You are on page 1of 3

ชันมัธยมศึกษาปี ที 1

วิชาคณิตศาสตร์ เพิมเติม
ภาคเรียนที 1

1. จํานวนเต็มบวกทีมีค่าน้อยทีสุดคือจํานวนใด 10. ข้อใดถูกต้อง


ก. ระบุไม่ได้ ข. 0 ค. – 1 ง. 1 ก. A + (B + C) = AB + AC
2. (7 + 12) – ( 8 + 13) มีค่าเท่าไร ข. A(B + C) = AB + AC
ก. –2 ข. – 1 ค. 2 ง. 3 ค. A + (B – C) = AC + AB
ง. A + (BC) = AB + AC
3. – (11+2) – ( 20 – 22) มีค่าเท่าไร
ก. – 15 ข.– 11 ค. 15 ง. 29 11. จงหาค่าของ (18 – 15 +36 – 48 + 61– 27 + 19 –52
+ 81 – 85 + 64 + 39 – 73 +87)
4. (8 – 10)(3 – 5) มีค่าตรงกับข้อใด
ก. 115 ข. 110
ก. 4 ข. – 4 ค. – 8 ง. 0
ค. 105 ง. 100
5. –0.03 × 0.013 มีค่าตรงกับข้อใด
12. ข้อความใดถูกต้อง
ก. 0.0039 ข. – 0.0039
ก. – 27 มี 2 เป็ นฐาน
ค. 0.00039 ง. – 0.00039
ข. (– 2)6 มี – 2 เป็ นเลขชีกําลัง
6. ( – 5) ×( – 0.400)มีค่าตรงกับข้อใด ค. – 54 มี –5 เป็ นฐาน
ก. 2 ข. 0.2 ง. (– 7)3 มี 7 เป็ นฐาน
ค. 0.002 ง. – 0.002 13. ข้อใดไม่ถกู ต้อง
7. จํานวนทีมากกว่า 9.23 อยู่ 0.777 คือจํานวนใด ก. (2 − ) = 1 ข. ( ) = ∗

ก. 10.007 ข. 10
ค. 5 = ง. = 0
ค. 1.007 ง. 10.7

8. การหาผลคูณของ 999 x 769 จะใช้สมบัติขอ้ ใดในการ 14. ( ) อ่านได้ตรงกับข้อใด


คํานวณได้รวดเร็ ว ก. เศษสามส่วนห้ายกกําลังสอง
ก. สมบัติการสลับทีของการคูณ 769 x 999 ข. เศษสามกําลังสองส่วนห้า
ข. สมบัติการเปลียนหมูข่ องการคูณ (1,000 x 769) – 1 ค. เศษสามส่วนห้าทังหมดกําลังสอง
ค. สมบัติการแจกแจง (1,000 – 1) x 769 ง. กําลังสองเศษสามส่วนห้า
ง. สมบัติการเปลียนหมู่ของการบวก (1,000 – 769) x 1
15. จาก (– 2)3 ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้อง
9. ข้อใดใช้สมบัติการเปลียนหมู่ของการคูณ ก. ผลลัพธ์เป็ นจํานวนเต็มลบ
ก. (a * b) * c = c * (a * b) ข. ผลลัพธ์เป็ นจํานวนเต็มบวก
ข. a (b + c) = ab + ac ค. มีวงเล็บคูณกันสามวงเล็บ
ค. c (a + b) = ac + bc ง. ลบสองคูณกันสามครัง
ง. a * (b * c) = (a * b) * c
16. ข้อใดไม่ถกู ต้อง 24. 520 เขียนอยูใ่ นรู ปกระจายตามข้อใด
ก. 2x = 8 จะได้ x = 3 ข. 3x = 9 จะได้ x = 3 ก. 5.2 x 10
ค. 4x = 16 จะได้ x = 2 ง. 5x = 125 จะได้ x = 3 ข. ( 500x 10 ) + ( 20 x 10 ) + ( 0 x 1 )
17. ข้อใดถูกต้อง ค. ( 5 x 10 ) + ( 2 x 10 ) + ( 1 x 10 )
ก. 23 = (– 2)3 ง. ( 5 x 10 ) x ( 2 x 10 ) x ( 0 x 10 )
ข. 42 = (– 4)2
ค. 2.22 = 2 + 0.22 25. ( 3 x 10 ) + ( 7 x 10 ) มีค่าเท่าไร
ง. (– 2)x = – 2 x เมือ x เป็ นจํานวนคู่ ก. 370,000 ข. 37,000
ค. 3,700 ง. 30,700
18. ข้อใดคือสมบัติการหารเลขยกกําลัง
26. ( 2 x 10 ) + ( 3 x 10 ) มีค่าเท่าไร
ก. = /
ข. =
ก. 0.032 ข. 0.023
ค. = ง. = ∗ ค. -2,300 ง. 2,300

19. ข้อใดคือสมบัติการคูณเลขยกกําลัง 27. ( 2 x 10 ) x ( 5 x 10 ) มีค่าเท่าไร


ก. * = ∗ ก. 100,000 ข. 10,000,000
ข. * = ค. 10,000 ง. 1,000,000
ค. * =
28. ( 3.2 x 10 ) + ( 6.8 x 10 ) มีค่าเท่าไร
ง. * = /
ก. 100,000 ข. 10,000
20. สองล้าน เขียนให้อยูใ่ นรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้
ค. 32,068 ง. 32,006.8
ตามข้อใด
ก. 2 x 10 ข. 2 x 10 29. ( 2.5 x 10 ) - ( 0.25 x 10 ) มีค่าเท่าไร
ค. 2 x 10 ง. 2 x 10 ก. 2,250 ข. 2,150
ค. 2,475 ง. 0
21. สามพันสองล้าน เขียนให้อยูใ่ นรู ปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ได้ตามข้อใด 30. จํานวนใดไม่อยูร่ ะหว่าง ( 1 x 10 ) กับ ( 1 x 10 )
ก. 3.002 x 10 ข. 3.002 x 10 ก. 0.02 ข. 0.0009 ค. 0 ง. 1.00009
ค. 3.2 x 10 ง. 32 x 10 31. ถ้าต้องการสร้างส่วนของเส้นตรง XY ยาว N หน่วย
ข้อใดเป็ นขันตอนแรกของการสร้างส่วนของ เสันตรงXY
22. ศูนย์จุดศูนย์ศนู ย์ศนู ย์เจ็ด เขียนให้อยูใ่ นรู ปสัญกรณ์
ก. กําหนดจุด X
วิทยาศาสตร์ได้ตามข้อใด
ข. ลากเส้นXY ยาวเท่ากับ N หน่วย
ก. 0.7 x 10 ข. 7 x 10
ค. กําหนด N เท่ากับ 1 เซนติเมตร
ค. 7 x 10 ง. 7 x 10
ง. วัดความยาว N หน่วย
23. 0.0009 = 9 x 10 จงหาว่า A คือจํานวนใด 32. ความยาวข้อใดสร้างเป็ นรู ปสามเหลียม ได้
ก. 4 ข. 3 ค. -3 ง. -4 ก. 1,2,3 ข. 2,3,4 ค. 1,1,3 ง. 3,4,7
33. การสร้างมุมขนาด 45 องศา ใช้พืนฐานทางเรขาคณิ ต 35. ข้อใดเป็ นรู ปสามเหลียมด้านเท่า
ข้อใด ก. การแบ่งครึ งมุม
ก. การแบ่งครึ งมุม ข. การสร้างมุม 60 องศา
ข. การแบ่งครึ งส่วนของเส้นตรง ค. การสร้างเส้นคู่ขนาน
ค. การสร้างเส้นตังฉากทีจุดจุดหนึงบนเส้นตรง ง. การสร้างเส้นตังฉาก
ง. ทังข้อ ก และ ข้อ ค
34. การสร้างรู ปสีเหลียมมุมฉาก ต้องใช้พืนฐานทาง
เรขาคณิตข้อใด
ก. การสร้างเส้นตังฉากทีจุดจุดหนึงบนเส้นตรง
ข. การแบ่งครึ งส่วนของเส้นตรง
ค. การแบ่งครึ งมุม
ง. การสร้างเส้นตังฉากจากจุดภายนอกมาตังฉากกับ
เส้นตรง

You might also like