You are on page 1of 34

1.

ให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ


พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) A + B + C = ((A , B) + C) + ((A + B) , C)
ข) ถ้า B + C = Q และ A 1 (B , C) แล้ว (A , B) + C = A + B
ค) P (P (Q)) 1 P (P (P (Q))) เมื่อ Q แทนเซตว่าง
ง) ให้ n (A , B) = 63 และ n [(A - B) , (B - A)] = 48
ถ้า n (B) = 42 แล้ว n (B - A) = 28
จำ�นวนข้อความที่ถูกต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 (ไม่มีข้อความถูกต้อง) 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) 1

เฉลยละเอียด

ก) A + B + C = ((A , B) + C) + ((A + B) , C)

A B A B A B

+
C C C
A+B+C ((A , B) + C) ((A + B) , C)

A B

C
((A , B) + C) + ((A + B) , C)
ดังนั้น ก) ผิด

ข) ถ้า B + C = Q และ A 1 (B , C) แล้ว (A , B) + C = A + B


กรณี B A C


B A C B A C

เซตว่าง
(A , B) + C A+B

ดังนั้น ข) ผิด
ค) P (P (Q)) 1 P (P (P (Q))) เมื่อ Q แทนเซตว่าง
ให้ A = P (P (Q))
จะได้ A 1 P (A)
ดังนั้น ค) ถูก

ง) ให้ n (A , B) = 63 และ n [(A - B) , (B - A)] = 48


ถ้า n (B) = 42 แล้ว n (B - A) = 28
A B
x y z

x + y + z = 63
x + z = 48
ดังนั้น y = 15
จาก y + z = 42
จะได้ z = 27
ดังนั้น ง) ผิด

สรุปได้ว่า จำ�นวนข้อความที่ถูกต้องเท่ากับ 1
2. จำ�นวนเต็ม a ที่สอดคล้องกับอสมการ 50 + x - 60 - x < 100 มีทั้งหมดกี่จำ�นวน
1. 98 2. 99 3. 100 4. 101 5. 102

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) 99

เฉลยละเอียด

50 + x , x $ - 50
เนื่องจาก 50 + x = )
-]50 + xg , x < - 50
60 - x , x < 60
60 - x = )
-^60 - xh , x $ 60
แบ่งกรณี จะได้ดังนี้
3
2
1

-50 60
กรณีที่ 1 ; x < - 50
-]50 + xg - ^60 - xh < 100
- 110 < 100
110 < 100
ดังนั้น ไม่มีค�ำตอบ

กรณีที่ 2 ; - 50 # x < 60
]50 + xg - ^60 - xh < 100
2x - 10 < 100
- 100 < 2x - 10 < 100
- 90 < 2x < 110
- 45 < x < 55
ดังนั้น - 45 < x < 55

กรณีที่ 3 ; x $ 60
]50 + xg + ^60 - xh < 100
110 < 100
110 < 100
ดังนั้น ไม่มีค�ำตอบ
จาก 3 กรณี สรุปได้ว่า - 45 < x < 55
เนื่องจาก a เป็นจ�ำนวนเต็ม
ดังนั้น a ที่เป็นไปได้ คือ - 44, - 43, ..., 53, 54
จะได้ว่า a มีทั้งหมด 54 - ^- 44h + 1 = 99 ตัว
3. กำ�หนดให้ U = 7- 5, 5A
จงหาผลบวกของจำ�นวนเต็มในเซต S โดยที่ S = % x ! U log x + 1 ^ x2 - 2x + 5h H log x + 1 8 /
1. -2 2. 2 3. 3 4. 7 5. 12

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 5) 12

เฉลยละเอียด
log x + 1 ^ x 2 - 2x + 5h H log x + 1 8
แบ่งช่วงตามฐานของ log จะได้ดังนี้
กรณี 0 < x + 1 < 1 & - 1 < x < 0
x 2 - 2x + 5 G 8
x 2 - 2x - 3 G 0
^ x - 3h] x + 1g G 0

+ - +
-1 3
-1 G x G 3
ดังนั้น - 1 < x < 0
กรณี x + 1 > 1& x > 0
x 2 - 2x + 5 H 8
x 2 - 2x - 3 H 0
^ x - 3h] x + 1g H 0

+ - +
-1 3
x ! _- 3, - 1A , 63, 3h
ดังนั้น xH3

สรุปได้ว่า เซตค�ำตอบ คือ ^- 1, 0h , 63, 3h


ตรวจค�ำตอบ โดยเลขหลัง log ต้องมากกว่า 0 & x2 - 2x + 5 = ^ x - 1h2 + 4 > 0 เป็นจริงเสมอ
ฐานต้องมากกว่า 0 และไม่เท่ากับ 1 & x + 1 > 0 และ x + 1 ! 1
x >-1 x!0

-5 -1 0 3 5
เนื่องจาก U = 7- 5, 5A
ดังนั้น เซตค�ำตอบ คือ ^- 1, 0h , 63, 5@
จะได้ว่า จ�ำนวนเต็มในเซตค�ำตอบ ได้แก่ 3, 4, 5
ท�ำให้ผลบวก เท่ากับ 3 + 4 + 5 = 12
4. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) ถ้าประพจน์ (p / (q " r)) " (r 0 s) มีค่าความจริงเป็นเท็จแล้ว (p / q) " s มีความความจริงเป็นเท็จ
ข) ประพจน์ [(+ p " q) 0 (r " q)] สมมูลกับประพจน์ [+ q " (r " p)]
ค) ประพจน์ [(p " q) 0 (q / + q)] " [(+ p 0 q) / (r 0 + r)] เป็นสัจนิรันดร์
ง) กำ�หนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ {x ! R | | 2x - 3 | G 7} ประพจน์ 7x [4 x + 2 x = 72] มีค่าความจริงเป็นจริง
จำ�นวนข้อความที่ถูกต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 (ไม่มีข้อความถูกต้อง) 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 4) 3

เฉลยละเอียด

ก) ถ้าประพจน์ (p / (q " r)) " (r 0 s) มีค่าความจริงเป็นเท็จแล้ว (p / q) " s มีความความจริงเป็นเท็จ


(p / (q " r)) " (r 0 s) / F
จะได้ (p / (q " r)) / T และ (r 0 s) / F
p / T และ (q " r) / T r / F และ s / F
(q " F) / T
q/F
จะได้ (p / q) " s / (T / F) " F
/F"F
/T
ดังนั้น ก) ผิด

ข) ประพจน์ [(+ p " q) 0 (r " q)] สมมูลกับประพจน์ [+ q " (r " p)]


[(+ p " q) 0 (r " q)] / [(p 0 q) 0 (+ r 0 q)]
/ [q 0 + r 0 p]
/ [q 0 (+ r 0 p)]
/ [q 0 (r " p)]
/ [+ q " (r " p)]
ดังนั้น ข) ถูก
ค) ประพจน์ [(p " q) 0 (q / + q)] " [(+ p 0 q) / (r 0 + r)] เป็นสัจนิรันดร์
[(p " q) 0 (q / + q)] " [(+ p 0 q) / (r 0 + r)] / [(p " q) 0 F] " [(+ p 0 q) / T]
/ (p " q) " (+ p 0 q)
/ (p " q) " (p " q)
/ T
ดังนั้น ค) ถูก

ง) กำ�หนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ {x ! R | | 2x - 3 | G 7} ประพจน์ 7x [4 x + 2 x = 72] มีค่าความจริงเป็นจริง


x x
4 + 2 = 72
2x x 2x x
2 + 2 = 72 & 2 + 2 - 72 = 0
x x
(2 + 9) (2 - 8) = 0
x
2 = - 9, 8 & x = 3
จะได้ 2x - 3 G 7 & 2 (3) - 3 G 7 & 3 G 7
ดังนั้น ง) ถูก

สรุปได้ว่า มีข้อความที่ถูกต้องเท่ากับ 3
x-3
5. lim มีค่าเท่ากับเท่าใด
x"3 x - x - 6
-
2

1. - 15 2. - 19 3. 1
0 4. 9 5. 1
5

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 1) -1
5

เฉลยละเอียด

-
เนื่องจาก x"3 จะท�ำให้ x2 - x - 6 มีค่าเป็นลบ
x-3 x-3
จะได้ว่า lim = lim
x " 3 ^ x - x - 6h
--
x"3 x - x - 6
-
2 2

x-3
- ^ x - 3 h] x + 2g
= lim -
x"3

= lim - 1
- ] x + 2g

x"3

= - 15
6. ให้ P เป็นจุดบนไฮเปอร์โบลา ซึ่งมีจุดโฟกัสที่ F1 ^5, 0h และ F2 ^- 5, 0h
ถ้า PF1 = 4 และ PF2 = 12 แล้วสมการไฮเปอร์โบลาคือข้อใด
2
x2 - y = y2 x2 y2 x2
1. 2. - 3. -
25 16 1 16 9 = 1 9 16 = 1
2 2
x2 - y = x2 - y =
4. 16 9 1 5. 9 16 1

2
x2 - y =
คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 4) 16 9 1

เฉลยละเอียด

-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
-1

-2

-3

-4

จะได้ว่า จุดศูนย์กลาง คือ ^0, 0h


เนื่องจาก PF1 - PF2 = 2a
จะได้ว่า 4 - 12 = 2a
8 = 2a
a=4
เนื่องจาก จุดโฟกัสอยู่ที่ F1 ^5, 0h และ F2 ^- 5, 0 h
จะได้ระยะโฟกัสเท่ากับ 2c = 10
c=5
เนื่องจาก a2 + b2 = c2
ดังนั้น 42 + b2 = 52
b2 = 52 - 42
b2 = 9
b=3
2
x2 - y =
สรุปได้ว่า สมการไฮเปอร์โบลา คือ 1
42 32
2
x2 - y =
16 9 1
10
7. ในการกระจาย c 2x2 + 21x3 m จะมีพจน์ที่เป็นค่าคงที่เป็นเท่าใด
1. 4 2. 16 3. 840 4. 960 5. 1080

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 3) 840

เฉลยละเอียด

1 10 10 10 1 i
c 2x 2 +
3m = / e o^2x 2h10 i c 3 m
-
จะได้ว่า
2x 2x
i=0 i
10 10
= / e o : 210 - i : x 2^10 - ih : 2-i : x-3i
i=0 i
10 10
= / e o : 210 - i - i : x 2^10 - ih - 3i
i=0 i
เนื่องจากต้องการรู้พจน์ที่เป็นค่าคงที่
ดังนั้น ก�ำลังของ x ต้องเป็น 0
จะได้ว่า 2^10 - ih - 3i = 0
20 - 5i = 0
20 = 5i
i=4
10
แทนค่าหาพจน์ที่ i = 4 จะได้เป็น e 4 o : 210 - 4 - 4 : x2^10 - 4h - 3]4g = 610 ! 2
!4! : 2 : x
0

= 840
8. ถ้า uv = vi + 3vj - 2kv และ v = 2vi - 3vj + kv
vv # w แล้ว ]uv # wvg : ^2uv + vv - 3wvh มีค่าเท่าใด
1. -9
2. 9
3. 16
4. 25
5. 36

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) 9

เฉลยละเอียด

จะได้ว่า ]uv # wvg : ^2uv + vv - 3wvh = ]uv # wvg : 2uv + ]uv # wvg : vv - ]uv # wvg : 3wv
เนื่องจาก uv, wv ตั้งฉากกับ uv # wv
ดังนั้น ]uv # wvg : 2uv = 0 และ ]uv # wvg : 3wv = 0
จะได้ว่า ]uv # wvg : 2uv + ]uv # wvg : vv - ]uv # wvg : 3wv = 0 + ]uv # wvg : vv - 0
= ]uv # w vg : vv
= uv : ]w v # vvg
= uv : ^-]vv # w vgh
= _vi + 3vj - 2kvi : _-_2vi - 3vj + kvii
= _vi + 3vj - 2kvi : _- 2vi + 3vj - kvi
=- 2 + 9 + 2
=9
9. คะแนนสอบวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ระดับประเทศที่จัดโดยสถาบันกวดวิชาแห่งหนึ่งที่มีสัญลักษณ์เป็นปุ่มชัทดาว์สีแดง
มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 40 และ 8 คะแนน ตามล�ำดับ
จงหาคะแนนต�่ำสุดของผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ซึ่งมีจ�ำนวน 5% ของผู้เข้าสอบทั้งหมด
(ก�ำหนดให้ P ]Z < 1.645g = 0.95, P ]Z < 0.44g = 0.17 และ P ]Z < 0.05g = 0.02 )
1. 57.24 คะแนน
2. 53.16 คะแนน
3. 51.44 คะแนน
4. 43.52 คะแนน
5. 41.36 คะแนน

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) 53.16 คะแนน

เฉลยละเอียด

จะได้ว่า ผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ซึ่งมีจ�ำนวน 5% ของผู้เข้าสอบทั้งหมด คือ P ] X $ Ag = 0.05


โดยที่ A คือคะแนนต�่ำสุดของผู้เข้าสอบที่ได้คะแนนสูงสุด ซึ่งมีจ�ำนวน 5% ของผู้เข้าสอบทั้งหมด
ดังนั้น P ] X $ Ag = 1 - P ] X < Ag
-
เนื่องจาก Z = Xv n
จะได้ว่า 1 - P ] X < Ag = 1 - P c Xv- n
< v m
A-n

= 1 - P b Z < A 40 l = 0.05
-
8
ดังนั้น P b Z < 8 l = 0.95
A - 40

เนื่องจาก P ]Z < 1.645g = 0.95


-
จะได้ว่า A 840 = 1.645
A - 40 = 13.16
A = 53.16 คะแนน
10. ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่เป็นสับเซตของ R # R
กำ�หนด f (x) = x + 5 และ (g-1of) (x) = 3 x - 2
ก) เรนจ์ของ f - 1og = R
ข) g (x) = x3 + 7
ค) f - 1(x) = x2 - 5 ; x H 0
ง) [(g + f) (g - f)] (x) = x3 - x + 2 ; x H - 5
จำ�นวนข้อความที่ถูกต้องเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 (ไม่มีข้อความถูกต้อง) 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 3) 2

เฉลยละเอียด

-1
ก) เรนจ์ของ f og = R
-1 -1
(f og) (x) = f (g (x))
-1 3
= f ( x + 7)
3 2
= ( x + 7) - 5
จาก ( x3 + 7 ) 2 H 0
( x3 + 7 ) 2 - 5 H - 5
จะได้ เรนจ์ของ f - 1og = [- 5, 3)
ดังนั้น ก) ผิด

3
ข) g (x) = x +7
-1 3
(g of) (x) = x-2
-1 3
g (f (x)) = x-2
-1 3
g ( x + 5) = x-2
g (3 x - 2 ) = x+5

ให้ A = 3 x - 2
A3 = x - 2
3 3
x = A +2 ( g (A) = A +7
ดังนั้น ข) ถูก
-1 2
ค) f (x) = x - 5 ; x H 0
จาก f (x) = x + 5
y = x+5
เปลี่ยน y เป็น x เปลี่ยน x เป็น y
x = y+5
x2 = y + 5; x H 0
2
y = x - 5; x H 0
ดังนั้น ค) ถูก

3
ง) [(g + f) (g - f)] (x) = x - x + 2
2 2
[(g + f) (g - f)] (x) = [g (x)] - [f (x)]
3
= x + 7 - (x + 5)
3
= x -x+2
แต่ในรูทของ f (x), g (x) ต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0
จะได้ว่า x H - 5 และ x H-3 7 ( x H-3 7
ดังนั้น ง) ผิด

สรุปได้ว่าจำ�นวนข้อความที่ถูกต้องเท่ากับ 2
11. ผลบวกของค�ำตอบทั้งหมดของสมการ ^2x 2 + 4x + 1h] x + 3g = 1 เป็นเท่าใด
1. - 8
2. - 6
3. - 5
4. - 4
5. - 3

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) -6

เฉลยละเอียด

แบ่งกรณีจะได้ว่า
กรณีที่ 1 ; ^2x2 + 4x + 1h0 = 1
ดังนั้น x+3 = 0
x =- 3
กรณีที่ 2 ; 1] x + 3g = 1
ดังนั้น 2x 2 + 4x + 1 = 1
2x 2 + 4x = 0
2x ] x + 2g = 0
x = 0, - 2
กรณีที่ 3 ; ^- 1h]x + 3g = 1 โดยที่ x + 3 เป็นเลขคู่
ดังนั้น 2x 2 + 4x + 1 = - 1
2x 2 + 4x + 2 = 0
x 2 + 2x + 1 = 0
] x + 1g2 = 0
x =- 1
แทนค่า x = - 1 ใน x + 3
จะได้ว่า - 1 + 3 = 2 เป็นเลขคู่
สรุปได้ว่า ผลบวกของค�ำตอบสมการ คือ - 3 + 0 + ^- 2h + ^- 1h = - 6
12. นายไฟกัลป์ต้องการผ่อนมือถือรุ่นหนึ่ง ในราคา 23, 000 บาท แต่เนื่องจากไม่มีหูฟังมาให้
จึงต้องจ่ายเพิ่มอีก 2, 000 บาท โดยจ่ายดาวน์ไป 5, 000 บาท ที่เหลือผ่อนทุกสิ้นเดือนนาน 6 เดือน
โดยมีอัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นเดือนละครั้ง
จงหาว่า นายไฟกัลป์ต้องผ่อนเดือนละเท่าไหร่
RS V RS V
SS 1 - 101 WWW SS 1 - 100 WWW
20, 000 b 100 lSSS 20, 000 b 100 lSSS
101 100 W 101 101 W
1. 6W บาท 2. 6W บาท
SS1 - b 101 l WW
W SS1 - b 100 l WW
W
100 101
TR X TR X
SS
- 101 VWW SS
- 100 VWW
1 1
100 S 100 WW 100 S 101 WW
3. 20, 000 b 101 lSSS 6W บาท 4. 20, 000 b 101 lSSS 6W บาท
SS1 - b 100 l WWW SS1 - b 101 l WWW
101 100
TR X T X
SS
- 100 VWW
1 101 W
101 S
5. 20, 000 b 100 lSSS 6W
W บาท
SS1 - b 101 l WWW
100
T X
RS V
SS 1 - 100 WWW
20, 000 b 100 lSSS
101 101 W
คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) 6W บาท
SS1 - b 100 l WWW
101
T X
เฉลยละเอียด

จะได้ว่า รวมแล้วต้องผ่อนทั้งหมด 23, 000 + 2, 000 = 25, 000 บาท


จ่ายดาวน์ไป 5, 000 บาท
เหลือต้องผ่อน 25, 000 - 5, 000 = 20, 000 บาท
โดยมีอัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี คิดเป็น 1% ต่อเดือน
จะได้ว่า เราจะยืมเงินในอนาคตมาใช้ก่อน
ดังนั้น ต้องเปลี่ยนมูลค่าเงิน ณ เวลานั้นๆ เป็นมูลค่าปัจจุบัน
โดยยกตัวอย่างเช่น เงิน 100 บาท ได้ดอกเบี้ย 1% ต่อเดือน เมื่อผ่านไป 1 เดือน จะกลายเป็นเงิน 100 b 101 l
100 = 101 บาท
101 =
ดังนั้น เงิน 101 บาท ใน 1 เดือนข้างหน้า จะมีค่าเท่ากับ 100 บาท ในปัจจุบัน
b 101 l
100
ให้ แต่ละเดือนจ่าย x บาท ซึ่งมีมูลค่า ณ เวลานั้นๆ
x
จะได้ว่า เงิน x บาท ใน 1 เดือนข้างหน้า มีค่าเท่ากับ บาท ในปัจจุบัน
b 101 l
100
x
เงิน x บาท ใน 2 เดือนข้างหน้า มีค่าเท่ากับ 101 2 บาท ในปัจจุบัน
b l
100
x
เงิน x บาท ใน 3 เดือนข้างหน้า มีค่าเท่ากับ 101 3 บาท ในปัจจุบัน
b l
100
x
เงิน x บาท ใน 4 เดือนข้างหน้า มีค่าเท่ากับ 101 4 บาท ในปัจจุบัน
b l
100
x
เงิน x บาท ใน 5 เดือนข้างหน้า มีค่าเท่ากับ 101 5 บาท ในปัจจุบัน
b l
100
x
เงิน x บาท ใน 6 เดือนข้างหน้า มีค่าเท่ากับ 101 6 บาท ในปัจจุบัน
b l
100
x + x x x x x
ดังนั้น รวมเป็นเงิน 2 + 3 + 4 + 5 + บาท
b 101 l b l b l b l b l b l
6
101 101 101 101 101
100 100 100 100 100 100
ซึ่งต้องเท่ากับ 20, 000 บาท

x + x x x x x
จะได้ว่า 2 + 3 + 4 + 5 + = 20, 000
b 101 l b 101 l b 101 l b 101 l b 101 l b 101 l6
100 100 100 100 100 100
RS 6V
SS1 - b 100 l WWW
x S 101 W = 20, 000
101 SS W
b l SS 1 - 100 WWW
100 101
T X
RS V
SS 1 - 100 WWW
x = 20, 000b 101 lS
101 W
100 SSS - b 100 l6 WWW บาท
S1 101 W
T X
13. ก�ำหนดให้ f ] xg = 2cossinx x เมื่อ x ! :0, 2 l A = ' f ] xg H 0 x ! :0, 2 l1
- r r
และ
จงหาขอบล่างที่มากที่สุดของเซต A
1. - 3 2. - 1 3. 0 4. 1 5. 3

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 5) 3

เฉลยละเอียด

2 - sin x
ให้ y = cos x
2 - sin x
= cos x cos x
= 2 sec x - tan x

เนื่องจาก sec 2 x = 1 + tan 2 x


x ! :0, 2 l
r
sec x = 1 + tan 2 x เป็นบวก เนื่องจาก
จะได้ว่า y = 2 1 + tan 2 x - tan x
y + tan x = 2 1 + tan 2 x
^ y + tan xh2 = 4 ^1 + tan 2 xh

y 2 + 2 ^ yh tan x + tan 2 x = 4 + 4 tan 2 x

3 tan 2 x - 2 ^ yh tan x + _ 4 - y 2 i = 0
เนื่องจาก x ! :0, r2 l จะได้ว่า tan x ! R
ดังนั้น 3 tan2 x - 2 ^ yh tan x + _4 - y2 i = 0 สามารถแก้สมการได้
จะได้ว่า b 2 - 4ac $ 0
_- 2y i - 4 ]3 g_ 4 - y 2 i $ 0
2

4y 2 - 48 + 12y 2 $ 0
16y 2 - 48 $ 0
y2 - 3 $ 0
^ y + 3 h_ y - 3 i $ 0

+ - +
- 3 3

y ! ^- 3, - 3 h , ^ 3 , 3h
แต่ ในเซต A จะได้ว่า f ] xg H 0
ดังนั้น y ! ^ 3 , 3h
สรุปได้ว่าขอบล่างที่มากที่สุดของเซต A คือ 3
41

5) 41

2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41

4, 9, 25, 49, 121, 169, 289, 361, 529, 841, 961, 1369, 1681

4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22, 24, 26, 28, 30, 32, 34, 36, 38, 40

9, 13, 17, 21, 25, 29, 33, 37, 41, 45, 49, 53, 57, 61, 65, 69, 73, 77, 81

1, 4, 5, 8, 9, 9, 11, 13, 13, 14, 17, 17, 18, 20, 21, 25, 25, 29, 33, 37, 41, 45, 49, 49, ...

41
15. น�ำตัวเลข 0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 มาสร้างเลข 7 หลัก จากนั้นน�ำมาเรียงจากน้อยไปมาก
จงหาว่า 2722005 อยู่ล�ำดับที่เท่าไหร่
1. 169
2. 170
3. 171
4. 172
5. 173

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 1) 169

เฉลยละเอียด

น�ำตัวเลขมาสร้างแล้วเรียงล�ำดับได้ดังนี้
5!
0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 & 2044444 & 2! = 60
5!
0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 & 2244444 & 2! = 60
5!
0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 & 2544444 & 2!2! = 30
4!
0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 & 2704444 & 2! = 12

0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 & 2720444 & 3! = 6

0, 0, 2, 2, 2, 7, 5 & 2722005

ดังนั้น เป็นล�ำดับที่ 60 + 60 + 30 + 12 + 6 + 1 = 169


16. ก�ำหนดให้ 9i เป็นรากที่สามของ z แล้วรากที่หกของ z ที่อยู่ในจตุภาคที่ 3 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. - 3 - 3 2 i
2. -3 - 3 2 i
2 2
3. -3 2 - 3 2 i

4. - 2 - 2i

5. -3 2 - 3 2 i
2 2

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 5) -3 2 - 3 2 i
2 2

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก 9i เป็นรากที่สามของ z
จะได้ว่า z = ^9ih3 = - 729i
z = - 729i = 729 ^cos 270c + i sin 270ch

หารากที่หกของ z

z1 = 6 729 `cos 270c + i sin 270c j = 3 ^cos 45c + i sin 45ch


6 6
z2 = 3 ^cos 105c + i sin 105ch
z3 = 3 ^cos 165c + i sin 165ch
z4 = 3 ^cos 225c + i sin 225ch
z5 = 3 ^cos 285c + i sin 285ch
z6 = 3 ^cos 345c + i sin 345ch

ดังนั้น รากที่หกของ z ที่อยู่ในจตุภาคที่ 3 มีค่าเท่ากับ - 3 2 2 -3 2i


2
17. กำ�หนดให้ u , v และ w เป็นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่ใช่เวกเตอร์ศูนย์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) ^ u $ v h w = u^ v $ w h ข) u 2 v 2 $ u : v 2 - u # v 2

ค) ถ้า ^ u $ v h2 = u 2 v 2 แล้ว u ขนานกับ v ง) ^ u # v h $ ^ u + v + v # u h 2 0


จำ�นวนข้อความที่ถูกต้องมีทั้งหมดกี่ข้อ
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3 5. 4

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 3) 2

เฉลยละเอียด
พิจารณา ข้อความ ก.
^ u $ v h w จะได้เวกเตอร์ที่ขนานกับ w
u^ v $ w h จะได้เวกเตอร์ที่ขนานกับ u
ดังนั้น ^ u $ v h w และ u^ v $ w h ไม่จำ�เป็นต้องเท่ากัน ดังนั้น ข้อความ ก. ผิด

พิจารณา ข้อความ ข.
= ^ u v cos i h - ^ u v sin i h
2 2 2 2
ur : v - ur # v
= ^ u v h ^cos 2 i - sin 2 i h
2

v 2 ]cos 2i g
2
= u
เนื่องจาก 1 $ cos 2i
v 2 ]cos 2i g ดังนั้น
2 2 2
u v $ u ข้อความ ข. ถูก

พิจารณา ข้อความ ค.
^u $ v h = u
2 2 2
v
^ u v cos i h = u
2 2 2
v
2 2 2 2 2
u v cos i = u v
2
cos i = 1
cos i = 1, - 1 & i = 0c, 180c
ดังนั้น u ขนานกับ v ดังนั้น ข้อความ ค. ถูก

พิจารณา ข้อความ ง.
^u # v h $ ^u + v + v # u h 2 0
^u # v h $ u + ^u # v h $ v + ^u # v h $ ^ v # u h 2 0
เนื่องจาก ^u # v h = u , ^u # v h = v & ^u # v h $ u = 0 , ^u # v h $ v = 0
^u # v h $ ^ v # u h 2 0
^ u # v h $ ^-^ u # v hh 2 0
2
- u#v 20
2
u#v 1 0
ดังนั้น ข้อความ ง. ผิด
สรุปได้ว่า จำ�นวนข้อความที่ถูกต้องมีทั้งหมด 2 ข้อ
1
2

5) 1
2

แต่ x20 เนื่องจากเลขหลัง log 2 20


x
จะได้ log2 x2 = 2 log2 x
ให้ A = log 2 x

(3 + 2A) (1 - A) = - 3
2
3 - A - 2A = - 3
2
2A + A - 6 = 0
(2A - 3) (A + 2) = 0
A = 3, - 2
2
log 2 x = 3 , - 2
2
3 -2
x = 2 2, 2
3 -1
ดังนั้น ผลคูณของสมาชิกในเซต A คือ 2 2 $ 2-2 = 2 2 = 1
2
^ x - 19h2 _ y - 98 i
2
19. กำ�หนดให้วงรีรูปหนึ่งมีสมการเป็น 19 + 98 = 1998
และให้ A1, A2, A3 และ A4 แทนพื้นที่ภายในวงรีที่อยู่ในจตุภาคที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามลำ�ดับ
จงหาค่าของ A1 - A4 + A3 - A2
1. 5448 ตารางหน่วย
2. 6448 ตารางหน่วย
3. 7448 ตารางหน่วย
4. 8448 ตารางหน่วย
5. 9448 ตารางหน่วย

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 3) 7448 ตารางหน่วย

เฉลยละเอียด
500

400

300

200 1

A2 (19, 98) A1
100

-200 -100 0 100 200

-100
A3 A4
-200 2

-300

จะได้ว่าแบ่งพื้นที่ตามจตุภาค เป็น A1, A2, A3 และ A4


ดังนั้น A1 - A4 + A3 - A2 = ` A1 - A2 j - ` A4 - A3 j
= ]1 g - ]2g ซึ่งเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ]19g = 38 หน่วย ยาว 2 ]98g = 196 หน่วย
= 38 # 196
= 7448 ตารางหน่วย
20. กำ�หนดให้ f, g เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f m^ xh = - f^ xh และ g^ xh = ^ f l^ xhh2 + ^ f^ xhh2
ถ้า g^ 5h = 25 แล้ว g^2020h มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 1
2. 5
3. 20
4. 25
5. 625

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 4) 25

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก f m^ x h = - f ^ x h
จะได้ว่า f m^ x h + f ^ x h = 0

f l^ x h f m^ x h + f l^ x h f ^ x h = 0

2f l^ x h f m^ x h + 2f l^ x h f ^ x h = 0
d ^^ f l^ x hh2 + ^ f ^ x hh2h = 0
dx
^ f l^ x hh2 + ^ f ^ x hh2 = k

เนื่องจาก g ^ x h = ^ f l^ x hh2 + ^ f ^ x hh2 = k และ g ]5g = 25


ดังนั้น g ^ x h = 25
สรุปได้ว่า g ^2020h = 25
21. ก�ำหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ a, b และ c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ตามล�ำดับ
โดยที่ a, b, c เรียงเป็นล�ำดับเรขาคณิต ถ้า cos2 B = cos A cos C แล้ว cos ^ A + B - C h มีค่าเท่าใด
1. - 12 2. - 1 3. 0 4. 1 5. 12
2 2

1
คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 5) 2

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก a, b, c เรียงเป็นล�ำดับเรขาคณิต
ดังนั้น ba = bc
จากกฎของไซน์ sina A = sinb B = sinc C
b = sin B c sin C
จะได้ว่า a sin A และ b = sin B
sin B = sin C
ท�ำให้ sin A sin B
sin 2 B = sin A sin C
จาก sin 2 B + cos 2 B = 1
sin A sin C + cos A cos C = 1
cos ^ A - C h = 1
เนื่องจาก มุม A, C เป็นมุมในสามเหลี่ยม
จึงท�ำให้ได้ว่า A = C
ดังนั้น cos2 B = cos A cos C = cos2 A
B = A หรือ B = 180 - A
กรณี B = A
A + B + C = 180c
A + A + A = 180c
3A = 180c
A = 60c
กรณี B = 180 - A
จะได้ว่า A + B = 180c
ท�ำให้ ABC ไม่ใช่สามเหลี่ยม
สรุปได้ว่า cos ^ A + B - C h = cos ^60c + 60c - 60ch = cos 60c = 12
Z] RS V _b
]] SSx z yWWW bb
22. ก�ำหนดให้ เมทริกซ์ []] A = SSS y x z WWW x, y, z ! "1, 2, 3, ..., 10 ,`bb และ aij คือค่าที่อยู่แถวที่ i หลักที่ j
] Sz y x W b
\ T X a
สุ่มหยิบเมทริกซ์จากเซต A มา 1 เมทริกซ์ ความน่าจะเป็นที่ a12 > a33 และ a22 < a13 เป็นเท่าใด
162
1. 1000
215
2. 1000
285
3. 1000
810
4. 1000
990
5. 1000

285
คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 3) 1000

เฉลยละเอียด

หาจ�ำนวนวิธีทั้งหมดของ x, y, z โดยแต่ละตัวเป็นได้ 10 แบบ


จะได้เท่ากับ 10 # 10 # 10 = 1000 แบบ
เนื่องจาก a12 > a33 และ a22 < a13

จะได้ว่า z>x และ x<y ตามล�ำดับ


แบ่งกรณีเป็น y < z, y = z และ y>z

กรณี y<z จะได้ x<y<z


10
ดังนั้น เลือกตัวเลข 3 ตัว จาก 10 ตัว = e o = 710 !
!3! = 120 แบบ
3
กรณี y=z จะได้ x<y=z
10
ดังนั้น เลือกตัวเลข 2 ตัว จาก 10 ตัว = e o = 810 !
!2! = 45 แบบ
2
กรณี z<y จะได้ x<z<y
10
ดังนั้น เลือกตัวเลข 3 = e o = 710
ตัว จาก 10 ตัว !
!3! = 120 แบบ
3
รวมได้ทั้งหมด 120 + 45 + 120 = 285 แบบ
285
ดังนั้น ความน่าจะเป็นเท่ากับ 1000
23. ก�ำหนดให้ A = {[aij] 2 # 2 | aij ! {- 1, 0, 1}} และ I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์
ถ้าสุ่มเมทริกซ์ B จากเซต A มา 1 เมทริกซ์ แล้วความน่าจะเป็นที่จะได้เมทริกซ์ซึ่งสอดคล้องกับ
สมการ BBt = I มีค่าเท่ากับเท่าใด
4
1. 81
8
2. 81
16
3. 81
25
4. 81
32
5. 81

8
คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) 81

เฉลยละเอียด

a b
ให้เมทริกซ์ B เป็น = G
c d
จะได้ว่าเมทริกซ์ซึ่งสอดคล้องกับสมการ BBt = I ดังนี้
a b a c 1 0
= G= G== G
c d b d 0 1
2 2
1 0
= + 2G = = G
a b ac + bd
2
ac + bd c + d 0 1

2 2 2 2
a + b = 1 , ac + bd = 0 , c + d = 1

จะได้ a, b, c และ d ที่สอดคล้อง ดังนี้

a b c d
0 1 1 0
0 1 -1 0
0 -1 1 0
0 -1 -1 0
1 0 0 1
1 0 0 -1
-1 0 0 1
-1 0 0 -1
และ n ]S g = 3 4 = 81
สรุปได้ว่า P^ E h = 81
8
24.
(3, 3)

-1 0 1 2 3 4 5
3 xf ' ] xg - f ] xg
จงหา # dx
0 6 f ] xg@ 2
1. 1
2. -1
3. 0
4. 2
5. -2

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 2) -1

เฉลยละเอียด

xf ' ] xg - f ] xg
3 3 f ] x g - xf ' ] x g
จะได้ว่า # dx = - # dx
0 6 f ] xg@ 2 0 6 f ] xg@ 2
d c x m = f ] xg - xf ' ] xg
เนื่องจาก dx f ] xg 6 f ] xg@ 2
b f ] xg - xf ' ] xg x x=b
จะได้ว่า # dx = ] g
a 6 f ] xg@ 2 f x x=a
3 f ] xg - xf ' ] xg x x = 3o
ดังนั้น -# dx = -e ] g
0 6 f ] xg@ 2 f x x=0

= -c
3 - 0 m
f ]3 g f ]0 g

= -b 33 l

=-1
25. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ มีค่าเท่ากับ 18 ฐานนิยมมีค่าเท่ากับ 45
แล้ว จงหาว่าข้อมูลใดต่อไปนี้เป็นค่านอกเกณฑ์
1. 8
2. 9
3. 80
4. 81
5. มีค�ำตอบมากกว่า 1 ค�ำตอบ

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 1) 8

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ มีค่าเท่ากับ 18


จะได้ว่า Q3 - Q1 = 18 = IQR ------------ 1
จาก ข้อมูลมีการแจกแจงปกติ
Q + Q1
mod e = x = 3
2
Q + Q1 ------------ 2
45 = 3 & Q3 + Q1 = 90
2
1 + 2 ; Q3 = 54 , Q1 = 36
เนื่องจาก ค่านอกเกณฑ์ คือข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า Q1 - 1.5IQR = 36 - 1.5 ]18g = 36 - 27 = 9
หรือมากกว่า Q3 + 1.5IQR = 54 + 1.5 ]18g = 54 + 27 = 81
ดังนั้น 8 เป็นค่านอกเกณฑ์
26. ก�ำหนดให้ a, b ! "101, 102, 103, ..., 200 , โดยที่ a > b
ถ้า ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ a, b คือ 21 และ 945 ตามล�ำดับ แล้ว a-b มีค่าเท่ากับเท่าใด

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 84

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก ห.ร.ม. ของ a, b คือ 21 = 3 # 7


ดังนั้น a และ b ต้องมี 3, 7 เป็นตัวประกอบ
เนื่องจาก ค.ร.น. ของ a, b คือ 945 = 33 # 5 # 7
ซึ่งพบว่า มี 3 เกินมา 2 ตัว และ 5 เกินมา 1 ตัว
จะแยกได้เป็น 32 กับ 5 หรือ 3 กับ 3#5 หรือ 1 กับ 32 # 5
กรณี 32 กับ 5 และ a>b
ดังนั้น a = 21 # 3 2 = 189 และ b = 21 # 5 = 105
กรณี 3 กับ 3#5
ดังนั้น ใช้ไม่ได้ เพราะ มี 3 เป็นตัวร่วมเพิ่มมา
กรณี 1 กับ 32 # 5 และ a>b
ดังนั้น a = 21 # 3 2 # 5 = 945 > 200
ท�ำให้ผิดเงื่อนไขโจทย์
สรุปได้ว่า a - b = 189 - 105 = 84
27. ถ้า / log c1 - m = log ` 9 j
n
1 8 แล้ว n มีค่าเท่ากับเท่าใด
^k + 5h2
2

k= 1

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 100

เฉลยละเอียด

พิจารณา / log c1 - m
n
1
k= 1 ^k + 5h2

/ log c1 - ^k +1 5h m = log c1 - 61 m + log c1 - 71 m + log c1 - 81 m + ... + log c1 - ^n +1 5h m


n

2 2 2 2 2
k= 1

= log `1 - 1 j`1 + 1 j + log `1 - 1 j`1 + 1 j + log `1 - 1 j`1 + 1 j + ... + log c1 - 1 mc1 + 1 m
6 6 7 7 8 8 n+ 5 n+ 5

= log ` 5 j` 7 j + log ` 6 j` 8 j + log ` 7 j` 9 j + ... + log ` n + 4 jc n + 6 m


6 6 7 7 8 8 n+ 5 n+ 5

= log ` 5 j` 7 j` 6 j` 8 j` 7 j` 9 j $ ... $ ` n + 4 jc n + 6 m = log ` 5 jc n + 6 m


6 6 7 7 8 8 n+ 5 n+ 5 6 n+ 5

/ log c1 - ^k +1 5h m = log ` 89 j
n
จาก 2
k= 1

log ` 5 jc n + 6 m = log ` 8 j
6 n+ 5 9

` 6 jc n + 5 m = 9
5 n 6 8
+

n = 10 & n2 = 100
28. ก�ำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันพหุนามดีกรีสาม ซึ่งมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ค่าต�่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = 2, x = - 2 ตามล�ำดับ
และตัดแกน y ที่ y = - 2 ถ้าผลคูณของค่าสูงสุดสัมพัทธ์กับค่าต�่ำสุดสัมพัทธ์ มีค่าเท่ากับ - 32
แล้ว f^2h มีเท่ากับเท่าใด

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 4

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ค่าต�่ำสุดสัมพัทธ์ ที่ x = 2, x = - 2 จะได้


f l^ xh = k ^ x + 2h^ x - 2h = k ^ x2 - 4h
และจาก ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ที่ x=2 แสดงว่า f l^ xh 2 0 เมื่อ - 2 1 x 1 2 และ f l^ xh 1 0 เมื่อ x22
จาก f l^ xh = k ^ x2 - 4h ถ้า x22 จะได้ x2 - 4 2 0 แต่ f l^ xh 1 0 ดังนั้น k10
เนื่องจาก f ตัดแกน y ที่ y = - 2
f l^ xh = k ^ x2 - 4h

f ^ xh = k c x - 4x m + c
3
3
แทน x = 0, y = - 2; f ^0h = c = - 2

f ^ x h = k c x - 4x m - 2
3
จะได้เป็น 3
เนื่องจาก ผลคูณของค่าสูงสุดสัมพัทธ์กับค่าต�่ำสุดสัมพัทธ์ มีค่าเท่ากับ - 32 จะได้ f ^- 2h f ^2h = - 32

`k `- 3 + 8j - 2j`k ` 3 - 8j - 2j = - 32
8 8
2 ^8h 2 ^8h
c k - 2 mc- k - 2 m = - 32
3 3
` 3 k - 1j` 3 k + 1j = 8
8 8

64 9
k2 - 1 = 8
k2 = 64 81

k = ! 89 ` k = - 89
ดังนั้น f^ xh = - 89 c x3 - 4x m - 2
3

f ^2h =- 9 c ]2g - 4 ]2gm - 2


3

8 3
= - 9 `- 16 j - 2 = 4
8 3
3 2 1
29. กำ�หนดให้ A เป็นเมทริกซ์ 3 # 3 ถ้าเมทริกซ์ >3 0 - 1H เกิดจากการนำ�เมทริกซ์ A มาดำ�เนินการตามแถว R3 + 2R2
2 2 -4
แล้วผลบวกของสมาชิกของเมทริกซ์ A มีค่าเท่ากับเท่าใด

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 4

เฉลยละเอียด

a b c R3 + 2R2 3 2 1
จะได้ว่า >d e f H + >3 0 - 1H
g h i 2 2 -4

a b c R3 + 2R2 3 2 1
>d e f H + >3 0 - 1H &` a = 3 , b = 2 , c = 1 , d = 3 , e = 0 , f = - 1
g h i 2 2 -4

a b c R3 + 2R2 3 2 1
>d e f H + >3 0 - 1H &` g + 2d = 2 , h + 2e = 2 , i + 2f = - 4
g h i 2 2 -4

a b c R3 + 2R2 3 2 1
>d e f H + >3 0 - 1H &` g + 2^ 3h = 2 , h + 2^0h = 2 , i + 2^- 1h = - 4
g h i 2 2 -4

a b c R3 + 2R2 3 2 1
>d e f H + >3 0 - 1H &` g = - 4 , h = 2 , i = - 2
g h i 2 2 -4

ดังนั้นผลบวกของสมาชิกเมทริกซ์ A มีค่าเท่ากับ 3 + 2 + 1 + 3 + 0 + ^- 1h + ^- 4h + 2 + ^- 2h = 4
30. ก�ำหนดให้ a1, a2, a3, ... เป็นล�ำดับเรขาคณิต ที่มี r เป็นอัตราส่วนร่วม ถ้า a1 $ a2 + a2 $ a3 + a3 $ a4 + ... = 24 และ
a1 + a2 + a3 + ... = 120 แล้ว 1 มีค่าเท่ากับเท่าใด
2 2 2
r

คำ�ตอบที่ถูกต้องคือ 5

เฉลยละเอียด

เนื่องจาก a1 $ a2 + a2 $ a3 + a3 $ a4 + ... = 24
a1 $ ^a1r h + ^a1r h $ `a1r j + `a1r j $ `a1r j + ... = 24
2 2 3

2 2 3 2 5
a1 r + a1 r + a1 r + ... = 24
จะได้ว่า เป็นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์
2
a1 r 2
ดังนั้น 2 = 24 , 0 1 | r | 1 1
1-r
เนื่องจาก a12 + a22 + a32 + ... = 120
2 2 2 2 4
a1 + a1 r + a1 r + ... = 120
จะได้ว่า อนุกรมเรขาคณิตอนันต์
2
a1 2
ดังนั้น 2 = 120 , 0 1 | r | 1 1
1-r
2 2
a1 a1 r
แทน 2 =
120 ลงใน 2 =
24
1-r 1-r
จะได้ว่า 120r = 24 & 1r = 5

You might also like