You are on page 1of 10

แผนการจัดการเรียนรูท ้ ี่ 1

หน่ วยการเรียนรูท ้ ี่ 4 เส้นขนาน เรือ


่ ง
เส้นขนานและมุมภายใน
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 (ค22102)
กลุม ่ สาระการเรียนรู ้ คณิตศาสตร์
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2560 เวลา 2 คาบ
ผูส
้ อน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู ้
ค 3.2 ใช้ ก ารนึ ก ภาพ (visualization) ใช้ เ ห ตุ ผ ลเกี่ ย วกับ ปริ ภู มิ
(spatial reasoning) แ ล ะ ใช้ แ บ บ จ าล อ งท าง เร ข าค ณิ ต ( geometric
model) ในการแก้ปญ ั หา
ค 6.1 มี ค วามสามารถในการแก้ ปั ญ หา การให้ เหตุ ผ ล การสื่ อ สาร
ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ
ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ค ว า ม รู ้ ต่ า ง ๆ ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
และเชือ ่ มโยงคณิตศาสตร์กบ ั ศาสตร์อืน
่ ๆ และ มีความคิดริเริม
่ สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั
ค 3. 2 ม . 2 / 1
ใช้สมบัตเิ กีย่ วกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลีย่ มและสมบัตข ิ องเส้น
ขนานในการให้เหตุผลและการแก้ปญ ั หา
ค 6.1 ม.2/1 ใช้วธิ ีการทีห
่ ลากหลายในการแก้ปญั หา
ค 6.1 ม.2/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปได้อย่างเหมาะสม
ค 6.1 ม.2/4 ใช้ ภ าษาและสัญ ลัก ษณ์ ท างคณิ ต ศาสตร์ ใ นการสื่อ สาร
การสือ ่ ความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน

จุดประสงค์การเรียนรู ้
1 .
นักเรียนสามารถบอกได้วา่ มุมคูใ่ ดเป็ นมุมภายในทีอ ่ ยูบ
่ นข้างเดียวกันของเส้น
่ กาหนดให้เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคูห
ตัด เมือ ่ นึ่ง
2. นัก เรี ย นสามารถบอกได้ว่า เมื่อ เส้น ตรงเส้น หนึ่ งตัด เส้น ตรงคู่ห นึ่ ง
เ ส้ น ต ร ง คู่ นั้ น ข น า น กั น ก็ ต่ อ เ มื่ อ
ขนาดของขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
180 องศา และนาสมบัตน ิ ี้ไปใช้ได้
สาระสาคัญ
บทนิยามของเส้นขนาน
เส้ น ตรงสองเส้ น ที่ อ ยู่ บ นระนาบเดี ย วกัน ขนานกัน ก็ ต่ อ เมื่ อ
เส้นตรงทัง้ สองเส้นนัน ้ ไม่ตดิ กัน
ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน
เ ส้ น ต ร ง ส อ ง เ ส้ น ข น า น กั น ก็ ต่ อ เ มื่ อ
ระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นนัน ้ เท่ากัน
มุมภายในทีอ ่ ยูบ
่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด
B AB เรียกว่า เส้นตัด AB
ux เ รี ย ก x แ ล ะ yว่ า
มุมภายในทีอ ่ ยูบ่ vนข้
y างเดียวกันของเส้นตัด AB
A เ รี ย ก u แ ล ะ vว่ า
มุมภายในทีอ ่ ยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด AB

เมื่ อ เส้ น ตรงเส้ น หนึ่ ง ตัด เส้ น ตรงคู่ ห นึ่ ง เส้ น ตรงคู่ นี้ ข นานกัน
ก็ต่อเมื่อ ขนาดของมุม ภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
180 องศา

สาระการเรียนรู ้
ด้านความรู ้
เส้นขนานและมุมภายใน
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแก้ปญ ั หา
2. การให้เหตุผล
3. การสือ ่ สาร การสือ
่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู ้
2. มีวน ิ ยั
3. มุง่ มั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสือ ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญ ั หา

กิจกรรมการเรียนรู ้
กิจกรรมนาเข้าสูบ ่ ทเรียน
1. ครูสนทนาถึงสิ่งของที่มีลกั ษณะเป็ นเส้นขนาน เช่น รางรถไฟ
ร า ว บั น ไ ด รั้ ว เ ส้ น บ ร ร ทั ด ใ น ส มุ ด เ ป็ น ต้ น
และให้นกั เรียนช่วยกันยกตัวอย่างเพิม ่ เติม
2. ครูกล่าวถึงบทนิยามของการขนานกันของเส้นตรง ว่าเป็ นดังนี้
“เส้น ตรงสองเส้น ที่อ ยู่บ นระนาบเดี ย วกัน ขนานกัน ก็ ต่อ เมื่อ
เส้นตรงทัง้ สองเส้นนัน
้ ไม่ตดั กัน”
3. ครู ก ล่ า วว่ า ก ารตรวจสอบ ว่ า เส้ น ตรงคู่ ใ ดขน าน กัน นั้ น
น อ ก จ า ก จ ะ ใ ช้ บ ท นิ ย า ม ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล้ ว
ยังสามารถใช้การพิจารณาระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้น ดังนี้
“เ ส้ น ต ร ง ส อ ง เ ส้ น ข น า น กั น ก็ ต่ อ เ มื่ อ
ระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นนัน ้ เท่ากัน”
4 .
ครูทบทวนการเขียนสัญลักษณ์ ทใี่ ช้แทนเส้นตรงสองเส้นขนานกัน ดังนี้
A B เมือ่ AB และ CD ขนานกัน กล่าวได้ว่า AB
ข น า น กั บ CD
หรือ CD ขนานกับ AB
C D เขี ย นแทนด้วยสัญ ลัก ษณ์ AB // CD หรื อ
CD // AB

5 . ค รู ใ ห้ นั ก เรี ย น ต อ บ ค า ถ า ม เส้ น ต ร ง คู่ ใ ด ข น า น กั น


ในหนังสือเรียน หน้า 122 โดยให้นก ั เรียนพิจารณาว่า เส้นตรงคู่ใดขนานกัน
พร้อมให้เหตุผลประกอบ
6. ครูก ล่าวว่าการตรวจสอบว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกันหรือไม่น้น ั
ยั ง มี อี ก วิ ธี ก า ร อื่ น ที่ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้
โดยการพิจารณาขนาดของมุมภายในทีอ ่ ยูบ
่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
7. ครูอธิบายถึงมุมภายในทีอ ่ ยูบ
่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด ดังนี้
จากรูป AB เรียกว่า เส้นตัด AB
B เ รี ย ก x แ ล ะ yว่ า
มุมภายในทีอ ่ uยูบ
่ xนข้างเดียวกันของเส้นตัด AB
เ รี ย ก u แ ล ะ vว่ า
v
มุมภายในทีอ y
่ ยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด AB
A ในการเขียนรูปเส้นตัด AB อาจใช้ AB หรือ AB
แทน AB ก็ได้
8. ค รู ใ ห้ นั ก เ รี ย น ต อ บ ค า ถ า ม
มุ ม ภายในที่ อ ยู่ บ นข้ า งเดี ย วกัน ของเส้ น ตัด ในหนั ง สื อ เรี ย นหน้ า 123
โดยให้สารวจว่ามุมคูใ่ ดเป็ นมุมภายในทีอ ่ ยูบ
่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด
9 . ค รู ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท า กิ จ ก ร ร ม
ผ ล บ ว ก ข อ งข น าด ข อ งมุ ม ภ า ย ใน ที่ อ ยู่ บ น ข้ างเดี ย ว กั น ข อ ง เส้ น ตั ด
ในหนังสือเรียนหน้า 124 โดยแบ่งเป็ น 2 ตอน ดังนี้
1 )
ให้นกั เรียนสารวจว่าขนาดของมุมภายในแต่ละคูท ่ ีอ่ ยูบ ่ นข้างเดียวกันของเส้นตั
ด รวมกันเท่ากับ 180 องศาหรือไม่ เมื่อกาหนดให้ AB และ CD ไม่ขนานกัน
และมี XYเป็ นเส้นตัด
2 )
ให้นกั เรียนสารวจว่าขนาดของมุมภายในแต่ละคูท ่ ีอ่ ยูบ ่ นข้างเดียวกันของเส้นตั
ด รวมกัน เท่ า กับ 180 องศาหรื อ ไม่ เมื่ อ ก าหนดให้ AB และ CD ขนานกัน
และมี XYเป็ นเส้นตัด
1 0 .
ครูให้นกั เรียนหาข้อสรุปเกีย่ วกับผลบวกของขนาดของมุมภายในทีอ ่ ยูบ
่ นข้างเ
ดียวกันของเส้นตัดกับการขนานกันของเส้นตรงคูน ่ น ้ ั ซึง่ จะต้องได้ผลสรุปว่า
“เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่ งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ ง เส้นตรงคู่นี้ขนานกัน
ก็ต่อเมื่อ ขนาดของมุม ภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
180 องศา”
11. ครูยกตัวอย่างการนาข้อสรุปข้างต้นมาใช้ ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1
จงพิจารณาว่าเส้นตรงแต่ละคูต ่ อ
่ ไปนี้ขนานกันหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) 2) 12
75°
10 3°
57

°

3)
91
°

วิธีทา 1 ) ข น า น กั น เ พ ร า ะ
ข น า ด ข อ ง มุ ม ภ า ย ใ น ที่ อ ยู่ บ น ข้ า ง เดี ย ว กั น ข อ ง เส้ น ตั ด ร ว ม กั น
เท่ากับ 75 + 105 = 180 องศา
2 ) ข น า น กั น เ พ ร า ะ
ข น า ด ข อ ง มุ ม ภ า ย ใ น ที่ อ ยู่ บ น ข้ า ง เดี ย ว กั น ข อ ง เส้ น ตั ด ร ว ม กั น
เท่ากับ 123 + 57 = 180 องศา
3 ) ไ ม่ ข น า น กั น เ พ ร า ะ
ข น า ด ข อ ง มุ ม ภ า ย ใ น ที่ อ ยู่ บ น ข้ า ง เดี ย ว กั น ข อ ง เส้ น ตั ด ร ว ม กั น
เท่า กับ 91 + 90 = 181 องศา ซึ่ ง ไม่ เท่ า กับ 180
องศา
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดเส้นตรง a และ b ขนานกันและมีเส้นตรง c
เ ป็ น เ ส้ น ตั ด จ ง ห า ค่ า ข อ ง
ตัวแปรในแต่ละข้cอ a
b
1) 2)
x a c
x
13
66 b 1°
°

3) c
a

(x+1
5)° b
77 x = 114
วิธีทา 1) x + 66 = 180 จะได้
°
2) x + 131 = 180 จะได้ x = 49
3) (x+15) + 77 = 180 จะได้ x = 88
กิจกรรมรวบยอด
12. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝึ กหัดที่ 1
13. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึ กหัดที่ 1

สือ
่ การเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู ้
1. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 2
2. หนังสื อ เรี ย นวิช าคณิ ต ศาสตร์ ช ้น
ั มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 2 ภาคเรี ย นที่ 2
สานักพิมพ์ภูมบ ิ ณ
ั ฑิต
3. หนังสื อ เรี ย นวิช าคณิ ต ศาสตร์ ช ้นั มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 2 ภาคเรี ย นที่ 2
สานักพิมพ์แม็ค
การวัดและการประเมิน
เกณฑ์การประเมิ
เป้ าหมาย หลักฐาน เครือ
่ งมือวัด

สาระสาคัญ - แบบฝึ กหัดที่ 1 - แบบฝึ กหัดที่ 1 -
- ตรวจสอบความถู
เส้นขนานและมุมภา กต้อง
ยใน และความเข้าใจ
ตัวชี้วดั - แบบฝึ กหัดที่ 1 - แบบฝึ กหัดที่ 1 -
- ค 3.2 ม.2/1 ตรวจสอบความถู
- ค 6.1 ม.2/1 กต้อง
- ค 6.1 ม.2/3 และความเข้าใจ
- ค 6.1 ม.2/4
คุณลักษณะอันพึงป - การเข้าเรียน - เข้าเรียน -
ระสงค์ - - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่ เรียนรู ้ การทางานในชัน ้ มีสว่ นร่วมในกิจ -
- วินยั เรียน กรรม เมือ
่ ครูถามนักเรีย
- - การเรียน นมี
มุง่ มั่นในการทางาน การบ้านทีไ่ ด้รบ

มอบหมาย ความกระตือรือร้
นและ

ความสนใจในกา
รตอบ
-
รับผิดชอบงานทีไ่
ด้รบ

มอบหมาย
สมรรถนะ - แบบฝึ กหัดที่ 1 - แบบฝึ กหัดที่ 1 -
- ตรวจสอบความถู
ความสามารถในกา กต้อง
ร และความเข้าใจ
สือ
่ สาร
-
ความสามารถในกา
รคิด
-
ความสามารถในกา
รแก้
ปัญหา

ลงชือ
่ ..............................................................
(อาจารย์ชูฉกาจ
ชูเลิศ)
อาจารย์ผส
ู้ อน

บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.............................................
.....................................................................................................
.........................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.............................................
.....................................................................................................
.........................................................................
ข้อเสนอแนะ
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.............................................

ลงชือ
่ ...............................................................
(อาจารย์ชูฉกาจ
ชูเลิศ)
อาจารย์ผส
ู้ อน
ความเห็นของหัวหน้ากลุม ่ สาระการเรียนรู ้
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.............................................

ลงชือ
่ ...............................................................
(อาจารย์น้าผึง้
ชูเลิศ)

หัวหน้ากลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์
ความเห็นของรองผูอ ้ านวยการฝ่ ายวิชาการ
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.............................................
ลงชือ
่ ...............................................................
แบบฝึ กหัดที่ 1 (อาจารย์ ดร.สุดารัตน์
ศรีมา)

รองผูอ
้ านวยการฝ่ ายวิชาการ

ชือ
่ ........................................................................ชัน ้ .....................
...เลขที.่ .....................วันที.่ .............................
..............................

คาสั่ง : ตอนที่ 1 กาหนดเส้นตรง a และ b ขนานกันและมีเส้นตรง c


เป็ นเส้นตัด จงหาค่า x
1. 2.
c a b
a
11
x 13 c
x 5° 0°
b

x = ………………………………....... x = …………………………………....
3. a 4. a b
b c

x (2x) 48
c
° (2x+1 °
0)°

x = ………………………………....... x = ……………………………….......

ตอนที่ 2 จากรูป กาหนดให้รูปสีเ่ หลีย่ ม ABCD เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มคางหมู มีดา้ น
AB ขนานกันด้าน CD
จงหาขนาดของ ADCและขนาดของ BCD
D C

53 71
ADC =
………………………………...............
BCD =
………………………………...............

You might also like