You are on page 1of 29

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน


รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 (ค22102) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เวลา 2 คาบ
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/2 นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกนิยามของเส้นขนานได้
2. นักเรียนสามารถบอกได้ว่า ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้วระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่นั้นจะ
เท่ากันเสมอ
3. นักเรียนสามารถบอกได้ว่า ถ้าเส้นตรงสองเส้นมีระยะห่างเท่ากัน แล้วเส้นตรงทั้งสองขนานกัน
4. นักเรียนสามารถบอกได้ว่า มุมคู่ใดเป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด เมื่อกาหนดให้
เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
5. นักเรียนสามารถบอกได้ว่า เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
ขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา และนาสมบัตินี้ไปใช้ได้
สาระสาคัญ
บทนิยามของเส้นขนาน
เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกัน ขนานกันก็ต่อเมื่อเส้นทั้งสองนีไ้ ม่ตัดกัน
ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน
เส้นตรงสองเส้นขนานกันก็ต่อเมื่อระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นนั้นเท่ากัน
เส้นขนานและมุมภายใน
เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขนาดของมุมภายในที่
อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา
สาระการเรียนรู
ด้านความรู้
เส้นขนานและมุมภายใน
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
คาบที่ 1
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูสนทนาถึงสิ่งของที่มีลักษณะเป็นเส้นขนาน เช่น รางรถไฟ ทางม้าลาย
เส้นแบ่งเลน เป็นต้น และให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างเพิ่มเติม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูกล่าวถึงบทนิยามของการขนานกันของเส้นตรงและยกตัวอย่างที่ 1 ดังนี้
“เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงทั้งสองเส้นนั้นไม่ตัดกัน”
เมื่ อ ⃡AB และ CD
⃡ ขนานกั น กล่ า วได้ ว่ า
A B
⃡AB ขนานกัน CD
⃡ หรือ CD
⃡ ขนานกับ ⃡AB
เขี ย นแทนด้ ว ยสั ญ ลั ก ษณ์ ⃡AB // CD

C D
หรือ CD
⃡ // ⃡AB
ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน เพราะเหตุใด
1) 2) 3)
B S Y
M N
D
A P
X Q
C T

ตอบ 1) ตอบ ขนานกัน เพราะเส้นตรงทั้งสองเส้นไม่ตัดกัน


2) ตอบ ไม่ขนานกัน เพราะเส้นตรงทั้งสองเส้นตัดกัน
3) ตอบ ไม่ขนานกัน เพราะเส้นตรงทั้งสองเส้นตัดกัน
3. ครูกล่าวว่า จากบทนิยามให้นักเรียนพิจารณาเส้นตรงสองเส้นที่ขนานกัน ดังนี้
A X Y B
1. ถ้า ⃡AB // CD
⃡ จะได้ว่า AB = CD
เส้นขนานคู่หนึ่ง จะมีระยะห่างระหว่าง
C M N D
เส้นคู่ขนานเท่ากันเสมอ

A B 2. ถ้า a = b แล้ว จะได้ว่า ⃡AB // CD



a b
เส้นตรงสองเส้นมีระยะห่างระหว่าง
เส้นตรงสองเส้นเท่ากันตลอดแล้ว เส้นตรง
C D ทั้งสองเส้นจะขนานกัน

“เส้นตรงสองเส้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นนั้นเท่ากัน


กิจกรรมรวบยอด
4. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1
5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 1
คาบที่ 2
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด ดังนี้
ถ้า ⃡AB และ CD
⃡ เป็นเส้นตรงคู่หนึ่ง มี PQ
⃡ เป็นเส้นตัด
C P
4 1 D

3 2
A B
Q

1̂ และ 2̂ เป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด PQ

3̂ และ 4̂ เป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด PQ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูกล่าวถึง เส้นขนานกับมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ดังนี้
ถ้า ⃡AB // CD
⃡ มี EF
⃡ เป็นเส้นตัดขวาง

E
A B
4 1

3 2
C D

1̂ และ 2̂ เป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
3̂ และ 4̂ เป็นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
1̂ + 2̂ และ 3̂ + 4̂ เป็นผลบวกของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด EF
⃡ ที่
ตัดเส้นคู่ขนาน ⃡AB และ CD

3. ครูกล่าว่าผลบวกของมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด มีความสัมพันธ์กับเส้นขนาน
อย่างมาก สามารถตรวจสอบว่าเส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ หรือตรวจสอบหาขนาดผลบวกของมุมภายใน
ที่เกิดขึ้นจากเส้นขนานที่มีเส้นตัด ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท เส้นตรงหนึ่ง มีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้จะขนานกันก็ต่อเมื่อ ผลบวกของมุม


ภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180°
ข้อความของทฤษฎีบทข้างต้น แยกเป็น 2 กรณีคือ
กรณีที่ 1 ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งขนานกันและมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด แล้วผลบวกของมุม
ภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180°
ถ้า ⃡AB // CD
⃡ มี MN
⃡ เป็นเส้นตัด

M
A B
4 1

3 2
C D

จะได้ 1̂ + 2̂ = 180°
3̂ + 4̂ = 180°

กรณี 2 เส้นตรงคู่หนึ่ง มีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด ถ้าผลบวกของมุมภายในบนข้าง


เดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180° แล้ว เส้นตรงคู่นี้จะขนานกัน
ถ้า 1̂ และ 2̂ เป็นมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด โดยมี
1̂ + 2̂ = 180° แล้ว

Y
K L
1

2
M N

จะได้ ⃡ // KL
MN ⃡
4. ครูยกตัวอย่างดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 ⃡AB และ CD
⃡ ในแต่ละข้อขนานกันหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) ตอบ ⃡AB // CD
⃡ เพราะว่า ขนาดของมุมภายในที่
X °
B อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 124 +
124
56 = 180 องศา
D
A 56°

2) ตอบ ⃡AB และ CD


⃡ ไม่ขนานกัน เพราว่า ขนาดของ
มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันจของเส้นตัดรวมกัน
X
A 92° B เท่ากับ 92 + 90 = 182 องศา ซึ่งไม่เท่ากับ 180
องศา
C D

ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ ⃡AB // CD


⃡ จงหาค่าของ x

A 72° F B

2x - 8°
C E D

วิธีทา เนื่องจาก ⃡AB // CD



จะได้ (2x – 8) +72 = 180
2x + 64 = 180
2x = 116
x = 58
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1
6. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 1
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม GSP เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
2. PowerPoint เรือง เส้นขนานและมุมภายใน
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 1 - แบบฝึกหัดที่ 1 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- เส้นขนานและมุมภายใน และความเข้าใจ
ตัวชี้วัด - แบบฝึกหัดที่ 1 - แบบฝึกหัดที่ 1 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค 2.2 ม.2/2 และความเข้าใจ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย - รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 1 - แบบฝึกหัดที่ 1 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค ว า มส าม าร ถใ นก า ร และความเข้าใจ
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 (ค22102) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เวลา 2 คาบ
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/2 นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกบอกได้ว่ามุมคู่ใดเป็นมุมแย้ง เมื่อกาหนดให้เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
2. นักเรียนสามารถบอกได้ว่าเมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน และนาสมบัตินี้ไปใช้ได้
สาระสาคัญ
เส้นขนานและมุมแย้ง
เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
สาระการเรียนรู
ด้านความรู้
เส้นขนานและมุมแย้ง
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
คาบที่ 1
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเส้นขนานและมุมภายใน โดยการถามตอบ
2. ครูทบทวนมุมแย้ง ดังนี้
เส้นตรงสองเส้น ถ้ามีเส้นตรงตัด นอกจากจะเกิดมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้น
ตัดแล้วยังมีมุมภายในที่เรียกว่ามุมแย้งอีกสองคู่
⃡AB และ CD
⃡ เป็นเส้นตรงสองเส้น มี PQ
⃡ เป็นเส้นตัด
P
D

C 4 1

3 2
A B
Q

1̂ และ 3̂ เรียกว่า มุมแย้ง เป็นแย้งระหว่าง ⃡AB และ CD



2̂ และ 4̂ เรียกว่า มุมแย้ง เป็นแย้งระหว่าง ⃡AB และ CD

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 2 สารวจมุมแย้ง แล้วช่วยกันสรุปผลการทากิจกรรม
4. ครูกล่าวถึงเส้นขนานกับมุมแย้ง ดังนี้
ถ้า ⃡AB // CD
⃡ มี XY
⃡ เป็นเส้นตัด
X
C
4 1
D
⃡AB // CD
⃡ มี XY
⃡ เป็นเส้นตัด
1̂ และ 3̂ เป็นมุมแย้ง
3 2
A B 2̂ และ 4̂ เป็นมุมแย้ง
Y
มุมแย้งที่เกิดจากเส้นตรงตัดเส้นคู่ขนาน มีความสาคัญในการแก้ปัญหาทางเรขาคณิต
อย่างมาก สามารถนาไปตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ หรือหาขนาดของมุมแย้งและ
ความสัมพันธ์ของมุมแย้งที่เกิดขึ้น ดังทฤษฎีบทดังนี้
ทฤษฎีบท เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้จะขนานกันก็ต่อเมื่อ มุมแย้งที่
เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากัน

ข้อความของทฤษฎีบทข้างต้น แยกเป็น 2 กรณีคือ


กรณีที่ 1 ถ้ามีเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกัน และมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดแล้ว มุมแย้งที่เกิดขึ้น
จะมีขนาดเท่ากัน
M
A B
4 1

3 2
C D

ถ้า ⃡AB // CD
⃡ มี MN
⃡ เป็นเส้นตัด
จะได้ว่า มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน 1̂ = 3̂ และ 2̂ = 4̂
กรณีที่ 2 เส้นตรงคู่หนึ่ง มีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด ถ้ามุมแย้งที่เกิดขึ้นมีขนาดเท่ากันแล้ว
เส้นตรงคู่นี้จะขนานกัน
X
K L
1

3
M N
Y

ถ้า 1̂ และ 3̂ เป็นมุมแย้งระหว่างเส้นตัดกับ MN


⃡ และ KL
⃡ ตามลาดับ
และ 1̂ = 3̂
จะได้ว่า MN
⃡ // KL

4. ครูยกตัวอย่างดังนี้
ตัวอย่างที่ 5 จงพิจาณาว่ามุมคู่ใดเป็นมุมแย้ง
1) A
P Q
ตอบ PÂ B แย้งกับ AB̂ S
RB̂ A แย้งกับ BÂ Q
R S
B

2)
C

ตอบ AÊ F แย้งกับ EF̂ D


F
A
BÊ F แย้งกับ EF̂ C

E D

ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ x
1)

2X° วิธีทา 2x = 40
x = 20
40°

2)

วิธีทา 2x + 20 = 120
120°
2x = 100
2x°+20° x = 50
กิจกรรมรวบยอด
5. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 2
6. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 2
คาบที่ 2
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเส้นขนานและมุมแย้ง โดยการถามตอบ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม ดังนี้
ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกเหตุผล
1)
E
A x y B กาหนด AB
⃡ // CD
⃡ และ EF̂ D = 65°
65°
C D
F

วิธีทา x = 65° (มุมแย้ง)


y + 65° = 180° (มุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด)
y = 180°- 65°
y = 115°
2) A D กาหนด AB
⃡ // CD
⃡ ,BÂ C = 60° และ
60°

CB̂ A = 70°
70° x y
B C

วิธีทา x = 60° (มุมแย้ง)


BÂ C + AĈ B + CB̂ A = 180° (ผลบวกของมุมภายในของ
รูปสามเหลี่ยม)
60° + AĈ B + 70° = 180°
AĈ B = 50°
AĈ B + x + y = 180° (ขนาดของมุมตรง)
50° + 60° + y = 180°
y = 70°
3)
C y D
กาหนดให้ ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม
x
หน้าจั่ว CÂ B = 75° และ AB // CD

75°
A B

วิธีทา x = AB̂ C (มุมแย้ง)


AB̂ C = 75° (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
ดังนั้น x = 75°
y = 180° - x - AĈ B (ขนาดของมุมตรง)
= 180° - 75° - 30°
= 75°
กิจกรรมรวบยอด
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 2
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 2
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม GSP เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 2 - แบบฝึกหัดที่ 2 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- เส้นขนานและมุมแย้ง - ใบกิจกรรมที่ 2 - ใบกิจกรรมที่ 2 และความเข้าใจ

ตัวชี้วัด - แบบฝึกหัดที่ 2 - แบบฝึกหัดที่ 2 - ตรวจสอบความถูกต้อง


- ค 2.2 ม.2/2 - ใบกิจกรรมที่ 2 - ใบกิจกรรมที่ 2 และความเข้าใจ
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย - รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 2 - แบบฝึกหัดที่ 2 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค ว า มส าม าร ถใ นก า ร - ใบกิจกรรมที่ 2 - ใบกิจกรรมที่ 2 และความเข้าใจ
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 (ค22102) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เวลา 2 คาบ
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/2 นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกได้ว่า มุมคู่ใดเป็นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของ
เส้นตัด เมื่อกาหนดให้เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
2. นักเรียนสามารถบอกได้ว่า เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน และนาสมบัตินี้ไปใช้ได้
สาระสาคัญ
เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมภายนอกและมุม
ภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน
สาระการเรียนรู
ด้านความรู้
เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
คาบที่ 1
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเส้นขนานและมุมภายใน และเส้นขนานและมุมแย้ง โดยการถามตอบ
2. ครูให้นักเรียนพิจารณารูปต่อไปนี้

1 2
3 4

5 6
7 8

จากรูป เรียก 1̂ , 2̂ , 7̂ และ 8̂ ว่า มุมภายนอก


เรียก 3̂ , 4̂ , 5̂ และ 6̂ ว่า มุมภายใน
เรียก 1̂ และ 5̂ ว่าเป็น มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกัน
ของเส้นตัด
ในทานองเดียวกัน จะเรียก 2̂ และ 6̂ , 7̂ และ 3̂ , 8̂ และ 4̂ แต่ละคู่ว่าเป็น มุมภายนอกและ
มุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด ด้วย
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูกล่าวถึงเส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน ดังนี้
เส้นขนานคู่หน่งมีเส้นตรงตัดมุมภายในและมุมภายนอกที่เกิดขึ้น ดังนี้
ถ้า ⃡AB // CD
⃡ มี XY
⃡ เป็นเส้นตัด

X
C 1 D

2
A B
Y

1̂ เป็นมุมภายนอก และ 2̂ เป็นมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด


มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด สามารถนาไปตรวจสอบว่าเส้รน
ตรงสองเส้นขนานกันหรือไม่ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท เส้นตรงคู่หนึ่งมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด เส้นตรงคู่นี้จะขนานกันก็ต่อเมื่อ มุมภายใน
และมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน

ข้อความข้างต้น แยกได้เป็น 2 กรณี คือ


กรณีที่ 1 ถ้ามีเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกัน และมีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดแล้ว มุมภายในและมุม
ภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดจะมีขนาดเท่ากัน

M
A 1 B

2
C D
N

ถ้า ⃡AB // CD
⃡ และมี MN
⃡ เป็นเส้นตัด
จะได้ว่า ขนาดของมุมภายใน 2̂ เท่ากับขนาดของมุมภายใน 1̂
กรณีที่ 2 เส้นตรงคู่หนึ่ง มีเส้นตรงเส้นหนึ่งตัด ถ้าขนาดของมุมภายในและขนาดของมุม
ภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน แล้วเส้นตรงคู่นี้จะขนาน
กัน

X
K 1 L

2
M N
Y

ถ้า XY
⃡ เป็นเส้นตัด KL
⃡ และ MN
⃡ มี 1̂ = 2̂ แล้วจะได้ว่า KL
⃡ // MN

3. ครูยกตัวอย่างดังนี้
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ ⃡AB // CD
⃡ และมี PQ
⃡ เป็นเส้นตัด ดังรูป จงหาขนาดของ x

P
A 2x° B

60°
C D
Q

วิธีทา เนื่องจาก ⃡AB // CD


⃡ มี PQ
⃡ เป็นเส้นตัด
จะได้ 2x = 60 (ถ้ามีเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกันและมีเส้นหนึ่งตัด
แล้วมุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้าง
เดียวกันของเส้นตัดจะมีขนาดเท่ากัน)
ดังนั้น x = 30
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ PQ // RS และมี ⃡AB เป็นเส้นตัด ดังรูป จงหาขนาดของ x
B
(2x+3)°
P
Q

65°
R
S
A

วิธีทา เนื่องจาก PQ // RS และมี ⃡AB เป็นเส้นตัด


จะได้ BP̂ Q = PR̂ S (ถ้ามีเส้นตรงคู่หนึ่งขนานกันและมีเส้นหนึ่งตัด
แล้วมุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้าง
เดียวกันของเส้นตัดจะมีขนาดเท่ากัน)
ดังนั้น 2x + 3 = 65
นั้นคือ x = 31
กิจกรรมรวบยอด
4. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 3
5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 3
คาบที่ 2
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเส้นขนานและมุมแย้ง โดยการถามตอบ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม ดังนี้
ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1)
x
y x = 75°
y = 35°
70° 35°
2)

x = 180° – 95° = 85°


y 95° x y = 95°

3) 30°
x
x = 30°
50°
y = 50°
y

4)
x
x = 180° - 70° = 110°
y y = 70°
70°

5) A B กาหนด AB
̅ // DC
̅
4x 60°
4x + 5x = 180°
9x = 180°
5x y x = 20°
D C y + 60° = 180°
y = 120°
6) กาหนด PQ
⃡ // RS

x + y = 120°
P Q
x+y 2x – y = 120°
(x + y) + (2x – y) = 240°
120°
R 2x-y S 3x = 240°
x = 80°
y = 40°
กิจกรรมรวบยอด
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 3
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 3
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม GSP เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
2. PowerPoint เรือง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 3 - แบบฝึกหัดที่ 3 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- เส้นขนานและมุม และความเข้าใจ
ภายนอกกับมุมภายใน
ตัวชี้วัด - แบบฝึกหัดที่ 3 - แบบฝึกหัดที่ 3 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค 2.2 ม.2/2 และความเข้าใจ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย - รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 3 - แบบฝึกหัดที่ 3 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค ว า มส าม าร ถใ นก า ร และความเข้าใจ
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
รายวิชา คณิตศาสตร์ 4 (ค22102) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เวลา 2 คาบ
ผู้สอน อาจารย์ชูฉกาจ ชูเลิศ

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.2 ม.2/2 นาความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกได้ว่าขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180
องศา และนาสมบัตินี้ไปใช้ได้
2. นักเรียนสามารถบอกได้ว่าถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะ
มีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น และนาสมบัตินี้ไปใช้ได้
3. นักเรียนสามารถบอกได้ว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์กันแบบมุม-มุม-ด้านเท่ากันทุก
ประการ และนาสมบัตินี้ไปใช้ได้
สาระสาคัญ
ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา
ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับผลบวกของ
ขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น
ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่อยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน
ยาวเท่ากันหนึ่งคู่ แล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการสาระการเรียนรู
ด้านความรู้
เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ด้านทักษะ / กระบวนการ
1. การแกปัญหา
2. การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทางาน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู
คาบที่ 1
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเส้นขนานและมุมภายใน เส้นขนานและมุมแย้ง และเส้นขนานและมุมภายนอก
กับมุมภายใน โดยการถามตอบ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูทบทวนการพิสูจน์ ทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เท่ากับ 180 องศา ดังนี้

ต้องการพิสูจน์ว่า BÂ C + AB̂ C + BĈ A = 180°


พิสูจน์ ลาก DE
⃡ ผ่านจุด B และขนานกับ AC
̅
ข้อความ เหตุผล
1. DB̂ A + AB̂ C + EB̂ C = 180° 1. มุมตรง
2. DB̂ A = BÂ C 2. มุมแย้ง
ข้อความ เหตุผล
3. EB̂ C = BĈ A 3. มุมแย้ง
4. BÂ C + AB̂ C + BĈ A = 180° 4. จากข้อ 3, 4

3. ครูยกตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ x ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) B
x
วิธีทา 60° + 100° + x = 180°
160° + x = 180°
x = 20°
60° 100°
A C
2) G วิธีทา x + x + x = 180°

x
3x = 180°
x = 60°

F H
3) B D วิธีทา 40° + 65° + x = 180°
x 65°
105° + x = 180°
x = 75°
A 40° C
E

4. ครูทบทวนการพิสูจน์ ทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุม


ภายนอกที่เกิดจะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น ดังนี้
ต้องการพิสูจน์ว่า BĈ D = AB̂ C + CÂ B
พิสูจน์
ข้อความ เหตุผล
1. AB̂ C + BĈ A + CÂ B = 180° 1. มุมตรง
2. BĈ A + BĈ D = 180° 2. มุมตรง
3. BĈ A + BĈ D = AB̂ C + BĈ A + CÂ B 3. จากข้อ 1 และข้อ 2
4. BĈ D = AB̂ C + CÂ B 4. หักออกด้วย BĈ A ที่มีขนาดเท่ากัน

5. ครูยกตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ x และ y ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1)
วิธีทา x + 82° = 149°
x
x = 149° - 82°
x = 67°
149° 82°

2) วิธีทา y + 36° + 62° = 180°


62° y + 98° = 180°
y = 82°
x = y + 62°
y 36° x
x = 82° + 62°
x = 144°
3) วิธีทา y = 70° + 50°
70° y = 120°

50° y x = 80° + (180° - 120°)


x x = 140°
80°

กิจกรรมรวบยอด
6. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 4
7. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 4
คาบที่ 2
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเส้นขนานและมุมภายใน เส้นขนานและมุมแย้ง และเส้นขนานและมุมภายนอก
กับมุมภายใน โดยการถามตอบ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. ครูกล่าวว่านอกจากทฤษฎีบททั้งสองแล้ว ยังมีการนาทฤษฎีบทเกี่ยวกับผลบวกของขนาด
ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมไปพิสูจน์สมบัติที่เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ที่มี
ความสัมพันธ์กันแบบ มุม-มุม-ด้าน ดังนี้
B E

A C D F

ทฤษฎีบท ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีความสัมพันธ์กันแบบ มุม-มุม-ด้าน (ม.ม.ด.)


กล่าวคือ มีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่อยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่มี
ขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่ แล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะเท่ากัน
ทุกประการ

3. ครูยกตัวอย่างการพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบมุม-มุม-ด้าน
ตัวอย่างที่ 8 จากรูป ∆ABE และ ∆DCF เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มี AÊ B และ DF̂ C
เป็นมุมฉาก AB
̅ // CD
̅ และ AB = DC จงพิสูจน์ว่า AE = DF
A B

F
E

C D
ต้องการพิสูจน์ว่า ∆ABE ≅ ∆DCF
พิสูจน์
ข้อความ เหตุผล
1. AB
̅ // CD ̅ กาหนดให้
2. AB̂ E = DĈ F มุมแย้ง
3. AÊ B = DF̂ C กาหนดให้
4. ∆ABE ≅ ∆DCF มุม-มุม-ด้าน

กิจกรรมรวบยอด
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 4
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 4
สื่อการเรียนรู/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม GSP เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
2. PowerPoint เรือง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2
การวัดและการประเมิน
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
สาระสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 4 - แบบฝึกหัดที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- เส้นขนานและมุม และความเข้าใจ
ภายนอกกับมุมภายใน
ตัวชี้วัด - แบบฝึกหัดที่ 4 - แบบฝึกหัดที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้อง
- ค 2.2 ม.2/2 และความเข้าใจ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - การเข้าเรียน - เข้าเรียน - เข้าเรียนตรงเวลา
- ใฝ่เรียนรู - การทางานในชั้น - มีส่วนร่วมในกิจกรรม - เมื่อครูถามนักเรียนมี
- วินัย เรียน การเรียน ความกระตือรือร้นและ
- มุ่งมั่นในการทางาน - การบ้านที่ไดรับ ความสนใจในการตอบ
มอบหมาย - รับผิดชอบงานที่ไดรับ
มอบหมาย
สมรรถนะสาคัญ - แบบฝึกหัดที่ 4 - แบบฝึกหัดที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้อง
และความเข้าใจ
เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
- ค ว า มส าม าร ถใ นก า ร
สื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก
ปัญหา

You might also like