You are on page 1of 7

แผนการจัดการเรียนรูที่ 23

รายวิชา คณิตศาสตร 6 รหัสวิชา ค23102 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/65


หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ เวลา 11 คาบ
เรื่อง ความหมายของ อัตราสวน ตรีโกณมิติ เวลา 1 คาบ
กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร โรงเรียน บุญวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา
ครูผูสอน นายกษิดิ์เดช เงินโคกกรวด

1.มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวางรูป
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ ไปใช
1.2 ตัวชี้วัด
เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวนตรีโกณมิติในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง
2.สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC
เราจะเรียกดานทั้งสามในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยจะอิงกับ “มุมที่สนใจ” ดังนี้

อัตราสวนตรีโกณมิติมี 3 แบบ คือ


ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
sin(A) = หรือ sin(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานประชิด A ชิด
cos(A) = หรือ cos(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
tan(A) = หรือ tan(A) =
ความยาวดานประชิด A ชิด
3. จุดประสงคการเรียนรู
3.1 นักเรียนสามารถบอกความหมายของไซน โคไซน และแทนเจนต ของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยม
มุมฉาก (K)
3.2 นักเรียนสามารถคำนวณหาคาของอัตราสวนตรีโกณมิติของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
(P)
4. สาระการเรียนรู
4.1 ความหมายของไซน โคไซน และแทนเจนต ของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
4.2 การหาคาของอัตราสวนตรีโกณมิติของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
5.1 มีวินัย
5.2 ใฝเรียนรู
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน
6.1 ความสามารถในการคิด
7. ชิ้นงาน ภาระงาน
7.1 แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง การหาคาอัตราสวนตรีโกณมิติ
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
8.1 นักเรียนรวมกันทบทวนความรูพ ื้นฐาน เรื่อง สามเหลี่ยมมุมฉาก โดยจะใหนักเรียนไดยกตัวอยาง
สวนประกอบของสามเหลี่ยมมุมฉาก

8.2 ครูอธิบายความหมายของไซน โคไซน และแทนเจนต ของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก


โดยมีหลักการในการพิจารณาดังนี้

ความหมายของอัตราสวนตรีโกณมิติ
อัตราสวนตรีโกณมิติ คือ อัตราสวนระหวางความยาวของดานทั้งสองดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC
เราจะเรียกดานทั้งสามในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยจะอิงกับ “มุมที่สนใจ” ดังนี้
หากเราสนใจมุม A
เราจะเรียก ดาน BC วา ดานตรงขามมุม A (opposite) หรือ “ขาม A”
เราจะเรียก ดาน AC วา ดานประชิดมุม A (adjacent) หรือ “ชิด A”
เราจะเรียก ดาน AB วา ดานตรงขามมุมฉาก (hypotenuse) หรือ “ฉาก”
ซึ่งเราจะเรียนอัตราสวนตรีโกณมิติดวยกัน 3 แบบ ดังนี้
ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
sin(A) = หรือ sin(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานประชิด A ชิด
cos(A) = หรือ cos(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
tan(A) = หรือ tan(A) =
ความยาวดานประชิด A ชิด
Note : เมื่อเราพิจารณาอัตราสวนตรีโกณมิติทั้ง 3 แบบ เราจะพบความสัมพันธ คือ
sin(A)
tan(A) =
cos(A)
เราจะมีเทคนิคการจำอัตราสวนตรีโกณได ดังนี้
“ sin cos tan ขาม/ฉาก ชิด/ฉาก ขาม/ชิด ”
8.3 นักเรียนรวมกันพิจารณาวิธีการหาคาของอัตราสวนตรีโกณมิติจากตัวอยางที่ครูกำหนดให
ตัวอยางที่ 1
พิจารณา มุม A จงหา พิจารณา มุม C จงหา
4 3
1. sin (A) = 1. sin (A) =
5 5
3 4
2. cos (A) = 2. cos (A) =
5 5
4 3
3. tan (A) = 3. tan (A) =
3 4

8.4 นักเรียนรวมกันทำแบบฝกหัด เรื่อง การหาคาอัตราสวนตรีโกณมิติ ขอ 1-3 หลังจากนั้นให


นักเรียนไดออกมาเฉลยแบบฝกหัดหนาชั้นเรียน
8.5 นักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสวนประกอบของสามเหลี่ยมมุมฉาก และวิธีการหาคาอัตราสวน
ตรีโกณมิติ
9. สื่อและแหลงเรียนรู
9.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร มัธยมศึกษาปที่ 3 เลม 2 (สสวท.)
9.2 ใบความรูเรื่อง บทที่ 3 อัตราสวนตรีโกณมิติ
10. การวัดและประเมินผล
รายการวัดและประเมินผล วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน เกณฑการประเมิน
จุดประสงคการเรียนรู ตรวจงานจาก เฉลยกิจกรรมที่ 1 ทำแบบฝกหัดถูกตอง
1. นักเรียนสามารถบอกความหมาย แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง ครบทุกขอ
ของไซน โคไซน และแทนเจนต ของ การหาคาอัตราสวน การหาคาอัตราสวน
มุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (K) ตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ
2. นักเรียนสามารถคำนวณหาคาของ
อัตราสวนตรีโกณมิติของมุมแหลมจาก
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (P)

คุณลักษณะอันพึงประสงค สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม มีผลการประเมินอยู


1. มีวินัย ของผูเรียน ของผูเรียน ในเกณฑ ดี ขึ้นไป
2. ใฝเรียนรู
สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ตรวจงานจาก เฉลยกิจกรรมที่ 1 ทำแบบฝกหัดถูกตอง
1. ความสามารถในการคิด แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง ครบทุกขอ
การหาคาอัตราสวน การหาคาอัตราสวน
ตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ
แบบฝึกหัดที่ 1
พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กำหนดให แลวหาอัตราสวนของตรีโกณมิติ ตามตำแหนงของมุม
ที่กำหนดให
1. พิจารณา มุม A จงหา พิจารณา มุม B จงหา
1. sin (A) = ……………………………… 1. sin (B) = ………………………………
2. cos (A) = …………………………… 2. cos (B) = ……………………………
3. tan (A) = …………………………… 3. tan (B) = ……………………………

2. พิจารณา มุม A จงหา พิจารณา มุม C จงหา


1. sin (A) = ……………………………… 1. sin (C) = ………………………………
2. cos (A) = …………………………… 2. cos (C) = ……………………………
3. tan (A) = …………………………… 3. tan (C) = ……………………………

พิจารณา มุม A จงหา พิจารณา มุม B จงหา


3.
1. sin (A) = ……………………………… 1. sin (B) = ………………………………
2. cos (A) = …………………………… 2. cos (B) = ……………………………
3. tan (A) = …………………………… 3. tan (B) = ……………………………

4
4. กำหนดให tan(A) = จงหาคาของ cos(A) และ sin(A)
3
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
1
5. กำหนดให sin(A) = จงหาคาของ cos(A) และ tan(A)
2
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

2
6. กำหนดให cos(A) = จงหาคาของ sin(A) และ tan(A)
2
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................

(K)

You might also like