You are on page 1of 48

บทที่ 3

เวกเตอรในสามมิติ
( 20 ชั่วโมง )

เวกเตอร นอกจากจะเปนประโยชนในการศึกษาเรื่องการเคลื่อนที่ ความเร็ว และ


ความเรง แลว เวกเตอรยังเปนประโยชนในการศึกษาสาระคณิตศาสตรอื่นๆ เชน เรขาคณิต
พีชคณิต เปนตน แนวทางในการศึกษาเวกเตอรเบื้องตนคือ การศึกษาในเชิงเรขาคณิตโดยให
นิยามวา เวกเตอรเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง และใชรูปลูกศรแทนเวกเตอร สําหรับ
บทนี้จะกลาวถึงทั้งเวกเตอรในสองมิติและสามมิติควบคูกันไป โดยจะเริ่มตนจากการใหผูเรียน
มีมุมมองในสามมิติ และสามารถกําหนดจุดในระบบพิกัดฉากสามมิติได จากนั้นจะเริ่มศึกษา
หัวขอไปตามลําดับดังนี้ เวกเตอร เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก ผลคูณเชิงสเกลาร และผลคูณ
เชิงเวกเตอร

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเวกเตอรในสามมิติ
2. หาผลบวกเวกเตอร ผลคูณเวกเตอรดวยสเกลาร ผลคูณเชิงสเกลาร และผลคูณเชิง
เวกเตอรได
3. หาขนาดและทิศทางของเวกเตอรที่กําหนดใหได

ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดาน
ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริม
ใหผูเรียนเกิดทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนอันไดแก ความสามารถในการแก
ปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การ
เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริ
เริ่มสรางสรรค นอกจากนั้นกิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมให ผูเรียนตระหนักในคุณคา
และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบ
วินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
160

ขอเสนอแนะ

เนื่องจากเวกเตอรในสามมิติเปนเรื่องใหมสําหรับผูเรียน ดังนั้นการเริ่มตนสอนเวกเตอร
ในสามมิตินั้น ผูสอนควรเริ่มจากการใหผูเรียนมองเห็นภาพการตัดกันของระนาบสามระนาบที่
ตั้งฉากกันแลวเกิดเปน 8 บริเวณ โดยการใชวัสดุประดิษฐสําเร็จรูป ดังนี้

จากนั้นอธิบายเพิ่มเติมวาระนาบทั้งสามจะตัดกันไดรอยตัดเปนเสนตรงสามเสน เรียก
วา แกนพิกัดดังนี้
แกน X เกิดจากการตัดกันระหวางระนาบ XY และระนาบ XZ
แกน Y เกิดจากการตัดกันระหวางระนาบ XY และระนาบ YZ
แกน Z เกิดจากการตัดกันระหวางระนาบ YZ และระนาบ XZ
เรียกจุดตัดของแกนทั้งสามวา จุดกําเนิดและแทนดวย O

เนื่องจากระนาบสามระนาบที่ตั้งฉากกันตัดกันเกิดเปน 8 บริเวณ โดยแบงเปนดานบน 4


บริเวณ และดานลาง 4 บริเวณ การเรียกชื่อระนาบแตละบริเวณนั้นจะอาศัยหลักการเดียวกับ
ระบบพิกัดฉากสองมิติ โดยเริ่มจากดานบนหมุนทวนเข็มนาฬิกา เปนอัฐภาคที่ 1 ถึง อัฐภาคที่ 4
สวนดานลางหมุนทวนเข็มนาฬิกา เปนอัฐภาคที่ 5 ถึง อัฐภาคที่ 8 ดังภาพสองมิติขางลางนี้
อัฐภาคที่ 2 อัฐภาคที่ 1 อัฐภาคที่ 6 อัฐภาคที่ 5

อัฐภาคที่ 3 อัฐภาคที่ 4 อัฐภาคที่ 7 อัฐภาคที่ 8

ดานลาง
161

สําหรับบทเรียนนี้ผูสอนอาจจะสอนเวกเตอรในระบบพิกัดฉากสองมิติ และเวกเตอรใน
ระบบพิกัดฉากสามมิตดิคานบน
วบคูไปดวยกัน ตามหัวขอในหนังสือเรียน ดังนี้
1. เมื่อกําหนด u และ v ให ผลบวกของเวกเตอรทั้งสองนี้ไมไดขึ้นอยูกับการเลือก
ตําแหนงของจุดเริ่มตน กลาวคือไมวาจะเลือกจุดใดเปนจุดเริ่มตน ผลบวกของเวกเตอรที่ไดจะเปน
เวกเตอรที่เทากันเสมอ

u v B
u v C
u
v A
D

จากรูป ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ดาน AB ขนานและยาวเทากับดาน DC


AB = DC = u + v ดังนั้น ไมวาจุดเริ่มตนของ u จะอยูที่จุด A หรือจุด D หรือจุดอื่น ๆ ผลบวก
ของ u และ v จะเปนเวกเตอรที่เทากันเสมอ

2. u+v ไมจําเปนตองเทากับ u+v

C จากรูป ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก


มีมุม B เปนมุมฉาก ดาน AB ยาว 4 หนวย
5 3
ดาน BC ยาว 3 หนวย และดาน AC ยาว
A 4 B 5 หนวย

จะเห็นวา AC = AB + BC
และ AC = AB + BC = 5 แต AB +  BC = 7
ดังนั้น AB + BC ≠ AB + BC นั่นคือ  u  +  v  ≠  u + v 
ในกรณีที่ u และ v มีทศิ ทางเดียวกัน  u  +  v  =  u + v 

3. เนื่องจากเวกเตอรศูนยคือ เวกเตอรที่มีขนาดเทากับศูนย เวกเตอรศูนยจึงมีจุดเริ่มตนและ


จุดสิ้นสุดเปนจุดเดียวกัน ผูสอนอาจจะใชรูปสามเหลี่ยมอธิบายประกอบความหมายของเวกเตอรศูนยดังนี้
C จากรูป AB + BC + CA = AA = 0
BC + CA + AB = BB = 0
A B CA + AB + BC = CC = 0
162
เหตุผลที่ตองมีเวกเตอรศูนยเพราะถาไมมีเวกเตอรศูนยแลวจะทําใหตอบคําถาม u + (− u)
เปนเทาใด ไมได

4. สมบัติที่สําคัญของผลคูณเชิงสเกลารที่วาถามุมระหวาง u กับ v เปน θ แลว


u⋅v = u v cos นั้น ในหนังสือเรียนไดแสดงวิธีการพิสูจนเฉพาะกรณีที่ θ เปนมุมแหลม
ในกรณีที่ θ เปนมุมศูนย มุมฉาก มุมปาน หรือมุมตรง ไมไดแสดงวิธีพิสูจนไว ซึ่งถาผูเรียนสงสัย
ผูสอนอาจแสดงวิธีพิสูจนไดดังนี้

กรณีที่ θ เปนมุมฉาก
Y

Q(x2, y2)
P(x1, y1)
u v
θ
O X

ให u = OP = x1i + y1 j
v = OQ = x 2 i + y2 j
θ คือมุม POQ

PQ = (x 2 − x1 ) 2 + (y 2 − y1 ) 2
PQ
2
= (x12 + y12 ) + (x 22 + y 22 ) − 2(x1x 2 + y1y 2 )
2 2
= u + v − 2(u ⋅ v) ---------- (1)
เนื่องจาก θ เปนมุมฉาก ดังนั้น PQ
2
= OP
2
+ OQ
2

2 2
= u +v ---------- (2)
จาก (1) และ (2) จะไดวา u ⋅ v = 0 ---------- (3)
แต θ เปนมุมฉาก จะได cos θ = 0
ดังนั้น u v cos θ = 0 ---------- (4)
จาก (3) และ (4) จะได u⋅v = u v cos θ
163
กรณีที่ θ เปนมุมปาน
Y

Q(x2, y2)
P(x1, y1)
u θ v
O X
M

ให u = OP = x1 i + y1 j
v = OQ = x 2 i + y2 j
θ คือมุม POQ

ในทํานองเดียวกับกรณี θ เปนมุมแหลมหรือมุมฉาก
2 2
จะได PQ
2
= u + v – 2(u ⋅ v) ---------- (1)
จากจุด P ลากเสนใหตั้งฉากกับดาน QO ที่ตอออกไปทางจุด O ที่จุด M
จะได PQ 2 = PM 2 + MQ 2
= ( OP 2 − OM 2 ) + ( OM + OQ )2
2
= u − ( u cos(180° − θ)) 2 + ( u cos(180° − θ) + v ) 2
2
= u − (− u cos θ) 2 + (− u cos θ + v ) 2
2 2 2 2
= u − u cos 2 θ + u cos 2 θ − 2 u v cos θ + v
2 2
= u + v − 2 u v cos θ ---------- (2)
จาก (1) และ (2)
u ⋅ v = u v cos θ

กรณีที่ θ = 0° หรือ θ = 180°


เมื่อ θ = 0° จะได u และ v มีทิศทางเดียวกัน
นั่นคือ u = mv เมื่อ m > 0
ให v = x1i + y1 j จะได u = mx1i + my1 j
u ⋅ v = mx12 + my12
= m(x12 + y12 )
164

แต u v cos 0° = (m x12 + y12 )( x12 + y12 )

= m(x12 + y12 )
นั่นคือ u⋅v = u v cos 0°

เมื่อ θ = 180° จะได u และ v มีทิศทางตรงกันขาม


นั่นคือ u = −mv เมื่อ m > 0
ให v = x1 i + y1 j จะได u = −mx1i − my1 j
จะพิสูจนไดในทํานองเดียวกับกรณีที่ θ = 0° วา
u ⋅ v = u v cos180°

สรุปไดวา ถา u กับ v เปนเวกเตอรที่ไมใช 0 และ θ เปนมุมระหวาง u กับ v แลว


u ⋅ v = u v cos θ

5. สมบัติที่นาสนใจอยางหนึ่งของเวกเตอรคือ ผลคูณเชิงสเกลาร เนื่องจากผลคูณเชิงสเกลาร


ของเวกเตอรสองเวกเตอรใดก็ตามไดผลลัพธเปนปริมาณสเกลาร ประโยชนที่นําไปใชในที่นี้ คือ
u⋅v
การหามุมระหวางเสนตรงสองเสนโดยใช cos θ = เมื่อ θ เปนมุมระหวาง u กับ v
u v

เนื่องจากผลคูณของเวกเตอรที่กลาวถึงในที่นี้ไดผลออกมาเปนปริมาณสเกลาร จึงมักมีขอสงสัย
เสมอวาทําไมผลคูณของเวกเตอรจึงไมเปนเวกเตอร เพราะผลคูณของเวกเตอรที่เปนเวกเตอรนั้น เวกเตอร
ที่เปนผลลัพธจะตั้งไดฉากกับเวกเตอรทั้งสองที่นํามาคูณกัน กลาวคือจะตั้งไดฉากกับระนาบของเวกเตอร
ที่นํามาคูณกัน ดังนั้นแทนที่จะเปนเวกเตอรในระนาบหรือในสองมิติ จึงกลายเปนเวกเตอรในสามมิติ
6. สําหรับเรื่องผลคูณเชิงสเกลารของ u และ v ที่กลาววามุมระหวาง u กับ v เปน θ นั้น
โดยทั่วไปจะหมายถึง u และ v ที่มีจุดเริ่มตนที่จุดเดียวกัน ถา u และ v ไมไดมีจุดเริ่มตนที่จุดเดียวกัน
อาจสรางเวกเตอรใหมเทากับ u และ v โดยใหเวกเตอรใหมนี้มีจุดเริ่มตนที่จุดเดียวกันได นอกจากนี้
ขนาดของมุม θ นิยมกําหนดให 0° ≤ θ ≤ 180°
ตัวอยางเชนตองการจะหาผลคูณเชิงสเกลารของเวกเตอร u และ v ที่กําหนดใหดังรูป

u
15°

°
u 60°
45 v
v

เมื่อเขียน u และ v ใหมีจุดเริ่มตนจุดเดียวกัน จะไดวา มุมระหวาง u และ v เทากับ 60°


165
7. ในวิชาฟสิกส กลาวถึงแรงซึ่งเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง แรงจึงเปนปริมาณเวกเตอร
ดังนั้น ในการสอนเรื่องการบวกและลบเวกเตอรผูสอนอาจอาศัยตัวอยางทางฟสิกส เชน
1) ถามีแรง 2 แรงที่มีขนาดเทากันแตมีทิศทางตรงกันขาม กระทําตอวัตถุ (ดังรูป ก)
ผลก็คือวัตถุจะหยุดนิ่ง
F1 F2

รูป ก
จากรูป ก แรง F1 และ F2 มีขนาด 3 นิวตัน แตมีทิศทางตรงกันขาม จะไดแรงลัพธคือ
0 จึงไมทําใหวัตถุเคลื่อนที่

2) ถามีแรง 2 แรงที่มีทิศทางเดียวกันกระทําตอวัตถุ (ดังรูป ข) ผลก็คือวัตถุจะเคลื่อนที่ไป


ในแนวแรงทั้งสอง ดวยแรงที่มีขนาดเทากับผลบวกของแรงทั้งสองนั้น
F1
F2
รูป ข
จากรูป ข แรง F1 มีขนาด 2 นิวตัน และ F2 มีขนาด 3 นิวตัน และ แรง F1 มีทิศทาง
เดียวกับแรง F2 จะไดแรงลัพธมีขนาด 5 นิวตัน มีทิศทางเดียวกับแรง F1 หรือ F2 วัตถุจะเคลื่อนที่ไป
ดวยแรงที่มีทิศทางเดียวกับแรง F1 และ F2 โดยมีขนาด 5 นิวตัน

3) ถามีแรง 2 แรงที่ไมอยูในแนวเดียวกันกระทําตอวัตถุ (ดังรูป ค) ผลก็คือวัตถุจะเคลื่อนที่


อยูในแนวเสนตรงที่อยูระหวางแรงทั้งสอง โดยมิไดเคลื่อนที่ในแนวของแรงหนึ่งแรงใด
F1

F2
รูป ค
จากรูป ค แรง F1 มีขนาด 2 นิวตัน แรง F2 มีขนาด 3 นิวตัน แตแรง F1 และ F2
ไมไดอยูในแนวเดียวกัน
ในการหาแรงลัพธหาไดโดยสรางรูปสี่เหลี่ยมดานขนานดังนี้
F1 B F1
A C
F2 D
จากรูป ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน AB = F1, AD = F2 จะได AC = F3
เปนแรงลัพธของแรง F1 และ F2 วัตถุจะเคลื่อนที่ไปดวยแรง F3 ซึ่งมีขนาดและทิศทางเดียวกับ AC
166

8. การสอนเรื่องเวกเตอรในสามมิติ เพื่อใหผูเรียนมองเห็นประโยชนและการนําไปใช ผูสอนควร


ยกตัวอยางโจทยปญหาใหผูเรียนมองเห็นเปนแนวทาง ดังตอไปนี้

ตัวอยางที่ 1 เครื่องบินลําหนึ่งมีความเร็ว 225 กิโลเมตรตอชั่วโมง (ความเร็วเมื่อลมสงบ) ถาตองการ


ใหเครื่องบินลํานี้ บินตรงไปทางทิศตะวันออก เมื่อมีลมพัดจากทิศใตดวยความเร็ว 45 กิโลเมตร
ตอชั่วโมง นักบินจะตองขับเครื่องบินไปในทิศทางใด และดวยความเร็วเทาใด

วิธีทํา ตองการใหเครื่องบินบินจาก A ไป B
AB จะเปนเวกเตอรที่เปนผลบวกของ
A R B AC และ CB ซึ่งเปนความเร็วของ
θ
v เครื่องบินและของลมตามลําดับ
C BC
sin θ = = 45 = 0.2000
AC 225
จะได θ = 11° 31′
ความเร็วในการเดินทางคือ R = AC2 – BC2 = 2252 − 452
≈ 220 กิโลเมตรตอชั่วโมง

ตัวอยางที่ 2 แดงและดําวายน้ําไดเร็วเทากัน เมื่อไปเลนน้ําในคลองเขาทั้งสองตกลงที่จะวายน้ําแขงกัน


แตจะวายคนละวิธี โดยแดงวายขามฟากกลับไปกลับมาในแนวตั้งฉากกับฝงคลอง สวนดําจะวาย
ตามน้ําไปเปนระยะเทากับความกวางของคลองที่ตกลงกัน แลวจึงวายทวนน้ํากลับมาเปนระยะ
เทาเดิม โดยวิธีดังกลาวทานคิดวาใครเปนผูชนะ

วิธีทํา ให v เปนความเร็วในการวายน้ําของแดงและดําในน้ํานิ่งตอนาที


c เปนความเร็วของกระแสน้ําตอนาที
d เปนความกวางของคลอง
ระยะทางที่ใชในการแขงขัน เทากับ 2d
ใน 1 นาที แดงวายน้ําไดระยะทาง เทากับ v2 − c2
2d
เวลาทั้งหมดที่แดงใชในการวายน้ํา เทากับ
v − c2
2

ใน 1 นาที ดําวายตามน้ําไดระยะทาง เทากับ v + c


ใน 1 นาที ดําวายทวนน้ําไดระยะทาง เทากับ v – c
d d
เวลาที่ดําใชในการวายกลับไปกลับมา เทากับ +
v−c v+c
167

dv + dc + dv − dc
=
v2 − c2
2dv
=
v − c2
2

เนื่องจาก v > 0 และ c>0


และ v > c
c2 > 0
v2 > 0
ดังนั้น v2 > v2 – c2
v > v2 − c2 , (เพราะ v > 0)
v
> 1
v2 − c2
v 1 1
> (คูณดวย ทั้งสองขางของอสมการ)
v − c2
2
v2 − c2 v2 − c2

เนื่องจาก d > 0
2dv 2d
ดังนั้น >
v − c2
2
v2 − c2
นั่นคือ เวลาที่ดําใชในการวายน้ํามากกวาเวลาที่แดงใช
ดังนั้น แดงเปนผูชนะ

ตัวอยางที่ 3 BED SORE คือ แผลที่ผิวหนังที่เกิดจากการกดทับทําใหหนังเปดและถาปลอยทิ้งไว


แผลอาจเนาถึงกระดูกได อาการนี้เปนผลจากการที่คนไขนอนปวยอยูบนเตียงนานเกินไป เพื่อ
หลีกเลี่ยงอาการนี้จึงควรลดแรงกดทับบนเตียงอันเกิดจากน้ําหนักตัวคนไข และไมควรใหคนไข
นอนอยูในทาเดียวนาน ๆ
คนไขคนหนึ่งปวยอยูบนเตียงเปนเวลานาน เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหคนไขมีอาการของ
BED SORE แพทยจึงแนะนําใหยกเตียงขึ้นเปนเวลา 10 นาทีในเวลาเชาและเย็น จงหาเหตุผล
เพื่อแสดงวา การยกเตียงขึ้นทําใหแรงกดทับนอยลง

F2 F1
F
168

วิธีทํา เมื่อเตียงอยูในแนวราบ แรงกดทับกับพื้นเตียงคือน้ําหนักของคนไขนั่นเอง ซึ่งเปนแรงที่อยู


ในแนวดิ่ง
ให F เปนเวกเตอรแทนแรงดังกลาว

A
B
F2 F1
D F α
E
C
เมื่อ F เปนเวกเตอรแทนน้ําหนักของคนไขซึ่งลงในแนวดิ่ง
ให α เปนมุมที่เตียงทํากันแนวระดับ
F เปนผลรวมของแรงของน้ําหนักในแนวตั้งฉากกับเตียงและแรงค้ํายันของเทา
นั่นคือ F = F1 + F2 และ F1 ⊥ F2

จากรูป AED เปนมุมที่พื้นเตียงทํากับแนวราบ
∧ ∧
จะได CAD เทากับ AED เทากับ α

F2
v = cos α
F
F2 = F cos α

เนื่องจาก F เปนน้ําหนักของคนไขจึงมีคาคงที่ ดังนั้น คาของ F2 จะมากหรือนอยจึงขึ้น


อยูกับ cos α และจะเห็นวา เมื่อ α เพิ่มขึ้นจาก 0° แตไมเกิน 90° คาของ cos α จะนอยลง
ซึ่ง 0 < cos α < 1
แตเมื่อเตียงอยูในแนวราบ α = 0°
F2 = F จะได แรงกดเตียงมากที่สุด
นั่นคือ เมื่อเตียงเอียงขึ้น น้ําหนักที่กดเตียง F2 จะนอยลง
169

กิจกรรมเสนอแนะ

การฝกใหนักเรียนลงจุดในระนาบพิกัดฉากสามมิติโดยใชจินตนาการ สําหรับผูเริ่มตนนั้นเปน
เรื่องที่ทําไดยาก ดังนั้นผูสอนควรดําเนินตามกิจกรรม ดังนี้
1. ผูสอนนําลูกโปงหนึ่งลูกที่มีดายผูกยึดปลายเสนดายดวยดินน้ํามันใหลูกโปงลอยอยูตรงหนา
ชั้นเรียน(ดังรูป)

5
3
4

ผูสอนใชการถามตอบใหผูเรียนวัดระยะที่เสนดายอยูหางจากผนังทั้งสองดาน และระยะที่ลูกโปงลอยขึ้น
จากพื้นผูสอนใหผูเรียนสังเกตวา จะบอกตําแหนงของลูกโปงอยางไร ผูเรียนควรจะสรุปไดวา “การบอก
ตําแหนงของลูกโปง จะตองพึ่งระนาบสามระนาบตั้งฉากกัน ไดแกฝาหองทั้งสองดานและพื้นหอง วิธีนี้
เปนการกําหนดตําแหนงของจุดในเวกเตอร 3 มิติ โดยใชระบบพิกัดฉาก ซึ่งใชระนาบสามระนาบตั้งฉาก
กัน”

2. ผูสอนใชสื่อวัสดุประดิษฐสําเร็จรูป ซึ่งแสดงระนาบ 3 ระนาบ ตั้งฉาก ตัดกัน สาธิตประกอบ


คําถาม ใหผูเรียนสังเกตแกน X แกน Y และ แกน Z วา เกิดจากการตัดกันระหวางระนาบใด ผูสอนนํา
กลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากมาวางในชองบนชองแรกทางขวามือ(อัฐภาคที่ 1) เพื่อใหผูเรียนไดสังเกตวาคา
ที่วัดถึงตําแหนงของจุด P (x, y, z) เปนเทาใด โดยในครั้งแรกใหสังเกตคาที่วัดไปตามแกน X แกน Y
และแกน Z เปนคาบวก

3. ผูสอนนํากลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีขนาดตาง ๆ กัน อีกหลาย ๆ กลองมาวาง (ขนาดของ


กลองควรมีความกวาง ความยาว และความสูง ที่มีหนวยตรงกับหนวยที่แบงไวในแกน X แกน Y และ
แกน Z) ใหนักเรียนอานคา P (x, y, z) ในจุดตาง ๆ จนกวาจะเขาใจ
170

4. ผูสอนวางกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ในชองบนทางซายมือ(อัฐภาคที่ 4) เพื่อผูเรียนจะได


สังเกตคาที่เปนลบ ใหวางหลาย ๆ กลองจนกวานักเรียนจะเขาใจ แลวใหนักเรียนลองวางกลองชิดดานลาง
(อัฐภาคที่ 5 ถึง อัฐภาคที่ 8) ของทั้งทางขวามือและซายมือของแกน

เวกเตอร
1. ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางปริมาณที่พบเห็นเสมอในชีวิตประจําวัน หรือผูสอนอาจจะยก
ตัวอยางใหผูเรียนกอนก็ได ปริมาณที่ผูเรียนอาจยกตัวอยางได เชน ความสูง ความเร็ว ความเรง
ความยาว น้ําหนัก เวลา มวล ปริมาตร งาน พลังงาน โมเมนตัม เมื่อไดตัวอยางพอสมควรแลว
ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวาปริมาณใดบางที่บอกแตเพียงขนาด และปริมาณใดบางที่บอกทั้งขนาด
และทิศทาง
2. ผูสอนบอกผูเรียนวา ปริมาณที่บอกแตเพียงขนาด เชน ความยาว มวล เวลา ปริมาตร
งาน และพลังงาน เรียกวา ปริมาณสเกลาร และอาจแทนปริมาณสเกลารดวยความยาวของสวนของ
เสนตรงหรือระยะทางระหวางจุดสองจุด สวนปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง เชน ความเร็ว
ความเรง แรง น้ําหนัก และโมเมนตัม เรียกวาปริมาณเวกเตอร อาจเขียนรูปแทนปริมาณเวกเตอรได
โดยใชสวนของเสนตรง และเขียนหัวลูกศรกํากับ โดยที่ความยาวของสวนของเสนตรงจะแทนขนาด
ของเวกเตอร และทิศที่ลูกศรชี้คือทิศของเวกเตอร ดังรูป

A
3. ผูสอนบอกขอตกลงในการใชสัญลักษณแทนเวกเตอร และขนาดของเวกเตอรพรอมทั้ง
บอกความหมายของเวกเตอรที่มีทิศทางเดียวกัน เวกเตอรที่มีทิศทางตรงขามกันและเวกเตอรที่ขนานกัน
4. ผูสอนถามผูเรียนวาปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอรแตกตางกันอยางไร เพื่อใหผูเรียน
สรุปไดวาปริมาณสเกลารเปนปริมาณที่มีเพียงขนาด แตปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและ
ทิศทาง จากนั้นผูสอนถามผูเรียนวา ถามี u และ v เวกเตอรทั้งสองนี้จะเทากันเมื่อไร ผูเรียนควรจะตอบ
ไดวา u เทากับ v ในกรณีที่ u และ v มีทิศทางเดียวกันและมีขนาดเทากัน จากนั้นผูสอนและผูเรียน
ชวยกันสรุปบทนิยามของเวกเตอรที่เทากัน และยกตัวอยางเวกเตอรที่เทากันโดยการเขียนรูป
5. ผูสอนใหความหมายของนิเสธของเวกเตอรพรอมทั้งยกตัวอยาง

การบวกและการลบเวกเตอร
1. ผูสอนและผูเรียนชวยกันหาผลบวกของ u และ v เมื่อกําหนดใหแทน u และ v ดวย
สวนของเสนตรงที่ระบุทิศทาง โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมหรือรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
171

2. ผูสอนบอกความหมายของเวกเตอรศูนย จากนั้นผูสอนบอกผูเรียนวาเวกเตอรศูนยเปน
เวกเตอรที่มีจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดเปนจุดเดียวกัน
3. ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปสมบัติของการบวกเวกเตอร พรอมทั้งแสดงวาสมบัติบางขอ
เปนจริงโดยอาศัยรูป เชน สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุมได
4. ผูสอนบอกบทนิยามการลบเวกเตอร
5. ผูสอนและผูเรียนชวยกันหาผลลบของเวกเตอร u และ v เมื่อกําหนดใหแทน u และ
v ดวยสวนของเสนตรงที่ระบุทิศทาง โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมหรือรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
6. ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวา เมื่อกําหนด u และ v ให จะหา u + v, u − v และ
v − u ไดโดยการสรางรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน เสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานจะแทนผลบวก
และผลลบที่ตองการเมื่อระบุทิศทางใหถูกตอง

การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร
1. ผูสอนยกตัวอยางเวกเตอรที่ขนานกันแตมีขนาดตางกันเชน

v
u

จากรูป u, v และ w เปนเวกเตอรที่ขนานกัน


u มีขนาด 1 หนวย
v มีขนาด 2 หนวย
1
w มีขนาด หนวย
2
ผูสอนบอกผูเรียนวา v อาจเขียนแทนดวย 2u
1
w อาจเขียนแทนดวย − u
2
1
ผูสอนบอกผูเรียนวาจํานวนจริง 2, − เปนสเกลาร จะเห็นวามีการคูณเวกเตอรดวย
2
สเกลาร พรอมทั้งบอกบทนิยามการคูณเวกเตอรดวยสเกลาร โดยสเกลารในที่นี้จะหมายถึงจํานวนจริง
ใดๆ
2. ผูสอนบอกสมบัติของการคูณเวกเตอรดวยสเกลาร
172

เวกเตอรในระบบแกนมุมฉาก

Y Y
U2
W1
V1 V2
W2
U1 X X
O O

Y Y

U3 X W
O V
V3 U4
W3 O X

1. ผูสอนกําหนดเวกเตอร w 1 , w 2 , w 3 , w 4 ใ หดังรูป
จากรูป ผูเรียนควรบอกไดวา w1 = u1 + v1
w2 = u2 + v2
w3 = u3 + v3
w4 = u4 + v4
3   3
ผูสอนบอกผูเรียนวา ถาเขียนแทน w 1 ดวย  4 และเขียนแทน w 2 ดวย  −3 แลว
   
ผูสอนถามผูเรียนวาจะเขียนแทน w 3 และ w 4 ไดอยางไร ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา จะเขียน
 −5  −5
แทนดวย  −3 และ  4 ตามลําดับ
   

2. ผูสอนอธิบายความหมายของเวกเตอรในระบบแกนมุมฉากที่เขียนในรูป 
a
 เมื่อ a และ
b
b เปนจํานวนจริงใด ๆ
173

ผูสอนใหผูเรียนเขียนสัญลักษณ AB ในระบบแกนมุมฉาก เมื่อ AB มีจุดเริ่มตนที่


 x 2 − x1 
A(x1, y1) และจุดสิ้นสุดที่ B(x2, y2) ซึ่งผูเรียนควรจะเขียนไดเปน y − y 
 2 1
3. ผูสอนบอกความหมายของการเทากันของเวกเตอร การบวกของเวกเตอร เวกเตอรศูนย
นิเสธ การลบและการคูณเวกเตอรดวยสเกลาร ในระบบแกนมุมฉาก พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ

ขนาดของเวกเตอร
Y
Q(x2, y2)

P(x1, y1)
O X

1. ผูสอนใหผูเรียนบอกความหมายของสวนของเสนตรง PQ นักเรียนควรจะตอบไดวา
เทากับ (x 2 − x1 ) 2 + (y 2 − y1 ) 2
2. ผูสอนถามผูเรียนวา PQ เทากับเทาใด ผูเรียนควรจะตอบไดวา
PQ = (x 2 − x 2 )2 + (y 2 − y1 )2 ทั้งนี้เพราะขนาดของเวกเตอรก็คือความยาวของสวนของ
เสนตรงที่ระบุทิศทาง
3. ผูสอนใหผูเรียนเขียนสัญลักษณแทน PQ ในระบบแกนมุมฉาก ผูเรียนควรเขียนไดวา
 x 2 − x1   x 2 − x1 
PQ = y − y  จากนั้น ผูสอนถามคําถามเพื่อใหผูเรียนสรุปไดวา ขนาดของเวกเตอร y − y 
 2 1  2 1
จะเทากับ (x 2 − x1 ) 2 + (y 2 − y1 ) 2
a 
4. ผูสอนใหผูเรียนบอกขนาดของ b ผูเรียนควรจะบอกไดวา เทากับ a 2 + b2
 

เวกเตอรหนึ่งหนวย
1. ผูสอนบอกความหมายของเวกเตอรหนึ่งหนวย
a 
2. ผูสอนและผูเรียนชวยกันหาเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร b ดังนี้
 
a 
คือ m 
a
ผูสอนใหเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร b  เมื่อ m > 0
  b
แลวผูสอนใหผูเรียนบอกขนาดของเวกเตอร m 
a
 ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา
b
174

เนื่องจาก m 
a
=   ดังนั้นขนาดของ m 
ma a
  เทากับ (ma)2 + (mb) 2
b  mb  b
m   เทากับ 1 หนวย
a
แตขนาดของเวกเตอร
b
ดังนั้น m 2 (a 2 + b 2 ) = 1
1
หรือ m =
a 2 + b2
a  1 a 
นั่นคือ เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร b คือ  
  a 2 + b2  b 

1  0
3. ผูสอนแนะนําเวกเตอรหนึ่งหนวยที่สําคัญคือ 0 และ 1  พรอมทั้งบอกสัญลักษณ
   
1  0
i แทน 0 และ j แทน 1 
   
a 
4. ผูสอนใชวิธีการตามหนังสือเรียน เพื่อใหผูเรียนเขียนเวกเตอร b ในรูปเวกเตอร i
 
a 
และ j ซึ่งผูเรียนควรจะเขียนไดวา b = ai + b j
 
ผูสอนกําหนดเวกเตอรที่มีจุดเริ่มตนที่จุด (x1, y1) และจุดสิ้นสุดที่จุด (x2, y2) ผูเรียนควร
 x 2 − x1 
เขียนแทนเวกเตอร y − y  ดวย (x2 – x1) i + (y2 – y1) j ได
 2 1
175

สําหรับตัวอยางแบบทดสอบในเรื่องเวกเตอรในสามมิติ จะขอยกตัวอยางเพียงเวกเตอรในระบบ
พิกัดฉากสามมิติเทานั้น โดยมุงเนนการนําความรูไปใช

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท

1. กําหนด i − 4 j + k = x(i + j) + y( j − i) + z(2k − j) จงหาคาของ x + y + z


2. กําหนดให P(–2, –1, 2) และ Q(0, –5, 6) จงหาเวกเตอร 3 หนวย ที่มีทิศทาง
ตรงขามกับ PQ
3. กําหนดให u = i + 5j , v = −2i + 3j − k และ w = 3i − a j + k
ถา u ⋅ v = u ⋅ w แลว a มีคาเทาใด
4. กําหนดให u = 2, v = 3 และ u − v = 4 จงหา u ⋅ v
5. กําหนดให u = ai + b j + ck และ v = xi + y j + zk เมื่อ a, b, c, x, y, z
เปนจํานวนจริงใด ๆ
a+x b+y c+z
u*v = ( )i + ( )j+ ( )k
2 2 2
 −1  3   1
ถา u =  2 , v = 1  และ w =  −1 
  แลว
 
 0   2   4 
จงหาคาของ u × (v ∗ w)

6. กําหนดให OA = i − 3j + k และ OB = 4i − j จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AOB


7. จงหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานตัน ที่มี u = i + j + 3k , v = −i + k และ
r = i − j − k เปนดานประกอบของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานตันนี้
8. D ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน AC
C
และ BD ตัดกันที่จุด O จุด E แบง
v O
สวนของเสนตรง AB ออกเปนอัตราสวน
A AE : EB = 1 : 3 ถา AB = u , AD = v
E u B 1
จงแสดงวา OE = − (u + 2v)
4
9. จงแสดงวาเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ตัดกันเปนมุมฉาก
D C

A B
176

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ

1. i − 4j+ k = (xi + x j) + (y j − yi) + (2zk − z j)


= (x – y) i + (x + y – z) j + 2z k
x–y = 1 ----------- (1)
x+y–z = –4 ----------- (2)
2z = 1 ----------- (3)
1
จากสมการ (3) จะได z =
2
7
แทนคา z ลงในสมการ (2) จะได x + y = −
2
ดังนั้น x + y + z = –3

2. PQ = (0 + 2)2 + (−5 + 1)2 + (6 − 2)2


= 6
1 2 2
เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับ PQ คือ i − j+ k
3 3 3
ดังนั้น เวกเตอร 3 หนวยที่มีทิศทางตรงขามกับ PQ คือ −i + 2 j − 2k

3 u⋅v = 13
u ⋅ w = 3 – 5a
จากที่โจทยกําหนดให
u⋅v = u⋅w
ดังนั้น 13 = 3 – 5a
5a = –10
a = –2

2 2 2
4. u−v = u − 2u ⋅ v + v

16 = 4 − 2u ⋅ v + 9
2u ⋅ v = –3
3
ดังนั้น u⋅v = −
2
177

3 +1 1−1 2+4
5. v * w = ( )i + ( )j+ ( )k
2 2 2
= 2i + 3k
i j k
u × (v ∗ w) = −1 2 0
2 0 3

= 6i + 3j − 4k
u × (v ∗ w) = 61

i j k
6. OA × OB = 1 −3 1
4 −1 0

= i + 4 j + 11k

พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AOB เทากับ 1 OA × OB = 1


138 ตารางหนวย
2 2

i j k
7. v×r = −1 0 1
1 −1 −1

= i+k
u ⋅ (v × r) = 1+ 3 = 4
ดังนั้น ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานตัน เทากับ 4 ลูกบาศกหนวย

8. จากรูป OE = OA + AE
1 1
= (CA) + (AB)
2 4
1 1
= (CB + BA) + (AB)
2 4
1 1
= (− v − u) + u
2 4
1 1 1
= − v− u+ u
2 2 4
1 1
= − v− u
2 4
1
= − (u + 2v)
4
1
ดังนั้น OE = − (u + 2v)
4
178

9.
D C

A B
จากรูป ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน
และ AC ⋅ BD = (AB + BC) ⋅ (AD – AB)
= (AB + AD) ⋅ (AD – AB)
= (AD)2 – (AB)2
= (AD)2 – (AD)2
= 0
จะไดวา AC ⊥ BD
ดังนั้น เสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ตัดกันเปนมุมฉาก
179

เฉลยแบบฝกหัด 3.1

1. B(3, 5, 0) C(1, 5, 0) D(1, 2, 0)


E(3, 5, 3) G(1, 2, 3) H(3, 2, 3)

2. 1) E(3, 0, 0) 2) G(0, 3, 0)
3) A(0, 0, 1) 4) F(3, 3, 0)
5) B(0, 3, 1) 6) D(3, 0, 1)

3. 1) จุดบนแกน X มีพิกัดเปน (x, 0, 0)


2) จุดบนแกน Y มีพิกัดเปน (0, y, 0)
3) จุดบนแกน Z มีพิกัดเปน (0, 0, z)
4) จุดในระนาบ XY มีพิกัดเปน (x, y, 0)
5) จุดในระนาบ YZ มีพิกัดเปน (0, y, z)
6) จุดในระนาบ XZ มีพิกัดเปน (x, 0, z)

4. Z

B(1, -1, 2)

A(1, 1, 1)
Y

D(–1, –1, –2)

C(3, 2, -1)
X
180

5. ภาพฉายของจุด P(3, –4, 8) บนระนาบ XY คือ จุด (3, –4, 0)


ภาพฉายของจุด P(3, –4, 8) บนระนาบ YZ คือ จุด (0, –4, 8)
ภาพฉายของจุด P(3, –4, 8) บนระนาบ XZ คือ จุด (3, 0, 8)
ภาพฉายของจุด Q(7, –2, 8) บนระนาบ XY คือ จุด (7, –2, 0)
ภาพฉายของจุด Q(7, –2, 8) บนระนาบ YZ คือ จุด (0, –2, 8)
ภาพฉายของจุด Q(7, –2, 8) บนระนาบ XZ คือ จุด (7, 0, 8)

6. PQ = (−2 − 1) 2 +(−1 + 2) 2 + (0 − 7) 2

= 9 + 1 + 49

= 59

7. AB = 16 + 25 + 64 = 105

AC = 100 + 4 + 1 = 105

BC = 196 + 9 + 49 = 254

รูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดที่ A(1, 2, 1), B(–3, 7, 9) และ C(11, 4, 2) เปน


รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว

เฉลยแบบฝกหัด 3.2 ก

1. ตัวอยางปริมาณสเกลาร ไดแก อัตราเร็ว ระยะทาง มวล

ตัวอยางปริมาณเวกเตอร ไดแก ความเร็ว การกระจัด แรง


181

2. D
C
F
E
A B
เวกเตอรที่มีทิศทางเดียวกัน คือ เวกเตอรที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกันหรือเสนตรงที่
ขนานกัน และมีหัวลูกศรไปทางเดียวกัน ในรูปเชน AF กับ BE
เวกเตอรที่มีทิศทางตรงกันขาม คือ เวกเตอรที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกันหรือ
เสนตรงที่ขนานกัน แตหัวลูกศรไปทางตรงกันขาม ในรูปเชน AF กับ DC และ
BE กับ DC
ทิศเหนือ
3. 1) 120 เมตร ไปทางทิศเหนือ
120 เมตร
มาตราสวน 1 ซม. : 60 เมตร

2) 30 เมตร ไปทางทิศ 060°


060° 30 เมตร
มาตราสวน 1 ซม. : 15 เมตร

3) 80 กิโลเมตร ไปทางทิศ 300°


80 กิโลเมตร
มาตราสวน 1 ซม. : 40 กม. 300°

4) 10 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
มาตราสวน 1 ซม. : 5 กม. 10 กิโลเมตร

4. 1) DC, –CD, –BA 2) –CE, –EA


3) –AD, CB 4) AD, –CB, –DA
5) –EB, –DE 6) CE, –EC
182

5. 1) เชน AD กับ HE BA กับ HG CB กับ FG


2) เชน AD กับ HE DC กับ HG CB กับ FG
3) เชน BA กับ DC BA กับ HG AD กับ CB

6. −u แทนการเดินทาง 300 กิโลเมตร ในทิศ 180° + 075° = 255°

C
7. ใหชายคนนี้เดินทางจากจุด A ไปถึงจุด B
3
เปนระยะทาง 3 กิโลเมตร ในทิศตะวันออก
B เฉียงเหนือ แลวเขาเดินตอไปถึงจุด C เปน
3 ระยะทาง 3 กิโลเมตร ไปทางทิศ 315°
A
ดังนั้น ระยะทางที่เขาอยูหางจากจุดเริ่มตน AC = 32 + 32 = 3 2 กิโลเมตร
และอยูหางจากจุดเริ่มตนในทิศเหนือ

เฉลยแบบฝกหัด 3.2 ข
1. AB = a

CA = CD + DA = c−f หรือ CA = CB + BA = −b − a
BD = BC + CD = b+c หรือ BD = BA + AD = −a + f
DB = DA + AB = −f + a หรือ DB = DC + CB = −c − b
AF = AD + DF = f −e หรือ AF = AB + BC + CD + DF
= a +b+c−e
FA = FD + DA = e−f หรือ FA = FD + DC + CB + BA
= e−c−b−a
AE = AD + DE = f +c หรือ AE = AD + DF + FE = f − e − d
หรือ AE = AB + BC + CE = a + b + 2c
หรือ AE = AB + BC + CD + DF + FE
= a +b+c−e−d
183

EA = FD + DA = −e − f หรือ EA = EF + FD + DA = d + e − f
หรือ EA = EC + CB + BA = −2c − b − a
หรือ EA = EF + FD + DC + CB + BA
= d+e−c−b−a

2. 1) PQ + (QS + SP) = PQ + QP = 0

2) (OR – QS) + RO = –QS + (OR + RO) = –QS = SQ


3) (PQ + QR) – SR = PR - SR = PR + RS = PS

3. 1) BA
2) EH
3) เชน AD + DE + EA , BC + CF + FG + GB

4. AD = AB + BC + CD = −u + v − w

FD = FE + ED = −u + v

BD = BC + CD = v−w

FC = FD + DC = −u + v + w

เฉลยแบบฝกหัด 3.2 ค

1. 1) u = v
1
2) u = − w
3

2. 3w = (3a + 12b) u + (6a + 3b + 3) v


2s = (2b – 4a + 4) u + (4a – 6b – 2) v

เนื่องจาก 3w = 2s
184

ดังนั้น 3a + 12b = 2b – 4a + 4
7a + 10b = 4 ---------- (1)
และ 6a + 3b + 3 = 4a – 6b – 2
2a + 9b = –5 ---------- (2)
แกสมการไดคา a = 2 และ b = –1

u w
3. 4) 2AE = u+v และ 6) AE = − เปนจริง
2 2

1
4. AX = b
2
AZ = AG + GZ = (AB + BG) + 1 GF = (AB + AH) + 1 AD = 1
a+c+ b
3 3 3
EY = EF + FY = DC + 1 FC = AB + 1 HA = a−1c
2 2 2
1 2
XZ = XD + DC + CF + FZ = AD + AB + AH + FG = 1 b + a + c − 2 b
2 3 2 3
1
= a− b+c
6

5. OP = OB + 1 BA
2
1
= OB + (BO + OA)
2
1
= (OA + OB)
2

6. m C n
A B
v
u

จากรูป จะได OA = v , OB = u

AB = AO + OB
AB = – v + u ---------- (1)
185

และ OC = OA + AC
= v + m AB
m+n
m
OC = v+ (u − v) จาก (1)
m+n
m m
OC = v− v+ u
m+n m+n
n m
OC = v+ u
m+n m+n
1
OC = (nv + mu)
m+n

7. D N C

v
M
u

A B

จาก AB = AM + MB
1
AB = u + CB
2
1
CB = AB + u ---------- (1)
2
และ
u = v + NM
u = v + NC + CM
1 1
= v + AB + CB
2 2
1
u = v + AB + (AB – u )
2
3
u = v + AB – u
2
3
AB = 2u–v
2
4 2
AB = u− v
3 3
186

เฉลยแบบฝกหัด 3.3 ก

3 − (−2)   5  −2 − 3  −5
1) AB = 2 − 1  = 1  , BA =  1− 2  =  −1
       

 −1 − 0   − 1  0 − (−1)   1
2) AB =   =  4 , BA =  0−4  =  − 4
 4 − 0      

 −1 − (−2)  1  − 2 − (−1)   −1 


3) AB =   =  10  , BA =  −8− 2  =  − 10 
 2 − (−8)       

 2 −1   1   1− 2   −1 
4) AB =  −1 − (−1)  =  0  , BA =  −1 − (−1)  =  0 
       
 0 − 2   −2   2 − 0   2 

 −1 − 7   −8   7 − (−1)   8
5) AB =  8 − 3 =  5  , BA =  3−8  =  −5 
       
 3 − 1   2   1 − 3   − 2 

 0 −1   −1   1− 0  1 
6) AB =  0 −1  =  −1  , BA =  1− 0 =  1 
       
 0 − (−1)   1   − 1 − 0   − 1 

 −1 3 
2. 1) a − 5b =  3 − 5  4 
   
 −1 − 15 
=  3 − 20 
 
 −16 
=  −17 
 

 −16  16 
2) นิเสธของ a − 5b = −  = 17 
 −17   
187

1  −1 
3) 2c –d = 2  2  −  0 
 3   −7 
 2 1  3
=  4 + 0  = 4
     
 6   7  13

3  −3 
4) นิเสธของ 2c –d = −  4  =  −4 
 
13  − 13

a  c 
3. 1) u+v =  b  + d 
   
a + c 
= b + d 
 
c + a 
= d + b 
 
c  a 
= d  +  b 
   
= v+u

 a  c  
2) λ (u + v) = λ  +  
  b  d  
a + c 
= λ 
b + d 
 λa + λ c 
=  λb + λ d 
 
 λa   λ c 
=  λb  +  λ d 
   
a  c 
= λ +λ 
b d 
= λu + λ v
188

 c  
3) λ (µ v) = λµ   
 d  
 µc  
= λ 
 µd  
 λµc 
=  λµd 
 
c 
= λµ  
d 
= (λµ)v

a 
4) (λ + µ)u = (λ + µ)  
b
 λa + µa 
=  λb + µb 
 
 λa  µa 
=  λb  + µb 
   
a  a 
= λ +µ 
b b
= λ u + µu

 a  c   e 
5) (u + v) + w =   +  +  
  b  d   f 
a + c  e 
=  b + d  + f 
   
a + c + e 
=  
b + d + f 
a  c + e 
=  b  + d + f 
   
a   c  e  
=  b  +  d  + f  
      
= u + (v + w)
189

a  d  g 
4. ให u = b , v = e  , w = h 
     
 c   f  i 
a  d 
1) u+v = b + e 
   
 c   f 
a + d 
= b + e 
 
 c + f 
d + a 
= e + b 
 
 f + c 
d  a 
= e  + b
   
 f   c 

= v+u

 a + d  
 
2) λ (u + v) = λ   b + e  
 c + f  
 
 λa + λ d 
=  λb + λ e 
 
 λc + λf 
 λa   λ d 
=  λb  +  λ e 
   
 λc  λf 
a  d 
= λ  b  + λ  e 
 
c   f 

= λu + λ v
190
 d  
 
3) λ (µ v) = λ  µ  e  
 f  
  
 µd  
 
= λ  µe  
 µf  
 
 λµd 
=  λµe 
 
 λµf 
d 
= (λµ) e 
f 

= (λµ)v

a 
4) (λ + µ)u = (λ + µ)  b 
 c 
 λa + µa 
=  λb + µb 
 
 λc + µc 
 λa  µa 
=  λb  + µb 
   
 λc  µc 
a  a 
= λ  b  + µ  b 
 
c   c 

= λ u + µu
191
 a  d   g 
     
5) (u + v) + w =   b  + e   +  h 
  c   f   i 
     
a + d  g 
= b + e  + h 
   
 c + f  i 
a + d + g 
=  
b + e + h 
 c + f + i 
a  d + g 
=  b  + e + h 
   
 c  f + i 
a   d  g  
=  b  +  e  +  h  
     
 c   f  i  

= u + (v + w)

จาก 1) – 5)
แสดงวา สมบัติในขอ 3 เปนจริงใน 3 มิติ

5. เวกเตอรที่ขนานกันคือ

 2   −8  6  1   2   7  8 
1) 1  ,  −4  , 3  และ  2 , 4 และ 0  , 0 
             

1   −2 
2)  2 ,  −4 
   
1   −2 
192

เฉลยแบบฝกหัด 3.3 ข

1  1  0  1  0 
1. 1) OA =  4 = 0 +  4 = 1  + 4   = i + 4j
      0 1 
 1 1  0 0
2) OS =  3 = 1 0  + 3 1  − 4 0 
    = i + 3j − 4k
 
 −4  0  0  1 
 −4 − 3   −7  1  0 
3) AB =  1 − 2 =  −1  = −7   + (−1)   = −7i − j
    0  1 
1 − (−3)   4 1  0
4) CD =  −2 − 4  =  −6  = 4  – 6  = 4i − 6 j
    0 1 
3 − 1   2 1  0 0
5) PQ =  2 − (−1)  = 3  = 2 0  + 3 1  + 4 0 
    = 2i + 3j + 4k
   
 6 − 2   4   0  0  1 
 −1 − 0   −1  1  0  0 
6) MN =  −1 − 1  =  −2  = −1 0  − 2 1  + 0 
  = −i − 2 j + k
   
 2 − 1   1  1  0  1 

1 
2. 1)  2 = i + 2j
 
i + 2j = 12 + 22 = 5
 3
 −4  = 3i − 4 j
 
3i − 4 j = 32 + (−4) 2 = 9 + 16 = 5
 −1 
 −4  = i − 4j
 
−i − 4 j = (−1) 2 + (−4) 2 = 1 + 16 = 17
3 
 2 = 3i − 2 j
 
3i + 2 j = 32 + 22 = 9+4 = 13
193
1 
2) 1  = i + j + 3k
 
3

i + j + 3k = 12 + 12 + 32 = 11

 3
 −1  = 3i − j + 2k
 
 2 

3i − j + 2k = 32 + (−1) 2 + 22 = 9 +1+ 4 = 14

 −4 
 0 = −4i − k
 
 −1 

−4i − k = (−4) 2 + (−1) 2 = 16 + 1 = 17

5 − 1   4
3) AB = 7 − 2 = 5  = 4i + 5j
   
4i + 5j = 4 2 + 52 = 16 + 25 = 41

 −1 − 7   −8
4) RS =   =  −1 = 8i − j + 4k
 3 − 4  
 5 − 1   4 

−8i − j + 4k = (−8) 2 + (−1) 2 + 4 2 = 64 + 1 + 16 = 81 =9


1  3  7  1   −1 3 
3. 1) x + y  = 8  2) x + y  =  2
2 4    3  1  
x + 3y = 7 --------- (1) x – y = 3 -------- (1)
2x + 4y = 8 --------- (2) 3x + y = 2 -------- (2)
(1) × 2, 2x + 6y = 14 --------- (3) 4x = 5
(3) – (2) 2y = 6 x = 5
4
7
y = 3 y = −
4
x = –2 ดังนั้น x = 5 , y = −
7
4 4
ดังนั้น x = –2, y = 3
194
1  3  1   3
3) x 1  + y  2  + z 1 
    =  7
 
3 1   2   −1 

x + 3y + z = 3 ----------- (1)
x + 2y + z = 7 ----------- (2)
3x + y + 2z = –1 ----------- (3)
(1) – (2), y = –4
(3) – 2 × (2), x – 3y = –15
x – 3(–4) = –15
x = –27
∴ z = 3 – (–27) – 3(-4)
z = 42
x = –27, y = –4, z = 42
 2
4. 1) u = 1 
 
u = 22 + 12 = 5
1 2 2 1
∴ เวกเตอร 1 หนวย ที่มีทิศทางเดียวกันกับ u คือ   = i+ j
5 1  5 5

 1
2) a =  −3
 
 −1
a = 12 + (−3) 2 + (−1) 2 = 11

∴ เวกเตอร 1 หนวย ที่มีทิศทางเดียวกันกับ a คือ


 1
1   1 3 1
−3 = i− j− k
11   11 11 11
 −1

 −4 − 1   −5
3) AB =  5 − (−3)  =  8
   
AB = (−5) 2 + 82 = 89
1  −5 −5 8
∴ เวกเตอร 1 หนวย ที่มีทิศทางเดียวกันกับ AB คือ   = i+ j
89  8  89 89
195
 0 −1   −1 
4) QC =  −3 − 5 =  −8  , QC = (−1) 2 + (−8) 2 + (−7)2 = 114
   
 1 − 8   −7 

∴ เวกเตอร 1 หนวย ที่มีทิศทางเดียวกันกับ QC คือ


 −1 
1   1 8 7
−8 = − i− j− k
114   114 114 114
 −7 

8 4
5. 1) i+ j
5 5
4 12 4
2) i− j− k
11 11 11
20 32
3) − i+ j
89 89
4 32 28
4) − i− j− k
114 114 114

 3− 2  1
6. ก) PQ =  5−5 =  0
   
 −1 − 3   −4 

PQ= 12 + (−4) 2 = 17
1 −4
∴ โคไซนแสดงทิศทางของ PQ คือ , 0,
17 17

 2 − (−1)   3
ข) RS =  −4 − 4  =  −8
   
 7 − (−2)   9 

RS= 32 + (−8) 2 + 92 = 154


3 −8 9
∴ โคไซนแสดงทิศทางของ RS คือ , ,
154 154 154

 4 − (−3)   7
ค) TV = 2 − 1  =  1 
  
8 − 0   8 

TV= 7 2 + 12 + 82 = 114
7 1 8
∴ โคไซนแสดงทิศทางของ TV คือ , ,
114 114 114
196

 −2 − 1   −3 
7. ก) PQ =  0 − 4 =  −4 
   
 1 − 3   −2 

PQ = (−3) 2 + (−4) 2 + (−2) 2 = 29


3 4 2
โคไซนแสดงทิศทางของ PQ คือ − , − , −
29 29 29

3 
ข) a =  4
 
 2 

a = 32 + 42 + 22 = 29
3 4 2
โคไซนแสดงทิศทางของ a คือ , ,
29 29 29

5 
ค) OP = 0 
 
 2 

OP = 52 + 2 2 = 29
5 2
โคไซนแสดงทิศทางของ OP คือ , 0,
29 29
จะไดวา PQ และ a ขนานกัน โดยมีทิศทางตรงกันขาม

เฉลยแบบฝกหัด 3.4

1. 1) u⋅v = 10
2) u⋅v = 5
3) u⋅v = 1
4) u⋅v = –3
197

2. 1) θ = 0°
2

2) θ = 90° 2

3) θ = 90° 2

4) θ = 132° 20′

3. 1) 10
2) 40
3) 22
4) –4

4. 1) –52
2) 94
3) 80
4) –66

5. 1) มุมแหลม
2) มุมฉาก
3) มุมปาน

6. 1) เวกเตอรตั้งฉากซึ่งกันและกัน
2) เวกเตอรตั้งฉากซึ่งกันและกัน
3) เวกเตอรไมตั้งฉากซึ่งกันและกัน
4) เวกเตอรไมตั้งฉากซึ่งกันและกัน

7. 1) m = –1, 4
2) m = −3 + 10 , −3 − 10
198

8. ให u = ai + b j

v = ci + d j

จะได u⋅v = ac+ bd


u+v = (a + c) i + (b + d) j
= a 2 + b2
2
u

= c 2 + d2
2
v

จาก u+v = u + v u + v = ( (a + c)2 + (b + d) 2 )( (a + c) 2 + (b + d)2 )


2

= (a + c)2 + (b + d)2
= a2 + 2ac + c2 + b2 + 2bd + d2
= (a2 + b2) + 2(ac + bd) + (c2 + d2)
= u + 2u ⋅ v + v
2 2

ดังนั้น = u + 2u ⋅ v + v
2 2 2
u+v

และให u = ai + b j

v = ci + di

จะได u– v = (a − c)i + (b − d) j

= a 2 + b2
2
u

u⋅v = ac + bd
= c 2 + d2
2
v

จาก u−v u−v = ( (a − c) 2 + (b − d) 2 ( (a − c) 2 + (b − d) 2

= a2 – 2ac + c2 + b2 – 2bd + d2
= a2 + b2 – 2(ac + bd) + c2 + d2
=
2 2
u − 2u ⋅ v + v

ดังนั้น =
2 2 2
u−v u − 2u ⋅ v + v
199

9. uตั้งฉากกับ v โดยที่ u ≠ 0, v ≠ 0 ดังนั้น u⋅v =0


=
2 2 2
u+v u + 2u ⋅ v + v

=
2 2
u +v

10. u ตั้งฉากกับ v โดยที่ u ≠ 0, v ≠ 0 ดังนั้น u⋅v =0


=
2 2 2
u−v u − 2u ⋅ v + v

=
2 2
u +v

11. B จาก BC = BA + AC
BC
2
= ( BA + AC )2
a BC
2
= BA 2 + 2 ⋅ BA ⋅ AC + AC 2
c
เพราะวา BA ตั้งฉากกับ AC จะได BA⋅AC = 0
C A ดังนั้น a2 = c2 + b2
b

12. u = 5, v = 3, u + v = 4
=
2 2
( u + v )2 u + 2u ⋅ v + v

16 = 25 + 2u ⋅ v + 9
7 = 25 + 2u ⋅ v
2u ⋅ v = –18

=
2 2
( u − v )2 u − 2u ⋅ v + v

= 25 + 18 + 9
( u − v )2 = 52
u−v = 2 13

≈ 2(3.605)
≈ 7.21
200

13. u = w และ u−v = v+w

( u − v )2 = ( v + w )2

=
2 2 2 2
u − 2u ⋅ v + v v + 2v ⋅ w + w

=
2 2 2 2
u − 2u ⋅ v + v u + 2v ⋅ w + v

−2u ⋅ v = 2vw

u v cos θ = − v w cos θ
π
cos = – cos θ
5
π
cos(π − ) = cos θ
5

θ =
5

14. OA = i + 3j , OB = 4i + j

j AB = OB – OA
= 4i + j − (i + 3j)

AB = 3i − 2 j

i + 3j
= 9+4
A = 13
3i − 2 j

θ
B
D i
O
4i + j

OA⋅OB = OA OB cos θ
4+3 = ( 10)( 17) cos θ
7
= cos θ
10 ×17
0.537 = cos θ
θ = cos–1(0.537)
201

OD
จาก cos θ =
OA
(0.537)( i + 3 j ) = OD
0.537 i + 1.611 j = OD
OD = 0.537 2 + 1.6112

OD = 1.698
จาก OA
2
= 2
OD + DA
2

10 = 2.883 + DA
2

DA
2
= 7.117
DA = 2.668

1
พื้นที่รูป ∆ OAD = × ฐาน × สูง
2
1
= × OD × AD
2
1
= × 1.698 × 2.668
2
= 2.265
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม OAD ประมาณ 2.27 ตารางหนวย

เฉลยแบบฝกหัด 3.5

1. 1) u = 2i + 3k , v = i+2j – k

i j k
u×v = 2 0 3 = −6i + 5j + 4k
1 2 −1

i j k
v×u = 1 2 −1 = 6i − 5j − 4k
2 0 3
202

2) u = i + j− k , v = j

i j k
u×v = 1 1 −1 = i + 0j+ k
0 1 0

i j k
v×u = 0 1 0 = −i + 0 j − k
1 1 −1

3) u = 2i + 7 j , v = 5i + 4 j − 3k

i j k
u×v = 2 7 0 = 21i + 6 j − 27k
5 4 −3

i j k
v×u = 5 4 −3 = −21i − 6 j + 27k
2 7 0

2. u = 5i − 3j + 4k , v = j− k
i j k
1) u×v = 5 −3 4 = −i + 5j + 5k
0 1 −1

2) u × v = (−1)2 + (5)2 + (5)2 = 51

3) จาก u = 25 + 9 + 16 = 50
และ v = 1 + 1 = 2
เนื่องจาก u × v = u v sin θ
51
sin θ =
100
sin θ = 0.714
203

3. ให u = ai + b j + ck

v = di + e j + f k

จงแสดงวา (u − v) × (u + v) = (2u) × v

u−v = (a − d)i + (b − e) j + (c − f )k

u+v = (a + d)i + (b + e) j + (c + f )k

i j k
(u − v) × (u + v) = (a − d) (b − e) (c − f )
(a + d) (b + e) (c + f )

= [(b – e)(c + f) – (b + e)(c – f)] i – [(a – d)(c + f)


– (a + d)(c – f)] j + [(a – d)(b + e) – (a + d)(b – e)] k
= [bc + bf – ec – ef – (bc – ef + ec – bf)] i – [ac – dc – df
+ af – (ac – df + dc – af)] j + [ab + ae – db – de
– (ab – ae + db – de)] k
= 2(bf – ec) i – 2(af – dc) j + 2(ae – db) k
i j k
2u × v = 2a 2b 2c = (2bf – 2ec) i – (2af – 2dc) j + (2ae – 2bd) k
d e f

∴ จะไดวา (u − v) × (u + v) = 2u × v

4. 1) (u ⋅ v) ⋅ r ไมมีความหมายเพราะสเกลารไมสามารถ Dot กับเวกเตอรได


2) (u ⋅ v)r มีความหมายเปนเวกเตอร
3) (u × v) × r มีความหมายเปนเวกเตอร
4) (u ⋅ v) × r ไมมีความหมายเพราะสเกลารไมสามารถ Cross กับเวกเตอรได
5) u ⋅ (v × r) มีความหมายเปนสเกลาร
204

5. u = 2i − j + k v = −i + j − 2k

u⋅v = −2 − 1 − 2 = 5
i j k
u×v = 2 −1 1
−1 1 −2
−1 1 2 1 2 −1
= i− j+ k
1 −2 −1 − 2 −1 1
= i + 3j + k

เวกเตอรขนาด 1 หนวย ที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร u×v


1 1
คือ (i + 3j + k) = (i + 3j + k)
1+ 9 +1 11
ดังนั้น เวกเตอรขนาด 5 หนวย ที่มีทิศทางตั้งฉากกับระนาบที่ประกอบดวย
5 5
u และ v คือ (i + 3j + k) และ − (i + 3j + k)
11 11

6. พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน PORS = PO × PS
i j k
PO × PS = 3 −2 0
0 3 4
−2 0 3 0 3 −2
= i− j+ k
3 4 0 4 0 3
PO × PS = (−8) 2 + 122 + 92

= 17
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน PORS เทากับ 17 ตารางหนวย

1
7. พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = AB × AC
2
 8−0   8
AB =  8−2  =  6 = 8i + 6 j − 4k
   
 −2 − 2   −4 
 9−0   9 
AC =  12 − 2  =  10  = 9i + 10 j + 4k
   
 6 − 2   4 
205
i j k
ดังนั้น AB × AC = 8 6 −4
9 10 4
6 −4 8 −4 8 6
= i− j+ k
10 4 9 4 9 10
= (24 + 40) i – (32 + 36) j + (80 – 54) k
= 64i − 68j + 26k
AB × AC = 642 + 682 + 262
= 9396 = 18 29
∴ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC คือ 1 AB × AC = 1 ×18 29 =9 29
2 2
ตารางหนวย

8. 1) ปริมาตรของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานทรงตันเทากับ u ⋅ (v × r)
i j k
v×r = 1 1 0
0 1 1
1 0 1 0 1 1
= i− j+ k
1 1 0 1 0 1
= i − j+ k

ดังนั้น =
u ⋅ (v × r) (i + k) ⋅ (i − j + k)

= (1)(1) + 0(−1) + (1)(1)

= 2 = 2
∴ ปริมาตรของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานทรงตัน เทากับ 2 ลูกบาศกหนวย
206
i j k
2) v×r = 1 −1 1
1 1 2

−1 1 1 1 1 −1
= i− j+ k
1 2 1 2 1 1

= (−2 − 1)i − (2 − 1) j + (1 + 1)k

= −3i − j + 2k

ดังนั้น =
u ⋅ (v × r) (2i + 3j − 4k) ⋅ (−3i − j + 2k)

= −6−3−8 = −17 = 17
∴ ปริมาตรของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานทรงตันเทากับ 17 ลูกบาศกหนวย

You might also like