You are on page 1of 35

หน่วยที่ 6

วงจรอันดับหนึ่ง
วงจรอันดับหนึ่ง (First-Order Circuits)
วงจรอันดับหนึ่ง คือ วงจร RC และ RL ซึ่งสามารถอธิบายคุณลักษณะของวงจรได้ด้วยสมการเชิงอนุพันธ์อันดับ
หนึ่ง (First-order differential equation) โดยการประยุกต์ใช้กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์ (Kirchhoff’s Laws)

วงจร RC

วงจร RL

2
ผลตอบสนอง (Responses)
วงจร RC และ RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย – ผลตอบสนองของวงจรจะเกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ในอุปกรณ์วงจรทั้งตัว
เก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ เรียกว่า ผลตอบสนองธรรมชาติ (Natural response)
วงจร RC และ RL ที่ มีแหล่งจ่าย – ผลตอบสนองของวงจรจะเกิดจากการกระตุ้นวงจรด้วยแหล่งจ่ายอิสระ
(Independent source) เรียกว่า ผลตอบสนองบังคับ (Force response)

สภาวะคงตัว (Steady-State)
ตัวเก็บประจุ
1. ตัวเก็บประจุจะเปิดวงจร (Open circuit) เมื่อได้รับ DC voltage
2. แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุจะมีค่าคงที่และกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุจะมีค่าเป็นศูนย์

ตัวเหนี่ยวนำ
1. ตัวเหนี่ยวนำจะปิดวงจร (Short circuit) เมื่อได้รับ DC voltage
2. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำจะมีค่าคงที่และแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำจะมีค่าเป็นศูนย์

3
6.1 วงจร RC และ RL ที่ไม่มแี หล่งจ่าย
6.1.1 วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่ายจะเกิดขึ้น เมื่อปลดแหล่งจ่ายออกจากวงจรทันที พลังงานจะถูกสะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ
แล้วจะปล่อยออกไปยังตัวต้านทานที่ถูกต่ออยู่ในวงจร

รูป 6-1 วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย


สมมุติฐาน
1. v(t) เป็นแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ
2. ตัวเก็บประจุได้รับการชาร์ทประจุมาแล้วตั้งแต่ t = − จนถึง t = 0
3. ณ. t = 0, ค่าแรงดันไฟฟ้าเริ่มต้น (Initial voltage) มีค่าเป็น v(0) = V0
1
จะได้ w(0) = CV02
2

4
▪ จากรูปวงจร ใช้กฎกระแสของเคิร์ชฮอฟฟ์ (Kirchhoff’s Current Laws)
dv v dv v
iC + iR = 0  C + =0 หรือ + =0
dt R dt RC

▪ จัดรูปสมการใหม่
dv dt
=−
v RC

▪ อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


dv 1
 v RC  dt
= −

t
ln v(t ) = − +K
RC
▪ หา K, t = 0
0
ln v(0) = − +K
RC
K = ln v(0) = ln V0

5
▪ แทนค่า K = ln V0 และยกกำลัง e จะได้
t
ln v(t ) = − + ln V0
RC
v(t ) t
ln =−
V0 RC
t
v(t ) −
= e RC
V0
t

 v(t ) = V0e RC
;V0 = initial voltage

➢  = RC => ค่าคงที่ทางเวลา (Time constant)


เป็นค่าเวลาการตอบสนองที่ทำให้แรงดันลดลงเป็น 1/e
หรือ 36.8% ของค่าเริ่มต้น
 v(t ) = V0e −t 
➢ t =
 v(t ) = V0e −1 = 0.368V0

6
7
=> กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน
v(t ) = V0e − t 
v(t ) V0 −t 
iR (t ) = = e
R R

=> กำลังไฟฟ้าที่ใช้โดยตัวต้านทาน
V02 −2t 
p (t ) = v(t )iR (t ) = e
R

=> พลังงานที่ดูดซับโดยตัวต้านทาน
t
1
wR (t ) =  p(t ) dt =
0
2
CV02 (1 − e −2t  )

8
ตัวอย่างที่ 6.1 กำหนดให้ vC (0) = V0 = 15V จงหา vC (t), vx (t) และ ix (t) ที่ t > 0
➢ หา Req
5  20
Req = = 4
5 + 20
 = Req C = 4  0.1F = 0.4s

 v(t ) = V0e − t  = 15e − t 0.4 V ;V0 = vC (0) = 15V

➢ หา vC(t)
vC (t ) = 15e−2.5t V

➢ หา vx(t)
12
vx (t ) = vC (t ) = 0.6(15e −2.5t ) = 9e −2.5t V
12 + 8

➢ หา ix(t)
vx (t ) 9e−2.5t
ix (t ) = = = 0.75e−2.5t A
R 12

9
10
ตัวอย่างที่ 6.2 จงหา vC (t), vx (t) และ ix (t) ที่ t > 0
R1 t=0 R3
1 2 ix ➢ t< 0 => Req และ vC(0)
4 5  20
8 Req = = 4
V1 C1 R4 5 + 20
30V R2 5 Vc Vx
4
0.1 12 vC (0) = V0 =  30V = 15V
4+4

0
R8
t < 0 ➢ t> 0 => vC(t), vx(t) และ ix(t)
4 vC (t ) = 15e−2.5t V
V2
30V Req 4 Vc(0) vx (t ) = 9e−2.5t V
ix (t ) = 0.75e−2.5t A

11
แบบฝึกหัดที่ 6.1 จงหา v(t) และ wC (0) ที่ t > 0 (Answer: 8e −2t
V , 5.333 J )

12
6.1.2 วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่ายจะเกิดขึ้น เมื่อปลดแหล่งจ่ายออกจากวงจรทันที พลังงานจะถูกสะสมอยู่ในตัวเหนี่ยวนำ
แล้วจะปล่อยออกไปยังตัวต้านทานที่ถูกต่ออยู่ในวงจร

รูป 6-2 วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย


สมมุติฐาน
1. vL(t) เป็นแรงดันที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำ
2. ณ. t = 0, ค่ากระแสไฟฟ้าเริ่มต้น มีค่าเป็น i(0) = I0

1 2
จะได้ w(0) = LI 0
2

13
▪ จากรูปวงจร ใช้กฎแรงดันของเคิร์ชฮอฟฟ์ (Kirchhoff’s Voltage Laws)
di di R
vL + v R = 0  L + Ri = 0 หรือ + i=0
dt dt L

▪ จัดรูปสมการใหม่
di R
= − dt
i L

▪ อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


di R
 i L  dt
= −

R
ln i (t ) = − t + K
L
▪ หา K, t = 0
R
ln i (0) = − (0) + K
L
K = ln i (0) = ln I 0

14
▪ แทนค่า K และยกกำลัง e จะได้
R
ln i (t ) = − t + ln I 0
L
i (t ) R
ln =− t
I0 L
R
i (t ) − t
=e L
I0
R
− t
 i (t ) = I 0e L
; I 0 = initial current
………………………………………

L
➢ = => ค่าคงที่ทางเวลา (Time constant) เป็น
R
ค่าเวลาการตอบสนองที่ทำให้กระแสลดลงเป็น 1/e หรือ
36.8% ของค่าเริ่มต้น
 i (t ) = I 0e − t 
➢ t =
 i (t ) = I 0e −1 = 0.368I 0

15
=> แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน

vR (t ) = i (t ) R = RI 0e −t 

=> กำลังไฟฟ้าที่ใช้โดยตัวต้านทาน

p (t ) = vR (t )iR (t ) = RI 02e −2t 

=> พลังงานที่ดูดซับโดยตัวต้านทาน
t
1 2
wR (t ) =  p(t ) dt =
0
2
LI 0 (1 − e −2t  )

16
ตัวอย่างที่ 6.3 จงหา i(t) ที่ t > 0
➢ จากรูป a ที่ t< 0 => i(t) = i(0) = I0

4  12
Ra = = 3
4 + 12
40
i1 = = 8A
2+3
12 12
i (t ) = i (0) = I 0 =  i1 = 8 = 6A
12 + 4 12 + 4

➢ จากรูป b ที่ t> 0 => Req และ i(t)

(12 + 4)  16
Req = = 8
(12 + 4) + 16
L 2 1
= = = s
Req 8 4
 i (t ) = I 0 e −t  = 6e −4t A

17
18
แบบฝึกหัดที่ 6.2 จงหา io (t), vo (t) และ i(t) ที่ t > 0

[Grab your reader’s attention with a great quote from the document or use this space to emphasize
a key point. To place this text box anywhere on the page, just drag it.]

[Grab your reader’s attention with a great quote from the document or use this
space to emphasize a key point. To place this text box anywhere on the page,
just drag it.]

19
เปรียบเทียบระหว่างวงจร RC กับ RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย

วงจร RC วงจร RL
L
v(t ) = vC (t ) = V0e −t  ; = RC i (t ) = iL (t ) = I 0e −t  ; =
R

20
6.2 วงจร RC และ RL ที่มีแหล่งจ่าย
ฟังก์ชันเอกฐาน (Singularity functions) หรือ ฟังก์ชันสวิตช์ (Switch functions)
ในการวิเคราะห์วงจรเพื่อหาผลตอบสนองของวงจรอันดับหนึ่งสามารถทำได้ โดยการป้อนแหล่งจ่ายหรือกระตุ้น
วงจรดังกล่าวด้วยฟังก์ชันเอกฐาน (Singularity functions) ซึ่งเป็นฟังก์ชันที่ไม่ต่อเนื่องทางเวลา หรือ การเปลี่ยนแปลง
ตามเวลาของฟังก์ชันนั้นๆ มีความไม่ต่อเนื่อง ที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ามีอยู่ 3 แบบ คือ ฟังก์ชันขั้นหนึ่งหน่วย
(Unit step function) ฟั งก์ ชั น อิ ม พั ล ส์ ห นึ่ งหน่ วย (Unit impulse function) และฟั ง ก์ ชั น แรมป์ ห นึ่ ง หน่ ว ย (Unit
ramp function)

ฟังก์ชันขั้นหนึ่งหน่วย (Unit step function) หรือ u(t)


▪ ที่เวลา t=0
0 t0
u (t ) =  =
1 t 0

21
▪ ที่เวลา t ใดๆ

0 t  t0
u (t − t0 ) =  =
1 t  t0

0 t  −t0
u (t + t0 ) =  =
1 t  −t0

22
ฟังก์ชันขั้นใช้ในการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันของแหล่งจ่ายแรงดันและกระแสไฟฟ้า
▪ แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า

0 t0
v(t ) = 
V0 t 0

▪ แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า

0 t0
i (t ) = 
I0 t 0

23
6.2.1 การตอบสนองแบบขั้นของวงจร RC (The step response of an RC circuit)
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า เพื่อหาผลตอบสนองแบบขั้น (Step response) ของวงจร RC สามารถทำได้โดยการ
กระตุ้นวงจรด้วยฟังก์ชันแบบขั้ น (Step function) โดยการป้ อนแหล่งจ่ายแรงดันหรือกระแสตรง (DC voltage or
current source) ให้กับวงจรในลักษณะแบบทันทีทันใด

An RC circuit with voltage step input

24
▪ เงื่อนไขในสภาวะเริ่มต้น (Initial condition)
v(0− ) = v(0+ ) = V0

▪ โดยประยุกต์ใช้ KCL จะได้ iC + iR = 0

dv v − VS u (t ) dv dt
C + =0 หรือ =−
dt R v − VS u (t ) RC

▪ อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


v (t ) dv 1 t
V0 v − VS
=−
RC 0
dt ; t  0, u (t ) = 1
t
v (t ) t
ln (v − VS ) V =−
0
RC 0

t
ln (v(t ) − VS ) − ln(V0 − VS ) = − +0
RC
v(t ) − VS t
ln =−
V0 − VS RC
v(t ) − VS
= e − t / RC
V0 − VS

25
v(t ) − VS = (V0 − VS )e − t / RC
v(t ) = VS + (V0 − VS )e − t / ; t  0,  = RC

ดังนั้น

V ;t  0
v(t ) =  0 − t /

VS + (V0 − VS )e ;t  0

ถ้าตัวเก็บประจุไม่มีการชาร์ทในตอนเริ่มต้น นั่นคือ V0 = 0 ดังนั้น

0 ;t  0
v(t ) =  − t /

 VS (1 − e ) ;t  0

dv
i (t ) = C
dt
d (VS − VS e −t / ) C V
=C = VS e−t / = S e −t /
dt  R

26
สรุป

หรือ v(t ) = vn (t ) + v f (t )
เมื่อ
vn (t ) = V0e − t /
v f (t ) = VS (1 − e − t / )

จากสมการของแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุที่เวลา t > 0 อาจจะเขียนได้เป็น

v(t ) = VS + V0 − VS  e − t /  v(t ) = v() + v(0) − v()  e − t /

27
ตัวอย่างที่ 6.4

28
แบบฝึกหัดที่ 6.3 จงหา v(t) ที่ t > 0 และ ที่ t = 0.5 s ( −5 + 15e V , 0.5182V )
−2t

29
6.2.2 การตอบสนองแบบขั้นของวงจร RL (The step response of an RL circuit)
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า เพื่อหาผลตอบสนองแบบขั้น (Step response) ของวงจร RL สามารถทำได้โดยการ
กระตุ้นวงจรด้วยฟังก์ชันแบบขั้ น (Step function) โดยการป้ อนแหล่งจ่ายแรงดันหรือกระแสตรง (DC voltage or
current source) ให้กับวงจรในลักษณะแบบทันทีทันใด

An RL circuit with voltage step input

30
▪ เงื่อนไขในสภาวะเริ่มต้น (Initial condition)
i (0− ) = i (0+ ) = I 0

▪ โดยประยุกต์ใช้ KVL จะได้ vL + vR = 0


di di dt
L + iR = VS u (t ) หรือ =−
dt iR − VS u (t ) L

▪ อินทิเกรตสมการทั้ง 2 ด้าน จะได้


i (t ) di 1 t
I0 iR − VS
= −  dt
L 0
; t  0, u (t ) = 1
i (t ) t
1 t
ln (iR − VS ) = −
R I0 L0
R
ln (iR − VS ) − ln( I 0 R − VS ) = − t+0
L
i (t ) R − VS R
ln =− t
I 0 R − VS L
i (t ) R − VS
= e −tR / L
I 0 R − VS

31
i (t ) R − VS = ( I 0 R − VS )e −tR / L
VS V L
i (t ) = + ( I 0 − S )e −t / ; t  0,  =
R R R

ดังนั้น
 I0
 ;t  0
i (t ) = VS VS −t / 
 R + ( I 0 − )e ;t  0
R

ถ้าตัวเหนี่ยวนำไม่มพี ลังงานสะสมในตอนเริ่มต้น นัน่ คือ I0 = 0 ดังนั้น


0
 ;t  0
i (t ) =  VS − t /

 R (1 − e ) ;t  0

V 
d  S (1 − e − t / ) 
di R
v(t ) = L = L  
dt dt
V 
d  S e − t / 
=L 
R  = L V e − t / = V e − t /
R
S S
dt

32
สรุป

หรือ i(t ) = in (t ) + i f (t )
เมื่อ
in (t ) = I 0e − t /
VS
i f (t ) = (1 − e − t / )
R
จากสมการของแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุที่เวลา t > 0 อาจจะเขียนได้เป็น

VS  VS  − t /
i (t ) = +  I 0 −  e  i (t ) = i () + i (0) − i ()  e − t /
R  R

33
ตัวอย่างที่ 6.5 จงหา i(t) ที่ t > 0

34
…………………………………………………..

35

You might also like