You are on page 1of 13

Example

37
Example

38
Example

39
40
Example

41
วงจรเรโซแนนซ์ (Resonance Circuits)
วงจรไฟฟ้านั้น การเกิดเรโซแนนซ์ ก็คือ การเกิดปรากฏการณ์แรงดันที่จ่ายให้วงจรกับกระแสรวมในวงจรเกิดการ In phase กัน
ดังนั้น ที่จุดรีโซแนนซ์อิมพีแดนซ์ (RLC) ในวงจรจะมีเพียงค่า Resistance เท่านั้น ซึ่งหมายความว่า อิมพีแดนซ์เชิงซ้อนรวม (Z) ของ
วงจรจะมีค่าเฉพาะจำนวนจริง หรือ วงจร RLC จะเสมือนมีแต่ R อย่างเดียวเท่านั้น ค่าที่เป็นจำนวนจินตภาพเป็นศูนย์

X L = XC
เช่น 1
Z = R + j L +
jC
1
= R + jX L − jX C , =−j
j
= R + j( X L − X C )
=R

ตามเงื่อนไขนี้ วงจรจะมีค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ หรือ ตัวประกอบกำลัง (Power factor) เท่ากับ 1

42
วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม (Series Resonance)

1
Z = R + j L +
jC

ดังนั้น X L = XC
1
0 L =
0 C
1
0 = (rad / s )
LC
เมื่อ 0 = 2 f0
1
f0 = ( Hz )
2 LC
43
การตอบสนองทางความถี่ของขนาดกระแสในวงจร
Vm
I= I =
2
 1 
R + L −
2

 C 
เมื่อ  = 0 = 2 f0
Vm
I= I =
R

44
วงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน (Parallel Resonance)
1 1 1 1
Y= = = + + jC
Z R + j L + 1 R j L
jC
1 1
= −j + jC
R L
1  1 
= + j  C −
R   L 

ดังนั้น XC = X L
1
0 C =
0 L
1
0 = (rad / s )
LC
เมื่อ 0 = 2 f0
1
f0 = ( Hz )
2 LC
45
การตอบสนองทางความถี่ของขนาดกระแสในวงจร
2
 1 
V = V = Im R + L −
2

 C 

เมื่อ  = 0 = 2 f0
V = V = ImR

46
การเกิดเรโซแนนซ์ในระบบไฟฟ้ากำลัง
1. เรโซแนนซ์แบบอนุกรม - ในหลายๆ กรณี ฮาร์โมนิกส์เกิดขึ้นที่ด้านขาเข้าของหม้อแปลงไฟฟ้าและคาปาซิเตอร์ที่ด้านแรงต่ำทำ
ให้เกิดวงจรเรโซแนนซ์ที่ด้านแรงสูง ถ้าความถี่เรโซแนนซ์ข อง L และ C ตรงกับความถี่ฮาร์โมนิกส์จะทำให้อุปกรณ์เ กิ ด
กระแสไฟฟ้าเกินพิกัด (Low Impedance) สำหรับฮาร์โมนิกส์ในกรณีนี้ปริมาณฮาร์โมนิ กส์ที่ไหลผ่านหม้อแปลงจะมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของความถี่เรโซแนนซ์และความถี่ฮาร์โมนิกส์ กระแสฮาร์โมนิกส์ที่เกิดขึ้นจะเพิ่มขึ้นจากกระแสปกติที่ไหล
ผ่านหม้อแปลง และจะเกิดกระแสไหลในคาปาซิเตอร์เกินพิกัดอย่างมาก แรงดันไฟฟ้าแรงต่ำจะถูกทำให้รูปคลื่นผิดเพี้ยนไป
2. เรโซแนนซ์แบบขนาน – ระบบไฟฟ้าส่วนมากมีการติดตั้งคาปาซิเตอร์สำหรับปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ความจุไฟฟ้าของ
คาปาซิเตอร์ที่ต่อร่วมกับหม้อแปลงและโหลดจะทำให้เกิดวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน ผลที่ตามมาทำให้แหล่งจ่ายฮาร์ โมนิกส์ใน
ระบบไฟฟ้าแรงต่ำเกิดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านระบบที่มีความต้านทานสูงมาก (High Impedance) ดังนั้น กระแสฮาร์โมนิกส์เป็น
สาเหตุให้เกิดแรงดันไฟฟ้าสูงมากในระบบเมื่อเปรียบเทียบกับระบบที่ไม่มีคาปาซิเตอร์ นอกจากนี้ ยังเกิดกระแสไฟฟ้าไหลวนอยู่
ในระบบและคาปาซิเตอร์ในปริ มาณหลายเท่าของกระแสฮาร์โมนิกส์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้หม้อแปลงไฟฟ้าและคาปาซิเตอร์มี
กระแสไหลเกินจากปกติและสร้างความเสียหายได้

47
แบบฝึกหัดที่ 8.1
1. กำหนดให้สัญญาณรูปไซน์เป็น 30sin ( 4 t − 75 ) จงคำนวณหาค่ามุมเฟส ความถี่เชิงมุม คาบเวลา และความถี่ (Ans:
30, − 75 , 12.57 rad/s, 0.5s, 2Hz )
2. จงคำนวณหาค่าของจำนวนเชิงซ้อนดังนี้
(Ans: −15.5 − j13.67 )
*
2.1 (5 + j 2)(−1 + j 4) − 5 60 
10 + j 5 + 3 40
2.2 + 10 30 + j 5 (Ans: 8.293 + j 7.2 )
−3 + j 4
3. จงหาความสัมพันธ์ของสัญญาณรูปไซน์ในรูปแบบของเฟสเซอร์
3.1 i = −4sin(10t + 10 ) A (Ans: 4 100 A )
3.2 v = 7cos(2t + 40 ) V (Ans: 7 40 V )
4. กำหนดให้ v1 = −10sin(t − 30 ) V และ v2 = 20cos(t + 45 ) V จงหา v = v1 + v2 ในโดเมนของเวลาและในรูปแบบของ
เฟสเซอร์ (Ans: v(t ) = 29.8cos(t + 49.98 ) V )

48
5. จากรูปวงจร จงคำนวณหาค่า vo (t ) (Ans: 35.4cos(10t − 105 ) V )

6. จากรูปวงจร จงคำนวณหาค่า I (Ans: 9.55 33.8 A)

49

You might also like