You are on page 1of 40

เอกสารประกอบการสอน

วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 (ค 32201)


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรีนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

อาจารย์อลงกต วงศ์ศรียา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติก่อกาเนิดมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณ ได้แก่ยุค Mesopotamia และ ยุค Indus Valley ซึ่งผ่านมาแล้ว
มากกว่า 4,000 ปี โดยมีนักดาราศาสตร์ชื่อ Hipparchus ซึ่งเกิดในปี 190 B.C.ใน Bithymia ในปัจจุบันคือประเทศตุรกี
และเสียชีวิตในปี 120 B.C. ในกรีซ
Hipparchus เป็นผู้บุกเบิกผู้หนึ่งในการนาความรู้เรื่องตรีโกณมิติมาใช้คานวณหาตาแหน่งของดวงดาวต่างๆ
คาว่าตรีโกณมิติ ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า Trigonometry ที่เป็นภาษากรีกว่า Trigonon ซึ่งแปลว่า มุม 3 มุม
และคาว่า metro แปลว่า การวัด ในสมัยก่อนตรีโกณมิติจึงเป็นวิชาที่ว่าด้วยการวัดมุม ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง
ด้านและมุมของรูปสามเหลี่ยม ต่อมาในศตวรรษที่ 17 พร้อมๆกับการเกิดวิชาแคลคูลัส ก็มีการนาความรู้เรื่องฟังก์ชันมา
ใช้ในวิชาตรีโกณมิติ จึงเกิดเป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เกี่ยวเนื่องกับวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่งสามารถนาไปใช้ประยุต์ใน
ศาสตร์สาขาต่างๆ มากมาย

บทนา
ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนตรีโกณมิติ
กาหนดรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มี ACB
ˆ เป็นมุมฉาก ดังรูป เรียกอัตราส่วนระหว่างด้าน 2 ด้าน
ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ ว่า อัตราส่วนตรีโกณมิติ ซึ่งได้แก่
B a 1
sin A =  cosec A =
c sin A
c a b 1
cos A =  sec A =
c cos A
A C a 1
b tan A =  cot A =
b tan A

ตัวอย่าง 1 รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม C เป็นมุมฉาก และ AB ยาว 8 หน่วย AC ยาว


6 หน่วย จงหาความยาวของด้าน และขนาดของมุมที่เหลือของรูปสามเหลี่ยมนี้

ตัวอย่าง 2 กาหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC โดยมีมุม C เป็นมุมฉาก ลากเส้นจากจุด C ไปตั้งฉากกับ


AB ที่จุด D ถ้า AC และ BC ยาว 8 และ 15 เซนติเมตร ตามลาดับ
จงหาความยาวของ CD , BD และ AD

1
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

1. วงกลมหนึง่ หน่วย (Unit Circle)


บทนิยาม วงกลมหนึ่งหน่วย หมายถึง วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกาเนิด รัศมี 1 หน่วย
ซึ่งมีสมการดังนี้ x2 + y2 = 1

เนื่องจากวงกลมหนึ่งหน่วย มีรัศมียาว 1 หน่วย ทาให้ ความยาวเส้นรอบวงเป็น 2 หน่วย


1
ของความยาวของเส้นรอบวง = 1 (2)
4 4
y 
(0,1) = หน่วย

1 1
ของความยาวของเส้นรอบวง = (2)
x 2 2
(–1,0) 0 (1,0) =  หน่วย
3
ของความยาวของเส้นรอบวง = 3 (2)
4 4
(0,–1) 3
=  หน่วย
2
ให้ a เป็นความยาวส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่วัดจากจุด (1, 0) ไปยังจุดโดยกาหนดทิศทางดังนี้

ถ้า a > 0 ถ้า a < 0


เป็นการวัดไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา เป็นการวัดไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา

Y Y
P
a>0
O  (1,0) X
X
O0
(1,0)
0

a<0
P

จากความรู้เกี่ยวกับการวัดมุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียน จะได้ว่า
a a
 
r 1 ความยาวส่วนโค้ง a คือมุมที่วัด
   a เป็นแบบเรเดียนนั่นเอง....

เรียกจุด (x, y) ว่าเป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  ทีว่ ัดจากจุด (1, 0) ไปตามส่วนโค้งของวงกลมยาว 


หน่วย เขียนแทนด้วย P() = (x, y) ซึ่งเราสามารถหาจุด P() บนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งมีจุดเดียวที่จับคู่กับ 

2
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 3 จงหาจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว
y y y

(1,0) (1,0) (1,0)


x x x
O0 O0 O0

P(0) = …………. P(  ) = …………. P( 3 ) = ………….


 2
y y y

(1,0) (1,0) (1,0)


x x x
O0 O0 O0

P(2) = …………. P( 5 )= …………. P(3) = ………….


2
y y y

(1,0) (1,0) (1,0)


x x x
O0 O0 O0

P(–  )= …………. P(–)= …………. P(– 3 )= ………….


 2
y y y

(1,0) (1,0) (1,0)


x x x
O0 O0 O0

P(–2) = …………. P(– 5 )= …………. P(–3)= ………….


2

3
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

สาหรับ    และเนื่องจากความยาวของเส้นรอบวงของวงกลมหนึ่งหน่วยเท่ากับ 2 หน่วยเท่านั้น


ดังนั้น จะมีจานวนจริงอีกมากมายนับไม่ถ้วนที่จับคู่กับจุด P() ด้วยเช่นกัน จานวนจริงเหล่านี้คือจานวนที่
เพิ่มขึ้นหรือลดลงจาก  ครั้งละ 2 ซึ่งได้แก่จานวนจริงที่ อยู่ในรูป  + 2n เมื่อ n เป็นจานวนเต็ม

เพราะฉะนั้น

ถ้า  เป็นจานวนใด ๆ แล้ว P() = P( + 2n) เมื่อ n เป็นจานวนเต็ม

ตัวอย่าง 4 จงหา P(  ) , P(  ) และ P(  )


4 6 3

4
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 5 จงหา P() = (x, y) จากวงกลมหนึ่งหน่วยต่อไปนี้

Y
P( )
2 2
P( ) P( )
3 3
3
P( ) P( )
4 4

5
P( ) P( )
6 6

P() P(0) X

7 11
P( ) P( )
6 6
5
P( )
4 7
P( )
4
4
P( )
3 5
P( 3 ) P(
3
)
2

5
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

2. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

เราจะอาศัยวงกลมหนึ่งหน่วยเป็นเครื่องมือในการสร้างฟังก์ชันตรีโกณมิติ ดังนี้
ให้จุด P(x, y) เป็นจุดใดๆ บนวงกลมหนึ่งหน่วย
Y cos  sin  ซึ่งเป็นจุดปลายของส่วนของเส้นรอบวงกลมที่ยาว  หน่วย
ลากส่วนของเส้นตรง PA ตั้งฉากกับแกน X ที่จุด A
P(x, y) จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก OAP และจะพบว่า
 PA y
y sin    y
0
 (1,0) X OP 1
O xA cos  
OA x
 x
OP 1

นั่นคือ x = cos  และ y = sin 

จากลักษณะการกาหนดจุดบนเส้นรอบวงดังกล่าว จะพบว่าทุกครั้งที่กาหนดค่า  มาให้ เราสามารถ


หาจุด P(x, y) ซึ่งเป็นจุดปลายของส่วนโค้งที่วัดตามแนวเส้นรอบวงที่เริ่มต้นที่จุด (1, 0) ที่ยาว  หน่วย ได้
เพียงจุดเดียว นั่นคือ แต่ละค่า  จะทาให้เกิดค่า x เพียงค่าเดียว และค่า y เพียงค่าเดียว จากความเข้าใจ
ดังกล่าวนี้เราสามารถนาไปสร้างฟังก์ชันโคไซน์และฟังก์ชันไซน์ ได้ดังนี้

บทนิยาม ฟังก์ชันไซน์ หมายถึง ฟังก์ชัน sine : ℝ  ℝ ซึ่งนิยามว่า


sine = {(, y)  ℝℝ| P() = (x, y)}
ฟังก์ชันโคไซน์ หมายถึง ฟังก์ชัน cosine : ℝ  ℝ ซึ่งนิยามว่า
cosine = {(, x)  ℝℝ| P() = (x, y)}

จากบทนิยามอาจกล่าวได้ว่า ถ้าจุด (x, y) เป็นจุดปลายของส่วนโค้งที่วัดตามแนวเส้นรอบวงที่เริ่มต้นที่


จุด (1, 0) ที่ยาว  หน่วย แล้ว

sin  = y และ cos  = x

เนื่องจาก P() = (x, y) อยู่บนวงกลมหนึ่งหน่วย ดังนั้น –1  x  1 และ –1  y  1


นั่นคือ ถ้า   ℝ แล้ว –1  cos  1 และ –1  sin  1 ดังนั้น
Dcos = ℝ และ Rcos = [–1, 1]
Dsin = ℝ และ R sin = [–1, 1]

เนื่องจากมีจานวนจริงที่มากมายที่ไม่เท่ากัน แต่ให้จุดปลายส่วนโค้งเป็นจุดเดียวกัน ดังนั้นฟังก์ชันไซน์


และโคไซน์ จึงไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง

6
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

จากสมการวงกลมหนึ่งหน่วย x2  y2  1

ดังนั้น cos2  sin2  1 เมื่อ  เป็นจานวนจริง


นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันตรีโกณมิติชนิดอื่นๆ อีก ดังบทนิยามต่อไปนี้

บทนิยาม กาหนดให้  เป็นจานวนจริง


(1) ฟังก์ชันแทนเจนต์ (tangent) คือฟังก์ชันที่นิยามว่า
tangent  = sin  เมื่อ cos  0
cos 
(2) ฟังก์ชันโคแทนเจนต์ (cotangent) คือฟังก์ชันที่นิยามว่า
cotangent  = cos  เมื่อ sin  0
sin 
(3) ฟังก์ชันเซแคนต์ (secant) คือฟังก์ชันที่นิยามว่า
secant  = 1 เมื่อ cos  0
cos 
(4) ฟังก์ชันโคเซแคนต์ (cosecant) คือฟังก์ชันที่นิยามว่า
cosecant  = 1 เมื่อ sin  0
sin 
1
หมายเหตุ tan  = เมื่อ cot   0
cot 
1
และ cot = เมื่อ tan   0
tan 

จากนิยามข้างต้น อาจหาความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติต่าง ๆ ได้เช่น


csc2 – cot2  1 เมื่อ sin   0
และ sec2 – tan2  1 เมื่อ cos   0

7
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงที่ควรสนใจ
เมื่อกาหนดจานวนจริง  และต้องการหาค่า sin และ cos เราสามารถหาได้โดยการหา
P() = (x, y) ที่ได้แสดงแล้วในหัวข้อ 3 ค่าของ x จะเท่ากับ cos  และ y จะเท่ากับ sin 

ต่อไปนี้เป็นตารางหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เมื่อ  เป็นจานวนจริงบางจานวนที่ควรทราบ

 3   
 0    2 6 4 3
2

P()=(x,y)

sin 

cos 

tan 

cosec 

sec 

cot 

ตัวอย่าง 6 จงหาค่าของ sin  , cos  tan , cot , sec  และ cosec  เมื่อ    ดังต่อไปนี้

2 5
(1) =  (2)  = 
y 3 4
y

sin  = ……… sin  = …….…


(1,0)
x cos  = ……… (1,0)
x cos  = ………
O0 O0
tan  = ……… tan  = ………
cosec  = …… cosec  = ……
sec  = ……… sec  = ………
cot  = ……… cot  = ………

8
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
9
(3) =– (4)  = 
6 y
4
y
sin  = ……… sin  = …….…
cos  = ……… (1,0)
cos  = ………
(1,0)
O0
x tan  = ……… O0
x
tan  = ………
cosec  = …… cosec  = ……
sec  = ……… sec  = ………
cot  = ……… cot  = ………

(5)  = –3 (6)  = 


29

2 6
y y
sin  = ……… sin  = …….…
cos  = ……… cos  = ………
(1,0) (1,0)
O0
x tan  = ……… O0
x tan  = ………
cosec  = …… cosec  = ……
sec  = ……… sec  = ………
cot  = ……… cot  = ………

21
(7) =  (8)  = – 23 
4 3
y y
sin  = ……… sin  = …….…
cos  = ……… cos  = ………
(1,0) (1,0)

O0
x tan  = ……… O0
x tan  = ………
cosec  = …… cosec  = ……
sec  = ……… sec  = ………
cot  = ……… cot  = ………

9
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 7 จงหาจานวนจริง  มา 5 จานวนซึ่งทาให้แต่ละข้อต่อไปนี้เป็นจริง


(1) sin  = 0 (2) cos  = –1

2 3
(3) sin  = (4) sin  =
2 2

1 3
(5) cos  =  (6) cos  = 
2 2

ตัวอย่าง 8 จงหาค่าของ
   
(1) sin cos  tan sec
3 4 4 6

10
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

 5 9 5 7
(2) cos  sin   tan   cos   cot 
2 3 4 6 6

 1 2 1  4 
(3) 3 tan2  sin  cos ec2  cos2
6 3 3 2 4 3 6

3    
(4) sin sec   cos ec2 sec2  sin cot
2 4 6 6 4

5 13 11 11 13 5
(5) sin   cos   tan   cos e c( )  sec( )  cot( )
4 6 6 6 6 4

11
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3. ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
3.1 การหาค่าของ sin(–) และ cos(–) เมื่อ  เป็นจานวนจริงบวก
ถ้ากาหนดให้  เป็นจานวนจริงบวกแล้ว – จะเป็นจานวนจริงลบ การหาค่าของ sin(–) และ
cos(–) สามารถหาได้จาก sin และ cos ซึ่งมีความสัมพันธ์กันด้วยสูตรที่จะกล่าวต่อไปนี้
y

P() = (x, y) จากบทนิยาม เราจะได้ว่า


sin  = y และ sin(–) = –y
x
00 A(1,0) cos  = x และ cos(–) = x
P(–) = (x, –y)

ดังนั้น จึงสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง sin กับ sin(–) และ cos กับ cos(–) ได้ดังต่อไปนี้

sin(–) = –sin
cos(–) = cos

ตัวอย่าง 9 จงหาค่าของ

(1) cos(–  ) = …………………………………………………………………..


6

(2) cos(– 7 ) = …………………………………………………………………..


6

(3) cos(–  ) = …………………………………………………………………..


4

(4) cos(– 3 ) = …………………………………………………………………..


4

(5) sin(–  ) = …………………………………………………………………..


3

(6) sin(– 2 ) = …………………………………………………………………..


3

(7) sin(– 5 ) + cos(– 4 ) = …………..………………………………………


6 3
12
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3.2 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ  > 2


การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ    ที่  > 2 มีวิธีการดังนี้
ให้นา 2 ไปหาร  และสมมติให้ผลหารเท่ากับ n และเหลือเศษ  ดังนั้น
 = 2n + 
เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก หรือศูนย์ และ 0   < 2

ดังนั้น จากทฤษฎีบท 1 เราทราบแล้วว่า


P(2n + ) = P()
ดังนั้น P() = P()
จึงสรุปเป็นสูตรการคานวณหา sin  และ cos  ได้ดังนี้
sin  = sin (2n + ) = sin 
cos  = cos (2n + ) = cos 

ตัวอย่าง 10 จงหาค่าของ
(1) sin( 32 ) = …………………………………………………………………..
3

(2) cos(  25 ) = …………………………………………………………………..


6

(3) sin(  25 ) = …………………………………………………………………..


4

(4) sin(  25 ) + cos(  35 ) = …………………………………………………


4 4

= …………………………………………………

(5) cos( 65 ) – sin(  89 ) = …………………………………………………


3 8

= …………………………………………………

13
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3.3 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ <<
2

กาหนด    โดยที่ <  <  ดังนั้น P() = P(x, y) เป็นจุดที่อยู่ในควอดรันต์ที่ 2
2
y

P() = (x, y) Q(–x, y) = P( – )


x
sin  = sin( – ) = sin 
B(–1,0) 00 A(1,0)
cos  = cos( – ) = –cos 

ตัวอย่าง 11 จงหาค่าของ
(1) sin( 5 ) และ cos( 5 ) (2) sin(– 20 ) และ cos(– 20 )
6 6 3 3

 
ตัวอย่าง 12 กาหนดให้ sin( )= 0.309 และ cos( )= 0.951 จงหา
10 10
9 9
(1) sin( ) (2) cos( )
10 10

2
ตัวอย่าง 13 กาหนดให้ sin( ) = 0.407 และ cos(  ) = 0.208 จงหาค่าของ
15 15
73 104
sin(– ) + cos( )
15 15

14
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3.4 การหาค่าของ sin และ cos เมื่อ  <  < 3 


2
กาหนด    โดยที่  <  < 3  ดังนั้น P() = P(x, y) เป็นจุดที่อยู่ในควอดรันต์ที่ 3
2
y

Q(–x, –y) = P( – )


sin  = sin( + ) = –sin 
x
00 A(1,0) cos  = cos( + ) = –cos 
P() = (x, y)

ตัวอย่าง 14 จงหาค่าของ sin( 5 ) และ cos( 5 )


4 4

 
ตัวอย่าง 15 กาหนดให้ sin( )= 0.259 และ cos( )= 0.966 จงหาค่าของ
12 12
sin( 13 ) และ cos(– 13 )
12 12


ตัวอย่าง 16 กาหนดให้ sin( ) = 0.309 และ cos(  ) = 0.951 จงหาค่าของ
10 10
sin( 29 ) + 31 51
cos( ) + sin(– )
10 10 10

15
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3.5 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ 3  <  < 2


2
3
กาหนด    โดยที่  <  < 2 จะได้ว่า P() = P(x, y) อยู่ในควอดรันต์ที่ 4
y 2

Q(x, –y) = P(2 – )

0 0 A(1,0) x sin  = sin(2 – ) = –sin 


P() = (x, y) cos  = cos(2 – ) = cos 

ตัวอย่าง 17 จงหาค่าของ sin( 11 ) และ cos( 11 )


6 6

ตัวอย่าง 18 จงหาค่าของ sin(– 5 ) และ cos(– 5 )


3 3


ตัวอย่าง 19 กาหนดให้ cos( )  0.98 และ sin(  )  0.17
18 18
35 35
จงหาค่าของ cos( ) และ sin( )
18 18

16
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
จากหัวข้อ 3.3 ถึง 3.5 เราสามารถสรุปการหาค่าของ sin  และ cos  โดยที่   ได้ดังนี้


(1) หาจานวนจริง  โดยที่ 0    ซึ่งทาให้
2
 = ความยาวส่วนโค้งระหว่างจุด P() และแกน x
(2) หาค่าของ sin  และ cos 
(3) ค่าของ sin  =  sin  และ cos  =  cos  โดยเลือกเครื่องหมาย + หรือ –
ตามจานวนจริง  ที่ทาให้ P() อยู่ในควอดรันต์ที่เท่าใด
ซึ่งสรุปเครื่องหมายของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ได้ดังนี้
y
sin  > 0 sin  > 0
cos < 0 cos > 0

00
x
sin < 0 sin < 0
cos < 0 cos > 0

ค่าของ tan , cot , cosec  และ sec  จะเป็นจานวนจริงบวก หรือลบนั้น ก็ทานองเดียวกับ


ค่าของ sin , cos 

y sin > 0 csc > 0


sin > 0 csc > 0
cos < 0 sec < 0 cos > 0 sec > 0
tan < 0 cot < 0 tan > 0 cot > 0

x
00
sin < 0 csc < 0 sin < 0 csc < 0
cos < 0 sec < 0 cos > 0 sec > 0
tan > 0 cot > 0 tan < 0 cot < 0

นั่นคือ
sin (–) = – sin 
cos (–) = cos 
tan(–) = – tan
cot(–) = – cot
cosec(–) = – cosec
sec(–) = sec

17
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 20 กาหนดให้ 0    และ sin  = 0.5075 และ cos  = 0.8090 จงหาค่า
2
(1) sin(–) = ………………………………………………………………………
(2) cos(–) = ………...……………………………………………………………
(3) sin( – ) = ………………………………………………………………………
(4) sin( + ) = ……………………………………………………………………...
(5) sin( – ) = ………………………………………………………………………
(6) sin(2 – ) = ………………………………………………………………………
. (7) sin( – 2) = ……………………………………………………………………..
(8) cos( – ) = ………………………………………………………………………
(9) cos( – ) = ………………………………………………………………………
(10) cos(2 – ) = …………………...…………………………………………………
(11) cos( – 3) = ………………………………………………………………………
(12) cos( + ) = ………………………………………………………………………

ตัวอย่าง 21 จงหาค่าแต่ละข้อต่อไปนี้
(1) cos(– 13 ) + sin(– 7 ) – tan 2 ( 5 ) sec 2 ( 11 )
6 6 6 6

sin(405 )  cos 780


(2)
cos ec(390 )

18
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

4. การวัดมุม
ในการวัดขนาดของมุมจะมีลักษณะของการวัดมุม 2 แบบ ดังรูป
ด้านเริ่มต้น
ด้านสิ้นสุด

ด้านสิ้นสุด
ด้านเริ่มต้น
(1) การวัดมุมในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (2) การวัดมุมในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
ค่าของมุมที่วัดได้แสดงเป็นจานวนบวก ค่าของมุมที่วัดได้แสดงเป็นจานวนลบ

หน่วยของมุมที่เกิดจากการวัดจะมี 2 ลักษณะ คือ


(1) หน่วยของมุมเป็นองศา เป็นการวัดขนาดมุมในระบบอังกฤษ (Sexagesimal system) โดยถือว่า
มุมที่เกิดจากการหมุนส่วนของเส้นตรงรอบจุดๆหนึ่งไปครบหนึ่งรอบจะมีขนาด 360 และแบ่งหน่วยองศา
ออกเป็นหน่วยย่อยๆ คือ ลิปดา ( ) และ ฟิลิปดา ( ) โดยที่
1 = 60 และ 1 = 60
(2) หน่วยของมุมเป็นเรเดียน (Radean system) คือมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมซึ่งรองรับด้วย
ส่วนโค้งของวงกลมที่ยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมนั้น ถือว่าเป็นมุมที่มีขนาด 1 เรเดียน

r r r a
a
O  1 เรเดียน O  เรเดียน
r r r

จะเห็นได้ว่า สาหรับมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีรัศมี r หน่วย ซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลม


a
ที่ยาว a หน่วย จะมีขนาด เรเดียน และถ้าให้ขนาดของมุมดังกล่าวเป็น  เรเดียน
r
a
จะได้  = เรเดียน
r
ดังนั้นมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมรัศมี 1 หน่วย ที่ได้จากการหมุนรัศมีไปครบ 1 รอบ มีขนาด 2
เรเดียน แต่มุมดังกล่าวเมื่อวัดเป็นองศาวัดได้ 360 องศา ดังนั้น
360  = 2 เรเดียน
180  =  เรเดียน
1 =  เรเดียน  0.01745 เรเดียน
180
180
1 เรเดียน = องศา  57 18  57.2958

19
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ข้อตกลง : ในกรณีที่เขียนมุมโดยไม่มีหน่วยกากับ แสดงว่าเป็นการวัดมุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียน


ตัวอย่าง 22 จงเปลี่ยนหน่วยขนาดมุมต่อไปนี้ (1 =  เรเดียน  0.01745 เรเดียน)
180

(1) 10 o = …………………………………………………………..
(2) 612 o = …………………………………………………………..
(3) 30 o = …………………………………………………………..
(4) 45 o = …………………………………………………………..
(5) 60 o = …………………………………………………………..
(6) 180 o = …………………………………………………………..
(8) 270 o = …………………………………………………………..
(9) – 135 o = …………………………………………………………..
(10) – 300 o = …………………………………………………………..
180
ตัวอย่าง 23 จงเปลียนหน่วยขนาดมุมต่อไปนี้ (1 เรเดียน = องศา  57 18  57.2958)

(1) 1.4 เรเดียน = …………………………………………………………..


(2) 10 เรเดียน = …………………………………………………………..
7
(3) เรเดียน = …………………………………………………………..
8
9
(4) เรเดียน = …………………………………………………………..
5
11
(5) เรเดียน = …………………………………………………………..
6
5
(6) เรเดียน = …………………………………………………………..
4
5
(8) เรเดียน = …………………………………………………………..
3
(9) – 3 เรเดียน = …………………………………………………………..
4
(10) – 7  เรเดียน = …………………………………………………………..
6
r
เ เพื่อให้เห็นภาพพจน์นักเรียนสังเกตขนาดของมุม 1 เรเดียน  57
r
ที่มีขนาด 1 o และ 1 เรเดียน ว่ามีขนาดต่างกันอย่างไร 18 1o

20
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
5. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
เนื่องจากมุมในตาแหน่งมาตรฐาน(จุดกาเนิด)สามารถกาหนดได้ด้วยความยาวส่วนโค้งบนเส้นรอบวงของ
วงกลมหนึ่งหน่วยเช่นกัน ดังนั้น เราจึงสามารถหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ของมุม ได้เช่นเดียวกับการหาค่า
ของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงที่กล่าวไปแล้ว

y ให้จุดยอดของมุมอยู่ที่จุด (0, 0) และด้าน


B เริ่มต้นของมุมทาบไปตามแกน x ทางด้านบวก เราจะ
 x กล่าวว่ามุมนั้นอยู่ในตาแหน่งมาตรฐาน
A (1,0) ให้ AOB มีขนาด  เรเดียน อยู่ในตาแหน่ง
0
มาตรฐาน จะได้ AB ยาวเท่ากับ  หน่วย

นั่นคือ ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่รองรับมุม  เรเดียน จะยาว  หน่วย จะเห็นได้ว่า ไม่ว่า


จะใช้วิธีการวัดมุม หรือวัดความยาวส่วนโค้งของวงกลม ด้านสิ้นสุดของมุมตัดกั บวงกลมหนึ่งหน่วยจะเป็นจุด
เดียวกับจุดปลายของส่วนโค้ง ดังนั้นจึงสรุปว่า ไม่ว่าจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติ ในแง่ของมุม หรือในแง่
ของความยาวส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่ร องรั บมุม (จานวนจริง ) ค่า ของฟังก์ชันตรี โกณมิติของ
จานวนจริงเหล่านั้นจะมีค่าเท่ากัน นั่นคือ sin อาจหมายถึง sin ของมุม  เรเดียน หรือ  อาจเป็น
จานวนจริงก็ได้

ตัวอย่าง 24 จงหาค่าของ

 sin cos tan cot cosec sec


0
30
45
60
90
180
270
360

21
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

จากตัวอย่างจะพบว่า การหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม  ซึ่งมีหน่วยเป็นองศา สามารถใช้สูตร


ต่างๆ ที่กล่ าวไปแล้ ว ของฟังก์ชัน ตรี โ กณมิ ติของมุมที่มีห น่ว ยเป็นเรเดียน หรือของจานวนจริงได้ ซึ่งจะได้
รวบรวมให้เห็นชัดเจนอีกครั้ง ดังต่อไปนี้

ระบบเรเดียน ระบบองศา ระบบเรเดียน ระบบองศา


sin(–) = –sin sin(–) = –sin sin( + ) = –sin sin(180 + ) = –sin
cos(–) = cos cos(–) = cos cos( + ) = –cos cos(180 + ) = –cos
tan(–) = –tan tan(–) = –tan tan( + ) = tan tan(180 + ) = tan
cot(–) = –cot cot(–) = –cot cot( + ) = cot cot(180 + ) = cot
sec(–) = sec sec(–) = sec sec( + ) = –sec sec(180 + ) = –sec
csc(–) = –csc csc(–) = –csc csc( + ) = –csc csc(180 + ) = –csc

ระบบเรเดียน ระบบองศา ระบบเรเดียน ระบบองศา


sin( – ) = sin sin(180 – ) = sin sin(2 – ) = –sin sin(360 – ) = –sin
cos( – ) = –cos cos(180 – ) = –cos cos(2 – ) = cos cos(360 – ) = cos
tan( – ) = –tan tan(180 – ) = –tan tan(2 – ) = –tan tan(360 – ) = –tan
cot( – ) = –cot cot(180 – ) = –cot cot(2 – ) = –cot cot(360 – ) = –cot
sec( – ) = –sec sec(180 – ) = –sec sec(2 – ) = sec sec(360 – ) = sec
csc( – ) = csc csc(180 – ) = csc csc(2 – ) = –csc csc(360 – ) = –csc

ระบบเรเดียน ระบบองศา
ถ้า n  แล้ว ถ้า n  แล้ว
sin(2n + ) = sin sin(n360 + ) = sin
cos(2n + ) = cos cos(n360 + ) = cos
tan(2n +) = tan tan(n360 + ) = tan
cot(2n + ) = cot cot(n360 + ) = cot
sec(2n + ) = sec sec(n360 + ) = sec
csc(2n + ) = csc csc(n360 + ) = csc

22
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
7. เอกลักษณ์บางประการของตรีโกณมิติ
จากสมการวงกลมหนึ่งหน่วย x2  y2  1 และ x = cos  และ y = sin 
เมื่อ  เป็นจานวนจริง จะได้
cos2  sin2  1 ….. (1)
ถ้า cos  ≠ 0 นา cos  หารตลอด จะได้ สมการ (1) จะได้
2

1  tan2   sec2  ..... (2)


ถ้า sin  ≠ 0 นา sin2  หารตลอด จะได้ สมการ (1) จะได้
1  cot2   csc2  ..... (3)

ตัวอย่าง 25 จงแสดงว่าสมการต่อไปนี้เป็นจริงสาหรับทุกจานวนจริง 
sin  1  cos  sin 
(1)  (2)  1  cos 
1  cos  sin  csc   cot 

(3) sec2   csc2   sec2  csc2  (4) sec2   csc2   (tan   cot )2

23
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 26 จงพิจารณาว่าสมการต่อไปนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ
1 sin2 A 1 cos2 A
(1) =2
cos2 A sin2 A

sec2 A 1 cos ec2A 1


(2) =2
tan2 A cot2 A

(3) tan2A + cot2A – sec2A – cosec2A = 2

1 1 1 1
(4) =1
2
cos 18o 2
sin 18o 2
cot 18o tan2 18o

(5) ถ้า sec A + tan A = 2 แล้วค่าของ sec A – tan A = 0.5

24
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 27 จงตอบคาถามต่อไปนี้
cos
(1) จงหาค่าของ เมื่อกาหนดให้ sec  – tan  = 5
1 sin

(1 cos )(1 cos ) cos2


(2) จงหาค่าของ
sin2 (1 sin )(1 sin )

1
(3) จงหาค่าของ (csc cot )(csc cot )
(sec tan )(sec tan )

ตัวอย่าง 28 จงหาเซตคาตอบของสมการ
(1) 2 sin2 x  1  cos x เมื่อ 0  x  2

(2) tan2 x  2 tan x  3  0 เมื่อ 0  x  360

25
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
ข้อสังเกต ถ้า ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก
B
 AB = 90
sin A = a = cos B
c c
a a
tan A = = cot B
b
c
sec A = = cosec B
b A C
b

 A = 90 – B
จะได้ sin A = sin(90 – B) = cos B
tan A = tan(90 – B) = cot B
sec A = sec(90 – B) = cosec B
ฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้ง 6 ฟังก์ชันจะมีการจับคู่กันเป็นคู่ ๆ ได้แก่ sin คู่กับ cos, tan คู่กับ cot, sec คู่กับ
cosec ฟังก์ชันในแต่ละคู่เรียกว่า โคฟังก์ชัน (Co – Functions) ซึ่งกันและกัน
เช่น sin 30 = sin(90 – 60) = cos 60
tan 75 = tan(90 – 15) = cot 15
sec 55 = sec(90 – 35) = csc 35
ตัวอย่าง 29
(1) กาหนดให้ sin 20 = a, –1  a  1 จงหา cos 70

(2) จงหาค่าของ tan 1  tan 2  tan 3  …  tan 89

 sin(234)  cos 216 


(3) จงหาค่าของ   tan 36
 sin 144  cos126 

26
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

8. กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ (period function) หมายถึง ฟังก์ชันที่สามารถแบ่งแกน x
ออกเป็นช่วงย่อยๆ โดยที่ความยาวของแต่ละช่วงเท่ากัน และกราฟของฟังก์ชันในช่วงย่อยแต่ละช่วงมีลักษณะ
เหมือนกัน
ความยาวของช่วงย่อยที่สั้นที่สุด ซึ่งมีลักษณะดังกล่าว เรียกว่า คาบ (period) ของฟังก์ชัน
ฟังก์ชันที่เป็นคาบซึ่งมีค่าต่าสุด และค่าสูงสุด จะเป็นฟังก์ชันที่มีแอมพลิจูด ซึ่งมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของ
ผลต่างระหว่างค่าสูงสุด และค่าต่าสุดของฟังก์ชัน นั่นคือ
1
แอมพลิจูด = (ค่าสูงสุดของฟังก์ชัน – ค่าต่าสุดของฟังก์ชัน)
2

1. กราฟของ y = sin x 2. กราฟของ y = cos x


Y Y

1 1

X X
0 0
–2

3 –
–    3 2 –2

3 –
–    3 2
2 2 2 2 2 2 2 2
–1 –1

โดเมน เรนจ์ คาบ ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด แอมพลิจูด


y = sin x (–, ) [–1, 1] 2 1 –1 1

y = cos x (–, ) [–1, 1] 2 1 –1 1

3. กราฟของ y = tan x 4. กราฟของ y = cot x


Y Y

1 1

X X
0 0
–2

3 –
–    3 2 –2

3 –
–    3  2
2 2 2 2 2 2 2 2
–1 –1

โดเมน เรนจ์ คาบ


 3 5 7 ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด
y = tan x ℝ – {
2
,  , ,
2 2 2
,... } (–, )  และ
แอมพลิจูดไม่มี
y = cot x ℝ–{ ,  2,  3,  4,... } (–, ) 

27
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

5. กราฟของ y = sec x 6. กราฟของ y = cosec x


Y Y

1 – 1
3

2 2
– 0 
X X
–2

3 – –1  3 2 –2

3 – –1
0   2
2 2
2 2 2 2

โดเมน เรนจ์ คาบ ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด


และ
y = sec x ℝ – {  , 
3
,
5
,
7
,... } (– –1]  [1, ) 2
2 2 2 2 แอมพลิจูดไม่มี
y = cosec x ℝ–{ ,  2,  3,  4,... } (– –1]  [1, ) 2

ตัวอย่าง 30 จงวาดกราฟ y = sin x และ y = cos x ลงบนแกนเดียวกัน


และจงหาจานวนจริง x ซึ่ง 0  x  2 และทาให้ sin x  cos x

ตัวอย่าง 31 จงวาดกราฟของ y = – cos x และ


จงหา x  [0, 2] พร้อมทั้งหาจานวนจริง x ซึ่งทาให้ sin x + cos x > 0

28
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
9. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจานวนจริงหรือมุม
กาหนดให้ A และ B เป็นจานวนจริงหรือมุมใดๆ

cos(A – B) = cos A cos B + sin A sin B


cos(A + B) = cos A cos B – sin A sin B
sin(A – B) = sin A cos B – cos A sin B
sin(A + B) = sin A cos B + cos A sin B
tan A tan B
tan(A – B) =
1 tan A tan B
tan A tan B
tan(A + B) =
1 tan B tan B

ตัวอย่าง 32 จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 15o 2. cos
12

7
3. cos 75o 4. cos
12

5
5. sin 15o 6. sin
12

7
7. tan 15o 8. tan
12

29
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 33 กาหนด A และ B เป็นมุมในควอดรันต์ที่ 1 ซึง่


sin A = 4 และ cos B = 5
5 13
จงหาค่าของ
(1) cos(A – B) = ...........................................................................................
= ...........................................................................................
(2) cos(A + B) = ...........................................................................................
= ...........................................................................................
(3) sin(A – B) = ...........................................................................................
= ...........................................................................................
(4) sin(A + B) = ...........................................................................................
= ...........................................................................................
(5) tan(A – B) = ............................................................................................
= ...........................................................................................
(6) tan(A + B) = ............................................................................................
= ...........................................................................................

ตัวอย่าง 34 กาหนด A และ B เป็นมุมในควอดรันต์ที่ 1 และในควอดรันต์ที่ 2 ตามลาดับ ซึ่ง


4 12
sin A = และ cos B =
5 13
จงหาค่าของ
(1) sin(A + B) = ...........................................................................................
= ...........................................................................................
(2) tan(A + B) = ...........................................................................................
= ...........................................................................................
(3) มุม A + B เป็นมุมในควอดรันต์ที่ .....................................................................

30
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
3 1
ตัวอย่าง 35 ถ้า cos(A + B) = และ sin B = เมื่อ 0 < B < และ 0 < A <
4 4 2 2
จงหาค่าของ sin A

ตัวอย่าง 36 จงหาค่าของ tan 15o + tan 30o + tan 15o  tan 30o

ตัวอย่าง 37 จงหาค่าของ cos2 A + cos2(60o + A) + cos2(60o – A)

cos10o sin 40o


ตัวอย่าง 38 จงหาค่าของ
sin 70o

31
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
tan A tan B
ตัวอย่าง 39 ถ้า A + B = 495o, tan A  0 และ tan B  0 จงหาค่า
1 tan A 1 tan B

ตัวอย่าง 40 จงหาค่าของ cos 65o cos 20o + sin 65o sin 20o

ตัวอย่าง 41 จงหาค่าของ sin 110o cos 40o + cos 110o sin 40o

ตัวอย่าง 42 จงหาค่าของ sin ( ) cos ( ) + cos ( ) sin ( )


3 6 3 6

32
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

10. เอกลักษณ์ของโคฟังก์ชัน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้ง 6 ฟังก์ชัน จะมีการจับคู่เป็นคู่ๆ ได้แก่ ฟังก์ชันไซน์คู่กับฟังก์ชันโคไซน์ ฟังก์
แทนเจนต์คู่กับฟังก์โคแทนเจนต์ และ ฟังก์เซแคนต์คู่กับฟังก์โคเซแคนต์
ฟังก์ชันในแต่ละคู่ เรียกว่า โคฟังก์ชันของกันและกัน ซึง่ เอกลักษณ์ของโคฟังก์ชัน เป็นเอกลักษณ์ที่หา
ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากฟังก์ชันที่เป็นโคฟังก์ชัน ซึ่งมีหลายรูปแบบดังต่อไปนี้
ถ้า  เป็นจานวนจริง หรือ มุมใดๆ
 3
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนหรือมุมในรูป  หรือ 
2 2

ขนาดมุม ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ


 sin(  – ) = cos  cosec(  – ) = sec 
2 2 2

cos(  – ) = – sin  sec(  – ) = – cosec 


มุมในควอดรั
Y นต์ที่ 1 2 2

tan(  – ) = – cot  cot(  – ) = – tan 


2 2
X


2
+ sin(  + ) = cos  cosec(  + ) = sec 
2 2

มุมในควอดรั
Y นต์ที่ 2 cos(  + ) = – sin  sec(  + ) = – cosec 
2 2

tan(  + ) = – cot  cot(  + ) = – tan 


X
2 2

3
–
2 sin( 3 – ) = – cos  cosec( 3 – ) = – sec 
มุมในควอดรันต์ที่ 3 2 2

cos( 3 sec( 3
Y
– ) = – sin  – ) = – cosec 
2 2
X tan( 3 – ) = cot  cot( 3 – ) = tan 
2 2

3
+
2 sin( 3 + ) = – cos  cosec( 3 + ) = – sec 
มุมในควอดรันต์ที่ 4 2 2
Y
3 3
cos( + ) = sin  sec( + ) = cosec 
2 2
X
tan( 3 + ) = – cot  cot( 3 + ) = – tan 
2 2

33
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง 43 จงหาค่าของ
(1) sin 75o = .............................................................................................
(2) cos(–40o) = .............................................................................................
(3) tan ( ) = .............................................................................................
3
(4) cot ( ) = .............................................................................................
12
(5) sec (5 ) = .............................................................................................
4
(6) cosec(–105o) = .............................................................................................
ตัวอย่าง 44 จงเขียนค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ในรูปของโคฟังก์ชันของมุม  เมื่อ 0 <  < 90o
(1) sin 115o = .............................................................................................
(2) cos(–160) = .............................................................................................
(3) tan(–500) = .............................................................................................
ตัวอย่าง 45 กาหนดให้ sin 35o = 0.5736 และ cos 35o = 0.8192 จงหาค่าของ
(1) sin 235o = ............................................................................................
(2) cos(–235o) = ............................................................................................
(3) tan 595o = ............................................................................................
(4) cot(–595o) = ............................................................................................
ตัวอย่าง 46 จงเขียนค่าตรีโกณมิติต่อไปนี้ในรูปโคฟังก์ชันของ  เมื่อ 0 <  < หรือ 0o <  < 90o
2

7
(1) sin = ............................................................................................
4
(2) cos 320o = ............................................................................................
8
(3) tan = ............................................................................................
5
(4) cot( 350o ) = ............................................................................................
17
(5) sec( ) = ............................................................................................
10
(6) cos ec 665o = ............................................................................................

34
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

11. ฟังก์ชันตรีโกณมิตขิ องสองเท่าของจานวนจริงหรือมุม


เราสามารถใช้ความรู้เรื่อง sin(A + B), cos(A + B) และ tan(A + B) ช่วยหาค่าของ sin2A, cos2A
และ tan2A ได้ ซึ่งสรุปได้เป็นสูตรดังนี้

ถ้า A เป็นจานวนจริงหรือมุมใดๆ แล้ว


sin 2A = 2 sin A cos A
2 tan A
=
1 tan2 A
cos 2A = cos2 A – sin2 A
= 1 – 2 sin2 A
= 2 cos2 A – 1
1 tan2 A
=
1 tan2 A
2 tan A
tan 2A
1 tan2 A

ตัวอย่าง 47 จงหาค่าของแต่ละข้อต่อไปนี้
(1) sin 15o (2) cos 22.5o

(3) cos 105o (4) sin(–67.5o)

(5) tan 75o (6) tan 105o

35
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
 4
ตัวอย่าง 48 กาหนด 0 <  < และ sin  = จงหาค่า sin 2, cos 2 และ tan 2
2 5

3
ตัวอย่าง 49 กาหนดให้ tan  = และ 0 จงหาค่า sin 2, cos 2 และ tan 2
4 2

ตัวอย่าง 50 จงหาค่าของ
2 tan15o 1 tan2 75o
(1) (2)
1 tan2 15 1 tan2 75

1
ตัวอย่าง 51 กาหนดให้ tan แล้ว จงหาค่าของ sin  + cos  + tan 
2 2

36
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

1 tan2 ( )
ตัวอย่าง 52 จงหาค่าของ 4 ;
2 8
1 tan ( )
4

sin 3 cos 3
ตัวอย่าง 53 จงหาค่าของ
sin cos

o tan178o tan108o
ตัวอย่าง 54 ถ้ากาหนดให้ tan 10 = a จงหาค่าของ
1 tan178 tan108o

ตัวอย่าง 55 กาหนดให้ 0o < A < 90o และ 0o < B < 90o และ
3sin2 A + 2sin2 B = 1
3 sin 2A – 2 sin 2B = 0
จงหาค่าของ A + 2B

37
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 3 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
ตัวอย่าง 56 ถ้า A และ B เป็นจานวนจริง โดยที่ A B และ
2
cos(A – B) = a , sin 2A = b และ sin 2B = c
จงหา cos(A + B)

ตัวอย่าง 57 จงหาเซตคาตอบของสมการ 2cos2  + 2cos 2 = 1 เมื่อ 0o    360o

ตัวอย่าง 58 จงหาเซตคาตอบของสมการ cos2 + sin = 0 เมื่อ 0    2

38

You might also like