You are on page 1of 13

บทที่ 4

เศษสวนของพหุนาม (13 ชั่วโมง)


4.1 การดําเนินการของเศษสวนของพหุนาม (4 ชั่วโมง)
4.2 การแกสมการเศษสวนของพหุนาม (3 ชั่วโมง)
4.3 โจทยปญ หาเกี่ยวกับเศษสวนของพหุนาม (6 ชั่วโมง)

สาระของบทนี้เปนความรูตอ เนื่องเกีย่ วกับเศษสวนของพหุนามที่นกั เรียนเคยเรียนมาแลวใน


หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในบทนี้จะกลาวถึง
การบวก การลบ การคูณและการหารเศษสวนของพหุนามที่ซับซอนขึ้นโดยอาศัยการแยกตัวประกอบ
ของพหุนาม การนําความรูด ังกลาวไปใชในการแกสมการเศษสวนของพหุนามและแกโจทยปญหาเกี่ยวกับ
เศษสวนของพหุนาม
การบวก การลบ การคูณและการหารเศษสวนของพหุนามเปนพืน้ ฐานของการแกสมการเศษสวน
ของพหุนามซึง่ จะมีประโยชนในการเรียนคณิตศาสตรขั้นสูงขึ้นตอไป กิจกรรมการเรียนการสอนสวนใหญ
จึงเนนการทําแบบฝกหัดเพือ่ ใหนกั เรียนเกิดทักษะในการดําเนินการของเศษสวนของพหุนาม และ
การแกสมการเศษสวนของพหุนาม สําหรับการเขียนคําตอบของการดําเนินการของเศษสวนของพหุนาม
อนุโลมใหนักเรียนเลือกตอบแบบใดแบบหนึ่งดังในตัวอยางที่ 2 หนา 153 ของหนังสือเรียน
เนื่องจากเศษสวนของพหุนามมีเงื่อนไขวาพหุนามที่เปนตัวสวนจะตองไมเปนศูนย ดังนั้นในการ
แกสมการเศษสวนของพหุนาม ครูควรย้ําใหนักเรียนพิจารณาวาคําตอบที่ไดนั้นจะตองไมทําใหพหุนามที่
เปนตัวสวนเปนศูนย
สําหรับเนื้อหาเกี่ยวกับกระแสน้ําและรถไฟ เสนอไวเพือ่ เสริมความรูและฝกทักษะในการแกโจทย
ปญหาของนักเรียน การจะนําเนื้อหาเหลานี้ไปสอนหรือไม ใหขึ้นอยูก ับดุลยพินิจของผูสอน

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. บวก ลบ คูณและหารเศษสวนของพหุนามที่กําหนดใหได
2. แกสมการเศษสวนของพหุนามได
3. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับเศษสวนของพหุนามได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
89

แนวทางในการจัดการเรียนรู

4.1 การดําเนินการของเศษสวนของพหุนาม (4 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. คูณและหารเศษสวนของพหุนามและเขียนผลลัพธเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จได
2. บวกและลบเศษสวนของพหุนามและเขียนผลลัพธเปนเศษสวนของพหุนามในรูปผลสําเร็จได

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนเศษสวนของพหุนามอยางงาย การคูณและการหารเศษสวนเพื่อนําไปสูความเขาใจ
หลักการคูณและการหารเศษสวนของพหุนามอยางงาย นอกจากนี้ครูควรทบทวนการแยกตัวประกอบของ
พหุนามดีกรีสองและดีกรีสามที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว
2. ในตัวอยางที่ 1 ถึง 6 ซึ่งเปนตัวอยางเกี่ยวกับการคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม
นําเสนอโดยเรียงลําดับจากงายไปยาก ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตเห็นวามีการแยกตัวประกอบของพหุนาม
ทั้งตัวเศษ และตัวสวนกอนเพื่อทําใหสามารถตัดทอนเปนเศษสวนของพหุนามที่อยูในรูปที่งายขึ้นสะดวกใน
การคํานวณขัน้ ตอไป ครูอาจเลือกเฉพาะบางตัวอยางมาแสดงใหนกั เรียนดูขั้นตอนการคํานวณ ตัวอยางที่
เหลือใหนกั เรียนศึกษาเอง
3. ในการสอนการบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม ครูควรจะทบทวนการบวกและการลบ
เศษสวนที่มีตวั เศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มกอนเพื่อใหนักเรียนเห็นขั้นตอนซึ่งจะนํามาสูการบวกและ
การลบเศษสวนของพหุนาม ในกรณีพหุนามที่เปนตัวสวนไมเทากัน ครูควรใหนกั เรียนทําพหุนามที่เปน
ตัวสวนใหเทากันโดยหาพหุนามมาคูณทั้งพหุนามที่เปนตัวเศษและพหุนามที่เปนตัวสวน ครูไมควรพูดเรื่อง
ค.ร.น. ของพหุนามเพราะยังไมมีความจําเปนตองกลาวถึงในระดับนี้ และในบทเรียนที่ผานมาไมเคย
กลาวถึงการหา ค.ร.น. ของพหุนาม
4. สําหรับตัวอยางที่ 7 ถึง 11 เปนตัวอยางเกีย่ วกับการบวกและการลบเศษสวนของพหุนามโดย
เรียงลําดับจากงายไปยาก ครูควรชี้ใหนกั เรียนสังเกตวาพหุนามดีกรีสองและพหุนามดีกรีสาม ควร
แยกตัวประกอบกอน (ถาทําได) เพราะอาจจะสามารถตัดทอนใหอยูในรูปเศษสวนของพหุนามอยางงาย
หรือเห็นตัวสวนที่เหมือนกันไดงายขึ้น
90

4.2 การแกสมการเศษสวนของพหุนาม (3 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. แกสมการที่เกี่ยวของกับเศษสวนของพหุนามได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 เปนการทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกีย่ วกับการแกสมการ
ของนักเรียน ครูอาจเพิ่มตัวอยางสมการเศษสวนของพหุนามซึ่งทําในทํานองเดียวกัน โดยเริ่มตั้งแตตัวสวน
ของพหุนามที่เปนพจนเดียว เชน 6 + 19x = -192
x
2. ครูควรย้ํากับนักเรียนวาตัวสวนของเศษสวนของพหุนามแตละเศษสวนของพหุนามจะตองไม
เปนศูนย ดังนั้นในการตรวจสอบคําตอบของสมการจึงควรนําเงื่อนไขนี้มาพิจารณาดวย
3. สําหรับแบบฝกหัด 4.2 ขอ 6 ครูอาจแนะนําแนวคิดไดดังนี้
วิธีที่ 1 n 4− 5 = -(n4− 5)
4 -4
n −5 = n −5
จะได 4 = -4 ซึ่งเปนประโยคที่ไมเปนจริง
นั่นคือ สมการนี้ไมมีคําตอบ
วิธีที่ 2 4 × (5 – n) = (n – 5) × 4
20 – 4n = 4n – 20
8n = 40
n = 5
แต n เทากับ 5 ไมได เพราะถา n เทากับ 5 จะทําใหเศษสวนของพหุนามใน
สมการมีตัวสวนเปนศูนย
นั่นคือ สมการนี้ไมมคี ําตอบ
สําหรับแบบฝกหัด 4.2 ขอ 8 ครูอาจนํามาอภิปรายในชั้นเรียนโดยใหนักเรียนออกมาทํา
หนาชั้นจนกระทั้งไดวา 3 = 4 ซึ่งเปนประโยคที่ไมเปนจริง นักเรียนก็จะไดขอสรุปวาสมการนีไ้ มมี
คําตอบ
91

4.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับเศษสวนของพหุนาม (6 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเศษสวนของพหุนามได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบได

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนขั้นตอนการแกโจทยปญหาโดยการสรางสมการในรูปเศษสวนของพหุนาม อาจใช
โจทยในตัวอยางที่ 1 มาแสดงวิธีทําและชีใ้ หเห็นขั้นตอนการแกสมการเศษสวนของพหุนามตามทีน่ ักเรียน
เคยเรียนมาแลว
ครูควรเนนใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบซึ่งจะตองนําคาของตัวแปรไปตรวจสอบกับเงื่อนไข
ในโจทย
สําหรับตัวอยางที่ 2 เปนโจทยปญหาเกีย่ วกับอัตราเร็วซึ่งครูอาจจะทบทวนวาอัตราเร็วในทีน่ ี้
เปนอัตราเร็วเฉลี่ยและสามารถหาไดจากสูตร
อัตราเร็ว = ระยะทาง
เวลา
หรือ เวลา = ระยะทาง
อัตราเร็ว
2. สําหรับแบบฝกหัด 4.3 เปนการแกโจทยปญหาเกีย่ วกับสมการเศษสวนของพหุนาม
โดยเฉพาะโจทยปญหาเรื่องอัตราเร็ว ครูควรเนนใหนกั เรียนระมัดระวังการเปลี่ยนหนวยใหเปนหนวย
เดียวกันกอนทีจ่ ะเขียนในรูปของสมการ เชน หนวยของเวลา และหนวยของระยะทาง
โจทยในขอ 9 ถึง 12 เปนโจทยทใี่ ชแนวคิดเกีย่ วกับแรงงานซึ่งโดยทัว่ ไปจะมีการเทียบหา
ปริมาณงานทีท่ ําไดใน 1 หนวยเวลา กอนจะนํามาเขียนสมการตามเงื่อนไขที่โจทยกําหนด
3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องกระแสน้ําและรถไฟ ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาสูตรที่

ใชเปนพืน้ ฐานในการคํานวณยังคงเปนสูตร อัตราเร็ว = ระยะทาง


เวลา
สิ่งที่อาจเปลี่ยนไปตามสถานการณ คืออัตราเร็วและระยะทาง ครูควรเขียนภาพหรือสราง
แบบจําลองแสดงการเคลื่อนที่ในแตละกรณีเพื่อใหนกั เรียนเกิดความเขาใจ มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกับ
การเคลื่อนที่เหลานี้ ซึ่งจะทําใหจําและนําสูตรในแตละกรณีไปใชไดอยางถูกตอง หลักการและสูตร
เกี่ยวกับกระแสน้ําและรถไฟสามารถนําไปใชแกปญหาทั่วไปได แตในที่นี้เนนเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับ
เศษสวนของพหุนาม
4. กิจกรรม “ลองคิดดู” ตองการใหนกั เรียนสังเกตแบบรูปเพื่อนํามาสรุปเปนรูปทั่วไปที่อยูใ น
รูปเศษสวนของพหุนาม
92

5. กิจกรรม “คิดไดไหม” เปนการเชือ่ มโยงเรื่องสมการเศษสวนของพหุนามกับความคลาย


ในการหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม

คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 4.1 ก

1.
1) 25 (x + 7)
1
2) (2x + 3)(3x หรือ 2 1
+ 2) 6x + 13x + 6
3) xx +− 12

3y(2y + 3) 6y 2 + 9y
4) (y − 1)(1 − 2y) หรือ
-2y 2 + 3y − 1
y +1
5) y − 5
2
6) 23 (x + 1)(x + 5) หรือ 2x + 12x
3
+ 10

2(2z − 7) หรือ 4z − 14
7) -z(3z + 8) -3z 2 − 8z
2
8) 2(x − 2)(x − 1)
หรื อ 2x − 6x + 4
(x + 2) x+2
2
9) -(3z − 4)(z + 5)
หรื อ -3z − 11z + 20
3 3
y −1
10) y − 3
2.
1) xx +− 37
2) 2z2(z – 1) หรือ 2z3 – 2z2
3) (5a – 4)(a – 1) หรือ 5a2 – 9a + 4
4) 2(5y1 − 4) หรือ 10y1 − 8
93

3y − 1
5) y−2
6) xx −− 45

7) 2 4z
z − 4z + 16
24
8) (x − 3)(2x − 9)
หรือ 2 24
2x − 15x + 27
3.
1) 2x +1
3x − 1
2) 1

คําตอบแบบฝกหัด 4.1 ข

x + 11
1. 2x −2
2 2
2. (x + 2)(x − 3)(x + 3) หรือ 3 +2 8x + 6
3x + 8x + 6 3x
x + 2x − 9x − 18
2y 2 + 6y − 36
3. 2y + 9
-12
4. (x + 6)(x หรื อ -12
− 6) 2
x − 36
7y 7y
5. (y + 2)(y − 5)(2y − 3) หรือ 3 2
2y − 9y − 11y + 30
-8y 2 + 41y + 14
6. y −5

7. 6x 2 − 4x
4x 3 − 4x 2 − x + 1
2 2
8. -6x + 37x + 10 หรือ -6x + 37x + 10
(x + 2)(x − 2) x2 − 4
9. 4(x53(x + 5)
+ 1)(5x − 9)
หรือ 53x2
+ 265
20x − 16x − 36
10. 3xx ++ 63
94

คําตอบแบบฝกหัด 4.2

1. -1
2. 2
3. -5 และ 5
4. 1 และ 4
5. -4
6. ไมมีคําตอบ
7. 3
8. ไมมีคําตอบ
9. -6
10. 2 และ 5
11. 4
12. 1
5
13. 3
14. -3 และ 4
15. ไมมีคําตอบ
16. -4 และ 3
17. 2
18. 2 และ 5

คําตอบแบบฝกหัด 4.3

1. 20 บาท
ตัวอยางแนวคิด ใหเดิมหนังสือราคาเลมละ x บาท
200
จะไดสมการเปน ⎛⎜ x − 2 ⎞⎟ (x + 5) = 200
⎝ ⎠
2. 60 กิโลกรัม
ตัวอยางแนวคิด ใหพอคาซื้อสมมา x กิโลกรัม
540
จะไดสมการเปน (x + 20) ⎛⎜ x ⎞⎟ = 12x
⎝ ⎠
95

3. กระดาษที่เย็บเปนเลมชุดแรกมี 20 แผน
กระดาษที่เย็บเปนเลมชุดหลังมี 25 แผน
ตัวอยางแนวคิด ใหกระดาษทีเ่ ย็บเปนเลมชุดแรกมี x แผน
จะไดสมการเปน 200 200
x + x + 5 = 18

4. 3 กิโลเมตร
ตัวอยางแนวคิด ใหเดิมศจีเดินไดชั่วโมงละ x กิโลเมตร
ถาศจีเดินเร็วขึ้นอีก 1 ชั่วโมง เดินทาง 9 กิโลเมตร ใชเวลานอยลง
45 นาที = 43 ชั่วโมง
จะไดสมการเปน x9 − x 9+ 1 = 43

5. พงษพิมพไดนาทีละ 65 คํา
พันธพิมพไดนาทีละ 30 คํา
ตัวอยางแนวคิด ใหพงษพิมพดดี ไดนาทีละ x คํา
จะไดสมการเปน 325 150
x = x − 35

6. ศักดิ์เดินดวยอัตราเร็ว 4 กิโลเมตรตอชั่วโมง
สรรคเดินดวยอัตราเร็ว 2 12 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหศักดิ์เดินดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน 10 1 – 10 = 1 12
x −1 2 x

7. 40 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหรถไฟแลนดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
60 60 120
จะไดสมการเปน ⎛⎜ x + x − 8 ⎞⎟ − x = 22 12 × 601
⎝ ⎠

8. 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของรถในระยะแรกเปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน 120 + 200 = 4
x x + 40
96

9. 60 นาที
ตัวอยางแนวคิด ใหโองที่สามไดน้ําจากกอกทีส่ องเพียงกอกเดียวและไดน้ําเต็มโองในเวลา x นาที
ในเวลา 1 นาทีโองที่สามไดน้ําจากกอกทีส่ อง 1x ของโอง
ในเวลา 1 นาทีโองแรกไดนา้ํ จากกอกที่หนึ่ง 301 ของโอง
ในเวลา 1 นาทีโองที่สองไดน้ําจากทั้งสองกอก 20 1 ของโอง

จะไดสมการเปน 1x + 301 = 20 1

10. 24 นาที
ตัวอยางแนวคิด ใหเปดทอใหญทอเดียวใชเวลา x นาที น้ําจึงจะเต็มสระ
จะไดสมการเปน 1x + x +116 = 151

11. 20 วัน
ตัวอยางแนวคิด ให ข ทํางานคนเดียวเสร็จในเวลา x วัน
ในเวลา 1 วัน ข ทํางานได 1x ของงาน
ในเวลา 1 วัน ก ทํางานได 23 × 1x ของงาน
ในเวลา 1 วัน ก และ ข ชวยกันทํางานได 121 ของงาน
จะไดสมการเปน 3x2 + x1 = 121

12. 22 ชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหผูใหญ 1 คนทํางานเสร็จในเวลา x ชั่วโมง
ผูใหญ 1 คนทํางาน 1 ชั่วโมงไดงาน 1x ของงาน

ผูใหญ 9 คนทํางาน 2 ชั่วโมงไดงาน 18x ของงาน


ผูใหญ 9 คน เด็ก 6 คน ทํางานเสร็จใน 2 ชั่วโมง
ดังนั้น เด็ก 6 คน ทํางาน 2 ชั่วโมงไดงาน 1 – 18x = x −x18 ของงาน
เด็ก 1 คน ทํางาน 1 ชั่วโมงไดงาน x12x
− 18
ของงาน

เด็ก 7 คน ทํางาน 3 ชั่วโมงไดงาน 21(x12x− 18) ของงาน


97

ผูใหญ 5 คน ทํางาน 3 ชั่วโมงไดงาน 1x × 15 = 15x ของงาน


ตามเงื่อนไขโจทย ผูใหญ 5 คน เด็ก 7 คน ทํางาน 3 ชั่วโมง ไดงาน 1 งาน
จะไดสมการเปน 21(x12x− 18) + 15x = 1

คําตอบกิจกรรม “กระแสน้ํา”

1. 5 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของเรือที่พายทวนน้ําเปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
เนื่องจาก อัตราเร็วของกระแสน้ําเปน 5 กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะได อัตราเร็วของเรือที่พายในน้ํานิ่งเปน x+5 กิโลเมตรตอชั่วโมง
อัตราเร็วของเรือที่พายตามน้ําเปน (x+ 5) + 5 = x + 10
กิโลเมตรตอชั่วโมง
พายเรือทวนน้าํ ใชเวลามากกวาพายรือตามน้ํา 40 นาที = 23 ชั่วโมง
จะไดสมการเปน x5 – x +510 = 23

2. 5 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหกระแสน้ํามีอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
เนื่องจาก ระยะทาง 5 กิโลเมตร ใชเวลากรรเชียงเรือตามน้ํา
12 นาที = 15 ชั่วโมง
จะได อัตราเร็วของเรือกรรเชียงตามน้ําเปน 15 = 25 กิโลเมตรตอชั่วโมง
5
ดังนั้น อัตราเร็วของเรือในน้ํานิ่งเปน 25 – x กิโลเมตรตอชั่วโมง
นั่นคือ อัตราเร็วของเรือกรรเชียงทวนน้ําเปน 25 – 2x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน 25 −5 2x = 60 20

3. 19 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของเรือในน้ํานิง่ เปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน x48
+5 x −5
+ 28 = 4
98

4. 10 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหกระแสน้ํามีอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน 3010− x + 3010+ x = 6045

5. อัตราเร็วของกระแสน้ํา 6 กิโลเมตรตอชั่วโมง
อัตราเร็วของเรือในน้ํานิ่ง 20 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของกระแสน้ําเปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดอัตราเร็วของเรือในน้ํานิ่งเปน 3x + 2 กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน (3x +282) − x – (3x +262) + x = 1

คําตอบกิจกรรม “รถไฟ”

1. 89 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของรถยนตเปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
รถยนตยาว 3 เมตร เทากับ 0.003 กิโลเมตร
รถไฟยาว 200 เมตร เทากับ 0.2 กิโลเมตร
จะไดสมการเปน x0.203
− 60
25.2
= 3,600

2. 75 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของรถไฟแตละขบวนเปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะไดสมการเปน 0.352x+ 0.4 = 3,600
18

3. 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหรถไฟแลนดวยอัตราเร็ว x กิโลเมตรตอชั่วโมง
เวลาที่รถไฟวิง่ ผานสถานีเทากับ 0.08 +x 0.02 ชั่วโมง
เวลาที่รถไฟวิง่ ผานสมศักดิ์เทากับ 0.08
x ชั่วโมง
0.08 + 0.02 ⎞ 0.08
จะไดสมการเปน ⎛⎜ x ⎟ – = 1.2
⎝ ⎠ x 3,600
99

4. 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตัวอยางแนวคิด ใหอัตราเร็วของรถไฟขบวน ก เปน x กิโลเมตรตอชั่วโมง
จะได อัตราเร็วของรถไฟขบวน ข เปน x – 20 กิโลเมตรตอชั่วโมง
เวลาที่รถไฟขบวน ก และขบวน ข สวนทางกัน เทากับ 0.08 + 0.065
x + (x − 20) ชั่วโมง
เวลาที่รถไฟขบวน ก แลนผานสมศรี เทากับ 0.08
x ชั่วโมง
จะไดสมการเปน 0.08 + 0.065 – 0.08 = 0.02
x + (x − 20) x 3,600

คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู”
เพราะ n n+ 1 − n n− 1 = n×n −
(n − 1)(n + 1)
(n + 1)n (n + 1)n
= n2 −
n2 −1
(n + 1)n (n + 1)n
= n2 − n2 +1
(n + 1)n
= 1
(n + 1)n
เมื่อ n แทนจํานวนจริงที่ไมเทากับ -1 และ 0

คําตอบกิจกรรม “คิดไดไหม”
A

h–1 h+ 4
3
B D C
100

แนวคิด
ให AD เทากับ h หนวย
จะได BD = h – 1 หนวย
และ CD = h + 43 หนวย
∧ ∧ ∧ ∧
เนื่องจาก BAD = ACD และ ADB = CDA = 90o
ดังนั้น ∆ ABD ∼ ∆ CAD
จะได BD AD
AD = CD
นั่นคือ h −1 = h
h h + 43
4
(h – 1) ⎛⎜ h + 3 ⎞⎟ = h2
⎝ ⎠
h2 + 13 h – 43 = h2
h = 4
ดังนั้น AD = 4 หนวย
BD = 4–1
= 3 หนวย
CD = 4 + 43
= 16 หนวย
3
BC = BD + CD
= 3 + 163
= 25
3 หนวย
นั่นคือ พื้นทีข่ อง ∆ ABC = 12 × 25
3 ×4
= 503 หรือ 16 23 ตารางหนวย

You might also like