You are on page 1of 10

http://www.pec9.

com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส


เฉลยบทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
1. ตอบข้ อ 2.
แนวคิด โจทย์บอก t = 1 นาที = 60 วินาที , Q = 120 C = 120 x 10–6 C , I = ?
จาก I = Qt = 120 60 x10 6 = 2 x 10–6 แอมแปร์


2. ตอบข้ อ 4.
แนวคิด โจทย์บอก มีประจุ ( Q ) –5 C กับ +3 C วิง่ สวนกัน
t = 10 วินาที ให้หา I = ?
– – +
| Q1 |  | Q2 | – Q1 = –5 C +
I = t – +
I = | 5 |  | 3 | +
10 – Q2 = +3 C +
I = 0.8 แอมแปร์


3. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด โจทย์บอก A = 3 mm2 = 3 x (10–3)2 ม.2 = 3 x 10–6 ม.2
v = 0.28 mm/s = 0.28 x 10–3 m/s
N = 6 x 1028 ม.–3 , I = ?
จาก I = N e v A = (6 x 1028) (1.6 x 10–19) (0.28 x 10–3) (3 x 10–6) = 8.1 A


4. ตอบ 10800
แนวคิด เนื่องจากเวลาในกราฟของโจทย์ I (A)
มีหน่วยเป็ นนาที จะต้องเปลี่ยนหน่วย
10
ให้เป็ นวินาทีก่อนโดย
6
10 นาที = 600 วินาที
20 นาที = 1200 วินาที ดังรู ป 600 1200 t (วินาที)
จาก Q = พื้นที่ใต้กราฟ I กับ t

1
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
Q = พื้นที่  ผืนผ้าด้านหน้า + พื้นที่  คางหมูดา้ นหลัง
Q = ( กว้าง x ยาว ) + 12 ( ผลบวกด้านคูข่ นาน ) ( สูง )
Q = ( 10 x 600 ) + 12 (10 + 6) ( 600 )
Q = 6000 + 4800
Q = 10800 คูลอมบ์


5. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด โจทย์บอก  = 2 x 10–8  . m , R = 1  , L = ?
A = 1 mm2 = 1 x (10–3)2 m2 = 1 x 10–6 m2
จาก R =  AL
8
1 = (2 x 10  6) L
(1 x 10 )
(1 x 10  6 ) = L
(2 x 10  8 )
L = 50 เมตร


6. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด สมมุติ 1 = x จะได้ 2 = 5 x ( เป็ น 5 เท่าของเส้นแรก )
A2
A1 = ? โดย L , R คงที่
จาก R =  AL
จะได้ RA = L
( R A )2 (ρ L )2
และ ( R A )1 = ( ρ L )1 ( ค่า R , L คงที่จึงตัดทอนได้ )
A2 ρ 2
A1 = ρ1
A2 5 x
A1 = x
A2 5
A1 = 1
2
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
7. ตอบข้ อ 4.
แนวคิด สมมุติ รัศมี rB = x จะได้วา่ rA = 12 x ( เป็ นครึ่ งหนึ่งของ B )
โจทย์ให้หา ความต้านทาน RA = ?
เส้นลวดทั้งสองนี้ทาจากโลหะชนิดเดียวกัน ดังนั้นจะมีค่าสภาพต้านทาน () เท่ากัน
จาก R =  L2
r
จะได้ 2
r R = L
(  r2 R )A ( ρ L ) A
และ = (ρ L) ( ค่า  ,  , L คงที่จึงตัดทอนได้ )
(  r2 R )B B
( r2 R )A
=1
( r2 R )B
( 1 x)2 RA
2 = 1
(x)2 RB
RA
4 RB = 1
RA = 4 R B
นัน่ คือลวดเส้น A จะมีความต้านทานเป็ น 4 เท่าของลวดเส้น B


8. ตอบข้ อ 4.
แนวคิด โจทย์บอก R = 20  , I = 5 A , t = 30 วินาที
ให้หา ความร้อนที่เกิดขึ้น = พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป ( W ) = ?
จาก W = I2 R t = (5)2 (20) (30) = 15 x 103 จูล


9. ตอบข้ อ 2.
แนวคิด โจทย์บอก V = 80 โวลต์ , Q = 1.6 x 10–19 C
+
m = 9.1 x 10–31 kg , v = ?

– e +
อิเล็กตรอนที่อยูร่ ะหว่างความต่างศักย์ จะวิง่ เข้าหา – +
ขั้วไฟฟ้าบวกด้วยความเร็ วขนาดหนึ่ง และจะมีการ
3
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
เปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้า ( W = Q V ) ไปเป็ นพลังงานจลน์ ( Ek = 12 m v2 )
จากกฎการอนุรักษ์พลังงานจะได้วา่
Ek = Wไฟฟ้า
1 mv2 = Q V
2
v = 2 Qm V
v = 2 (1.6 x 10 19 ) (80)
(9.1 x 10 31 )
v = 5.3 x 106 เมตร/วินาที


10. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด โจทย์บอก V = 220 โวลต์ , R = 44  , P = ?
จาก P = VR2 = 220
44
2 = 1100 วัตต์


11. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด โจทย์บอก Pรวม = 300 + 750 + (40 x 2) + 150 = 1280 วัตต์
V = 220 โวลต์ , I = ?
จาก P = IV
จะได้ 1280 = I ( 220 )
I = 5.8 แอมแปร์
นัน่ คือต้องใช้กระแสไฟฟ้า 5.8 แอมแปร์
จึงควรใช้ฟิวส์ขนาดเล็กที่สุด 6.5 แอมแปร์ เพื่อให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านพอใช้


12. ตอบ 2.25


แนวคิด โจทย์บอก P = 3000 วัตต์ , t = 15 นาที = 15 60 ชัว่ โมง
ราคาต่อหน่วย = 3 บาท , ค่าไฟฟ้าทั้งหมด = ?
P ) t (ราคาต่อหน่วย) = ( 3000 ) ( 15 ) (3) = 2.25 บาท
จาก ค่าไฟฟ้า = ( 1000 1000 60


4
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
13. ตอบข้ อ 4.
แนวคิด ข้อนี้ต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม จะได้วา่
I2 = I1 ( แทน I = VR )
V2 V1
จะได้ R 2 = R1 R1 = 2 R2 = 4
V2 8
4 = 2 V1 = 8 V V2 = ?
V2 = 16 โวลต์


14. ตอบข้ อ 2.
แนวคิด จากรู ปจะได้วา่ V2 = 24 โวลต์ , R2 = 8 
Vรวม = ? , Rรวม = 3 + 8 = 11 
เนื่องจากต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม จะได้วา่
Iรวม = I2 ( แทน I = VR )
จะได้ Vรวม V2
R รวม = R 2 R1=3 R2=8
V2 24
11 = 8
V2= 24 V
Vรวม = 33 โวลต์


15. ตอบ 15
แนวคิด จากรู ปจะได้วา่
Iรวม
V1 = 13 V 30 
R1 = ? Vรวม = V A
Vรวม = V I1 R1 V1 = 13 V
Rรวม = R1 + 30
B
เนื่องจากต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม จะได้วา่
Iรวม = I1 ( แทน I = VR )
จะได้ Vรวม = V1
R รวม R1
5
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
1V
V 3
R1 30 = R1
R1 = 13 ( R1 + 30 )
3 R1 = R1 + 30
R1 = 15 


16. ตอบ 20
แนวคิด โจทย์บอกข้อมูลดังรู ป แล้วให้หา Iรวม = ?
เนื่องจากเป็ นการต่อแบบขนานจึงได้วา่
V1 = V2 ( แทน V = I R ) R1 = 4  , I1 = 15 แอมแปร์
I1 R1 = I2 R2
( 15 ) ( 4 ) = I2 ( 12 ) Iรวม = ?
I2 = 5 แอมแปร์ R2 = 12  , I2
สุ ดท้ าย หา Iรวม = I1 + I2 = 15 + 5 = 20 แอมแปร์


17. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด ขั้นที่ 1 หา Rรวม
จาก R 1 = 12 + 13 + 41 = 6 12 4  3 = 13
12
รวม
Rรวม = 12
13  2
ขั้นที่ 2 เนื่ องจากต่อตัวต้านทานแบบขนาน จะได้วา่ I2= 4A R2= 3
Vรวม = V2 ( แทน V = IR )
4
Iรวม Rรวม = I2 R2
Iรวม ( 12
13 ) = ( 4 ) ( 3 )
Iรวม = 13 แอมแปร์


6
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
18. ตอบข้ อ 1.
แนวคิด โจทย์บอก Iรวม = 3.5 A
สมมุติ กระแสที่ไหลแบ่งขึ้นสายบน ( I1 ) = x
จะได้วา่ กระแสที่ไหลลงสายล่าง ( I2 ) = 3.5 – x ดังรู ป
เนื่องจากต่อแบบขนานจึงได้วา่
V1 = V2 ( แทนค่า V = I R ) I1 = x
I1 R1 = I2 R2
Iรวม = 3.5 A R1 = 3 
( x ) ( 3 ) = ( 3.5 – x ) ( 4 ) R2 = 4 
3 x = 14 – 4 x
I2 = 3.5 – x
7 x = 14
x = 2
นัน่ คือ กระแสที่ผา่ นความต้านทาน 3  = x = 2 แอมแปร์
และ กระแสที่ผา่ นความต้านทาน 4  = 3.5 – x = 3.5 – 2 = 1.5 แอมแปร์


19. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด โจทย์บอก E = 12 V , r = 2  , R = 10  , P = ?
ขั้นที่ 1 หากระแสไฟฟ้า ( I )
จาก E = I(R+r)
จะได้ 12 = I ( 10 + 2 )
I = 1 แอมแปร์
ขั้นที่ 2 หากาลังไฟฟ้า ( P )
จาก P = I2 R = (1)2 ( 10) = 10 วัตต์


7
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
20. ตอบข้ อ 4.
แนวคิด ความต่างศักย์ที่ข้ วั เซล หมายถึงความต่างศักย์ที่คร่ อมตัวต้านทานภายนอก (Vภายนอก)
โจทย์บอก E = 18 V , R = 4  , r = 2  , V = ? V
ภายนอก = ?
ขั้นที่ 1 หา I R=4
จาก E = I(R + r)
จะได้ 18 = I ( 4 + 2 )
18 V , 2 
I = 3 แอมแปร์
ขั้นที่ 2 หา Vภายนอก
จาก V = I R = ( 3 ) ( 4 ) = 12 โวลต์


21. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด เนื่องจากเซลไฟฟ้าต่อแบบอนุกรมกลับทิศ ( หันขั้วบวกไปคนละทาง ) ดังนั้น
Eรวม = 20 – 10 = 10 V , rรวม = 1 + 2 = 3 
R = 7 , I = ? 7
จาก E = I(R + r)
I 10V , 2
จะได้ 10 = I ( 7 + 3 )
20V , 1
I = 1 แอมแปร์
นัน่ คือกระแสไฟฟ้าในวงจรมีขนาด 1 แอมแปร์ ในทิศตามเข็มนาฬิกา


22. ตอบข้ อ 2.
แนวคิด ข้อนี้มี 3 เซลไฟฟ้า ต่ออนุกรม แต่ละเซลล์จะส่ งกระแสไฟฟ้าออกจากขั้วบวก
( เส้นยาว ) การหาแรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมควรใช้เทคนิคดังนี้
1. สมมุติให้เซลที่มีกระแสไฟฟ้าไหลตามเข็มนาฬิกา มีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็ นบวก
ส่ วนเซลที่มีกระแสไหลทวนเข็มนาฬิกามีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็ นลบ ดังรู ป
2. การหาแรงเคลื่อนไฟฟ้ารวม ให้นาแรงเคลื่อนไฟฟ้าของทุกเซลล์มากบวกกัน
จะได้ Eรวม = (–20) + (10) + (–30) = –40 โวลต์ ( การคานวณต่อไม่ตอ้ งใช้เครื่ องหมายลบ )
( Eรวม มีค่าเป็ นลบแสดงว่ากระแสไฟฟ้ารวมของวงจรจะไหลทวนเข็มนาฬิกา )
และ rรวม = 1 + 0.5 + 1.5 = 3 
8
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
R = 7

สุ ดท้ าย หากระแสไฟฟ้าในวงจร -20V , 1 +10V , 0.5


จาก E = I(R + r)
จะได้ 40 = I ( 7 + 3 ) I
I = 4 แอมแปร์
7 -30V , 1.5
นัน่ คือกระแสไฟฟ้าในวงจรมีขนาด 4 แอมแปร์ ในทิศทวนเข็มนาฬิกา


23. ตอบข้ อ 2.
แนวคิด พิจารณาเซลไฟฟ้า 2 เซลซึ่ งต่อกันแบบขนาน
จะได้วา่ Eรวม = 12 โวลต์
rรวม = 22 x 22 = 1  I
R = 5 12 V 12 V
2 2 5
หากระแสไฟฟ้าในวงจร
จาก E = I(R + r)
จะได้ 12 = I ( 5 + 1 )
I = 2 แอมแปร์
นัน่ คือกระแสไฟฟ้าในวงจรมีขนาด 2 แอมแปร์ ในทิศตามเข็มนาฬิกา


24. ตอบข้ อ 1.
แนวคิด โจทย์บอก RG = 90  , IG = 10 A , Iรวม = 100 A , RS = ?
จาก ( Iรวม – IG ) RS = IG RG
จะได้ ( 100 – 10 ) RS = ( 10 ) ( 90 )
( 90 A ) RS = ( 10 A ) ( 90 )
RS = 10 โอห์ม
นัน่ คือความต้านทานของชันต์มีค่าเท่ากับ 10 โอห์ม
ในแอมมิเตอร์ น้ นั ชันต์ตอ้ งต่อขนานกับแกลวานอมิเตอร์ เสมอ
9
http://www.pec9.com Physics บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส


25. ตอบข้ อ 2.
แนวคิด โจทย์บอก Iรวม = 1 mA = 1000 A , RS = 10 
IG = 100 A , RG = ?
จาก ( Iรวม – IG ) RS = IG R G
จะได้ (1000 – 100 ) ( 10 ) = ( 100 ) RG
( 900 A ) ( 10 ) = ( 100 A ) RG
RG = 90 โอห์ม


26. ตอบข้ อ 3.
แนวคิด การทาแกลแวนอมิเตอร์ เป็ นโวลต์มิเตอร์ ต้องนาตัวต้านทาน (มัลติพลายเออร์ , Rm )
มาต่อเพิ่มแบบอนุกรม และหาขนาด Rm ได้โดย
RG = 25  , IG = 1 mA = 1 x 10–3 A , Vรวม = 1 โวลต์ , Rm = ?
จาก Vรวม = IG ( RG + Rm )
จะได้ 1 = (1 x 10–3) ( Rm + 25)
1000 = Rm + 25
Rm = 975 โอห์ม


10

You might also like