 iR  VS
   dt
L 0
; t  0, u (t )  1
i (t ) t
1 t
ln (iR  VS )  
R I0 L0
R
ln (iR  VS )  ln( I 0 R  VS )   t 0
L
i (t ) R  VS R
ln  t
I 0 R  VS L
i (t ) R  VS
 e  tR / L
I 0 R  VS

30
i (t ) R  VS  ( I 0 R  VS )e  tR / L
VS V L
i (t )   ( I 0  S )e  t / ; t  0,  
R R R

ดังนั้น
 I0
 ;t  0
i (t )  VS VS t / 
 R  ( I 0  )e ;t  0
R

ถ้าตัวเหนี่ยวนาไม่มีพลังงานสะสมในตอนเริ่มต้น นั่นคือ I0  0 ดังนั้น

0
 ;t  0
i (t )   VS  t /

 R (1  e ) ;t  0

V 
d  S (1  e t / ) 
v(t )  L  L  
di R
dt dt
V 
d  S et / 
L    L V e  t /  V e  t /
R
R
S S
dt
31
สรุป

หรือ i (t )  in (t )  i f (t )
เมื่อ
in (t )  I 0e  t /
VS
i f (t )  (1  e  t / )
R

จากสมการของแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุทเี่ วลา t > 0 อาจจะเขียนได้เป็น

VS  VS   t /
i (t )    I0   e  i (t )  i ()  i (0)  i ()  e  t /
R  R
32
ตัวอย่างที่ 6.5 จงหา i(t) ที่ t > 0

33
…………………………………………………..

34

You might also like