You are on page 1of 16

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน รหัสวิชา ค 22102 ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทฤษฏีบทพีทาโกรัส
เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ทฤษฏีบทพีทาโกรัส
เวลา 1 ชั่วโมง
___________________________________________________
_____________________

1. สาระ/ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัด
สาระที่ 3 : เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 : ใช้การนึกภาพ (Visualization) ใช้เหตุผล
เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทาง
เรขาคณิต ( geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชีว
้ ัด ค 3.2 ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ
ในการให้เหตุผลและ
แก้ปัญหา
สาระที่ 6 : ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้
เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และ
การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อม
โยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

2. สาระสำคัญ
ถ้า ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมี c เป็ นมุมฉาก โดยที่ c
แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก a และ b แทนความยาวของ
ด้านประกอบมุมฉาก จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทัง้
สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ดังนี ้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้
นักเรียนสามารถเขียนความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตาม
ทฤษฎีพีทาโกรัสได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุป
ผลได้อย่างเหมาะสม
3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนมีความรอบคอบและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบ
หมาย

4. สาระการเรียนรู้
ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี ABC เป็ นมุมฉาก มี BC =3
หน่วย, AD =4 หน่วย และ
AD =5 หน่วย สร้างรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ABIH รูปสามเหลี่ยม
BCED และรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ACGF บนด้าน AB ด้าน BC และ
ด้าน AC ตามลำดับ ดังรูป
I

B D

A
C E

จะได้ พื้นที่ขFองรูปสามเหลี่ยมจั ตุรัส ABIH เท่ากับ = 25


2
5
G
ตารางหน่วย
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส BCED เท่ากับ = 9
2
3

ตารางหน่วย
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ACGF เท่ากับ = 16
2
4

ตารางหน่วย
ซึง่ 25 = 9 + 16
ดังนัน
้ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ABIH เท่ากับ ผลบวก
ของพื้นที่ของ
รูปสามเหลี่ยม BCED และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส
ACGF

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 ขัน
้ นำ
1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความยาวของด้าน
ทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
5.2 ขัน
้ สอน
2. ครูเล่าประวัติของพีทาโกรัสและทบทวนเกี่ยวกับทฤษฎีบทพี
ทาโกรัสให้นักเรียนฟั ง และให้นก
ั เรียนศึกษาเพิ่มเติมจากใบ
ความรู้เรื่อง ประวัติของพีทาโกรัส

3. ครูอธิบายตัวอย่าง ใน ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี ABC


เป็ นมุมฉาก มี BC =3 หน่วย, AD =4 หน่วย และ AD =5
หน่วย สร้างรูปสามเหลีI่ยมจัตุรัส ABIH รูปสามเหลี่ยม BCED
และรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ACGF บนด้าน AB ด้าน BC และด้าน
AC ตามลำดับ ดังรูป
H

B D

A
C E
2
จะได้ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ABIH เท่ากับ 5 =
25 ตารางหน่วย
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส BCED เท่ากับ 32 = 9
ตารางหน่วย
2
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ACGF เท่ากับ 4 =
16 ตารางหน่วย
ซึง่ 25 = 9 + 16
ดังนัน
้ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส ABIH เท่ากับ ผล
บวกของพื้นที่ของ
รูปสามเหลี่ยม BCED และพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
จัตุรัส ACGF
5.3 ขัน
้ สรุป
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ใดๆพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก
เท่ากับผลบวกของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัสบนด้าน
ประกอบมุมฉาก

5.4 ขัน
้ ฝึ กทักษะ/ ภาระงาน / ชิน
้ งาน
5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “หมุนแล้วเห็น” ในหนังสือเรียน
หน้า 10
6. ในขณะที่นักเรียนทำครูอธิบายโจทย์คำถาม ครูจะเป็ นผู้คอย
ชีแ
้ นะแนวทางให้คำปรึกษาพร้อมทัง้ สังเกตพฤติกรรมการเรียน
รู้ของนักเรียนและประเมินผลด้านความรู้ ด้านทักษะ /
กระบวนการ และด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของนักเรียน
เป็ นรายบุคคล

6. สื่อ/อุปกรณ์/เครื่องมือ/แหล่งเรียนรู้
6.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2
6.2 กิจกรรม “ หมุนแล้วเห็น ”
7. การวัดผลและประเมินผลผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


เรียนรู้ วัด
1. ด้านความรู้ ตรวจการ ตรวจการ นักเรียนทำ
นักเรียน ทำงาน ทำงาน กิจกรรม หมุน
สามารถเขียนความ กิจกรรม กิจกรรม แล้วเห็นได้ถก

สัมพันธ์ของพื้นที่ หมุนแล้ว หมุนแล้ว ต้องระดับ
ของรูปสีเ่ หลี่ยม เห็น เห็น คุณภาพร้อยละ
จัตุรัสบนด้านทัง้ สาม 60 ขึน
้ ไป
ของรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากตามทฤษฎีพี
ทาโกรัสได้
2. ด้านทักษะ ตรวจการ ตรวจการ นักเรียนทำ
กระบวนการ ทำงาน ทำงาน กิจกรรม หมุน
นักเรียนสามารถ กิจกรรม กิจกรรม แล้วเห็นได้ถก

ให้เหตุผลประกอบ หมุนแล้ว หมุนแล้ว ต้องระดับ
การตัดสินใจ และ เห็น เห็น คุณภาพร้อยละ
สรุปผลได้อย่าง 60 ขึน
้ ไป
เหมาะสม
3. ด้านคุณลักษณะ สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม บันทึกการ ขึน
้ ไป
นักเรียนมีความ ระหว่าง สังเกต
รอบคอบและรับผิด เรียน พฤติกรรม
ชอบต่องานที่ได้รับมอบ
ระหว่าง
หมาย
เรียน

เกณฑ์การประเมินแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์/ใบงานและแบบ
ทดสอบ
ประเภทของแบบฝึ ก
คะแนน
ทักษะ/ใบงานและ เงื่อนไข
: ข้อ
แบบทดสอบ
เลือกตอบมี ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
4 ตัวเลือก ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0
ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
จับคู่
ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0
ปรนัย
ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
กาถูก-ผิด
ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0
ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
เติมคำ
ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0

เกณฑ์การประเมินผลด้านความรู้

คะแนน / ความ ผลการทำแบบฝึ กหัด/ใบงานที่ปรากฏให้เห็น


หมาย
4 : ดีมาก วิธีการชัดเจน สมบูรณ์ ครบถ้วน และคำตอบถูก
ต้อง
3 : ดี วิธีการยังไม่ชัดเจน แต่อยู่ในแนวทางที่ถูกต้อง
และคำตอบถูกต้อง
2 : พอใช้ วิธีการยังไม่ชัดเจน และคำตอบถูกต้อง หรือวิธี
การชัดเจน แต่คำตอบไม่ถูกต้อง
1 : ควรแก้ไข วิธีการยังไม่ชัดเจน และคำตอบไม่ถูกต้อง
เกณฑ์การประเมินผลด้านทักษะกระบวนการ

คะแนน / ความ ความสามารถในการตัดสินใจที่ปรากฏให้เห็น


หมาย
3 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
อย่างสมเหตุสมผล
2 : ดี มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิด
ประกอบการตัดสินใจ
1 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการ
ตัดสินใจ
เกณฑ์การประเมินผลคุณลักษณะด้านมีวินัยและความรับผิดชอบ

คะแนน / ความ คุณลักษณะที่ปรากฏให้เห็น


หมาย
3 : ดีมาก ส่งงานก่อนหรือตรงกำหนดเวลานัดหมายรับผิด
ชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเองจน
เป็ นนิสัย
2 : ดี ส่งงานช้ากว่ากำหนด แต่ได้มีการติดต่อชีแ
้ จงครูผู้
สอน มีเหตุผลที่รับฟั งได้รับผิดชอบในงานที่ได้รับ
มอบหมายและปฏิบัติเองจนเป็ นนิสัย
1 : พอใช้ ส่งงานช้ากว่ากำหนดปฏิบัติงานโดยอาศัยการ
ชีแ
้ นะ แนะนำ ตักเตือนหรือให้กำลังใจ
เกณฑ์การตัดสินการผ่านการประเมิน

- ได้คะแนนตัง้ แต่ 2 คะแนนขึน


้ ไป
- ได้ระดับคุณภาพ ดี ขึน
้ ไป

เกณฑ์การประเมิน ( Rubrics) การประเมินแบบฝึ กหัด/ใบงาน

รายการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน
4 3 2 1
ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ
ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/
ใบงานได้ ใบงานได้ ใบงานได้ ใบงานได้
ด้านความ
คะแนนร้อย คะแนนร้อย คะแนนร้อย คะแนนต่ำ
รู้(K)
ละ 80 ขึน
้ ละ 70 ขึน
้ ไป ละ 60 ขึน
้ กว่าร้อยละ
ไป ไป 60
ลงไป

3 2 1
ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ
ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/
ด้านทักษะ ใบงานได้ ใบงานได้ ใบงานได้
กระบวนการ คะแนนร้อย คะแนนร้อย คะแนนต่ำ
(P) ละ 70 ขึน
้ ไป ละ 60 ขึน
้ กว่าร้อยละ
ไป 60
ลงไป

ด้าน 3 2 1
คุณลักษณะ ส่งงานก่อน ส่งงานช้า ส่งงานช้า
อันพึง หรือตรง กว่ากำหนด กว่ากำหนด
ประสงค์(A) กำหนดเวลา แต่ได้มีการ ปฏิบัติงาน
ความรับผิด นัดหมายรับ ติดต่อชีแ
้ จง โดยอาศัย
ชอบ ผิดชอบ ครูผู้สอน มี การชีแ
้ นะ
ในงานที่ได้ เหตุผลที่รับ แนะนำ ตัก
รับมอบ ฟั งได้รับผิด เตือนหรือให้
หมายและ ชอบในงาน กำลังใจ
ปฏิบัติเองจน ที่ได้รับมอบ
เป็ นนิสัย หมายและ
ปฏิบัติเอง
จนเป็ นนิสัย

ใบความรู้
เรื่อง ประวัติของพีทาโกรัส

พีทาโกรัส เป็ นนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ชาวไอโอเนียน


เป็ นที่ร้จ
ู ักในนามเจ้าของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และได้ช่ อ
ื ว่าเป็ น “บิดา
แห่งตัวเลข” พีทาโกรัสไม่เพียงแต่มีความสำคัญต่อคณิตศาสตร์ เขายัง
ได้สร้างสรรค์ความคิดหลายอย่างให้กับปรัชญาและศาสนา ในปลาย
ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล ถึงทุกวันนี ้ เราไม่สามารถที่จะทราบถึง
ชีวประวัติของพีทาโกรัสที่แน่นอนได้ เพราะตำนานและเรื่องเล่าต่างๆ
นานาปิ ดบังข้อเท็จจริงของชีวิตพีทาโกรัสมากกว่าปราชญ์ใดๆ

ชีวประวัติ

พีทาโกรัสเกิดบนเกาะซามอส นอกชายฝั่ งเอเชียไมเนอร์ (ปั จจุบัน


ประเทศตุรกี) และเป็ นบุตรชายของพีทาอิสและเนซาร์คัส พีทาโกรัสได้
เดินทางจากบ้านเกิดเมืองนอนของเขาไปที่โครโตเน (Crotone) ทางใต้
ของอิตาลี เมื่อเขาเป็ นชายหนุ่ม เพื่อที่จะหลีกหนีจากรัฐบาลทรราชของ
โพลีเครติส และผู้เชี่ยวชาญหลายคนคาดคะเนว่าก่อนที่พีทาโกรัสถึง
เมืองโครโตนนัน
้ เขาได้เยี่ยมเยียนนักปราชญ์ของอียิปต์และบาบิลอน
ก่อน เมื่อเขาได้ย้ายถิ่นฐานจากซามอสมายังโครโตเน พีทาโกรัสก็ได้ก่อ
ตัง้ สมาคมศาสนาลับ ที่คล้ายคลึงกับลัทธิออร์เฟอัสที่มีอยู่ก่อนหน้านัน

ณ เมืองโครโตเน พีทาโกรัสได้ทำการปฏิรูปวัตนธรรมของชาวโคร
โทน โดยแนะให้ชาวเมืองทำตามจริยธรรมและสร้างกลุ่มสาวกของพีทา
โกรัส จากนัน
้ พีทาโกรัสก็ได้เปิ ดโรงเรียนของพีทาโกรัส โดยเปิ ดรับทัง้
ชายและหญิง แต่ผู้ที่จะเข้าร่วมจำเป็ นต้องสละทรัพย์สิน กินอยู่แบบ
มังสวิรัตที่โรงเรียน และเรียกตัวเองว่า มาเทมาทิคอย (Mathematikoi)
คนอื่นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงก็สามารถเข้าเรียนได้ด้วย แต่จะไม่จำเป็ น
ต้องสละทรัพย์สิน หรือใช้ชีวิตแบบมังสวิรัติ
พวกพีทาโกเรียน

สาวกของพีทาโกรัสได้ช่ อ
ื ว่า พวก “พีทาโกเรียน” ผู้ที่เป็ นนัก
คณิตศาสตร์และนักปราชญ์ที่บุกเบิกเรขาคณิต พวกพีทาโกเรียนยังมี
ความเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิด และความเชื่อว่าตัวเลขเป็ นธรรมชาติ
ที่แท้จริงของทุกสิ่ง พวกเขาปฏิบัติพิธีกรรมล้างมลทิน ปฏิบัติตามกฎ
การกินอาหาร และกฎอื่นๆ ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าการปฏิบัติเช่นนีจ
้ ะทำให้
พวกเขาเป็ นอิสระจากวงจรการเกิดใหม่ พวกพีทาโกรัสยังเชื่อเรื่องความ
เสมอภาคของชายและหญิง พีทาโกรัสเองริเริ่มโรงเรียนของเขาพร้อม
ด้วยภรรยา ทีอาโน (Theano) และหลังจากที่พีทาโกรัสได้เสียชีวิตลง ที
อาโนและลูกได้สอนต่อที่โรงเรียนของพีทาโกรัส พวกพีทาโกเรียนปฏิบัติ
ต่อทาสอย่างดี และสัตว์มีฐานะเป็ นสิ่งมีชีวิตที่มีวิญญาณ พวกพีทาโก
เรียนยังเชื่ออีกว่าการชำระล้างวิญญาณที่สูงที่สุดคือ “ปรัชญา” หลาย
สิ่งที่พวกพีทาโกเรียนปฏิบัตินน
ั ้ เหมือนกันกับสิ่งทีพ
่ วกเจนในอินเดีย
ปฏิบัติ ทำให้ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านสันนิษฐานว่า พีทาโกรัสเองเคยได้
ศึกษาอยู่กับพวกเจนในอินเดีย

You might also like