You are on page 1of 4

แผนการจัดการเรียนรูที่ 24

รายวิชา คณิตศาสตร 6 รหัสวิชา ค23102 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/65


หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ เวลา 11 คาบ
เรื่อง การคำนวณคาของอัตราสวนตรีโกณมิติฃจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เวลา 1 คาบ
กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร โรงเรียน บุญวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา
ครูผูสอน นายกษิดิ์เดช เงินโคกกรวด

1.มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวางรูป
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ ไปใช
1.2 ตัวชี้วัด
เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวนตรีโกณมิติในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง
2.สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC
เราจะเรียกดานทั้งสามในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยจะอิงกับ “มุมที่สนใจ” ดังนี้

อัตราสวนตรีโกณมิติมี 3 แบบ คือ


ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
sin(A) = หรือ sin(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานประชิด A ชิด
cos(A) = หรือ cos(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
tan(A) = หรือ tan(A) =
ความยาวดานประชิด A ชิด
3. จุดประสงคการเรียนรู
3.1 นักเรียนสามารถคำนวณหาคาของอัตราสวนตรีโกณมิติของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
(P)
4. สาระการเรียนรู
4.1 การหาคาของอัตราสวนตรีโกณมิติของมุมแหลมจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
5.1 มีวินัย
5.2 ใฝเรียนรู
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน
6.1 ความสามารถในการคิด
7. ชิ้นงาน ภาระงาน
7.1 แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง การหาคาอัตราสวนตรีโกณมิติ
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
8.1 นักเรียนรวมกันทบททวนคงามรูเดิมเรื่องความหมายขอฃอัตราสวยตรีโกณมิติ โดยการใชคำถาม
ดังตอไปนี้
1. จากรูปสามเหลี่ยมที่กำหนดใหดานแตละดานเราจะมีชื่อเรียกวาอยางไร
พิจารณารูปสามเหลี่ยม ABC
เราจะเรียกดานทั้งสามในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยจะอิงกับ “มุมที่สนใจ” ดังนี้

2. อัตราสวนตรีโกณมิติแตละแบบมีสูตรวาอยางไร
อัตราสวนตรีโกณมิติมี 3 แบบ คือ
ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
sin(A) = หรือ sin(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานประชิด A ชิด
cos(A) = หรือ cos(A) =
ความยาวดานตรงขามมุมฉาก ฉาก
ความยาวดานตรงขามมุม A ขาม
tan(A) = หรือ tan(A) =
ความยาวดานประชิด A ชิด
หรือมีเทคนิคการจำอัตราสวนตรีโกณได ดังนี้
“ sin cos tan ขาม/ฉาก ชิด/ฉาก ขาม/ชิด ”
8.2 นักเรียนรวมกันพิจารณาโจทย ที่กำหนดใหแลวตอบคำถาม
4
ตัวอยาง กำหนดให tan(A) = จงหาคาของ cos(A) และ sin(A)
3
วิธีทำ จากอัตราสวนที่กำหนดใหเราสามารถเขียนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่สอดคลองไดดังนี้

3
เราหาความยาวดาน BA โดยใชทฤษฎีบท พีทาโกรัส ดังนี้
BA2 = 42 + 32
BA2 = 16 + 9
BA2 = 25
BA = 5
ดังนั้น จะไดความยาวดานรูปสามเหลี่ยมดังนี้

4 5

จึงทำใหเราไดอัตราสวนตรีโกณมิติดังนี้
3 4
cos(A) = และ sin(A) =
5 5
8.3 นักเรียนรวมกันทำแบบฝกหัด เรื่อง การหาคาอัตราสวนตรีโกณมิติ ขอ 5-6 หลังจากนั้นให
นักเรียนไดออกมาเฉลยแบบฝกหัดหนาชั้นเรียน
8.4 นักเรียนสรุปองคความรูที่ไดรับโดยใช Cornell note และใหตัวแทนหองออกมาพูดนำเสนอหนา
ชั้นเรียน
9. สื่อและแหลงเรียนรู
9.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร มัธยมศึกษาปที่ 3 เลม 2 (สสวท.)
9.2 ใบความรูเรื่อง บทที่ 3 อัตราสวนตรีโกณมิติ
10. การวัดและประเมินผล
รายการวัดและประเมินผล วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน เกณฑการประเมิน
จุดประสงคการเรียนรู ตรวจงานจาก เฉลยกิจกรรมที่ 1 ทำแบบฝกหัดถูกตอง
3.1 นักเรียนสามารถคำนวณหาคาของ แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง แบบฝกหัดที่ 1 เรื่อง ครบทุกขอ
อัตราสวนตรีโกณมิติของมุมแหลมจาก การหาคาอัตราสวน การหาคาอัตราสวน
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (P) ตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติ

คุณลักษณะอันพึงประสงค สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม มีผลการประเมินอยู


1. มีวินัย ของผูเรียน ของผูเรียน ในเกณฑ ดี ขึ้นไป
2. ใฝเรียนรู
สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ตรวจแบบฝกหัดที่ 1 เฉลยแบบฝกหัดที่ 1 ทำแบบฝกหัดถูกตอง
1. ความสามารถในการคิด เรื่อง การหาคา เรื่อง การหาคา ครบทุกขอ
อัตราสวนตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ

You might also like