You are on page 1of 37

สารบัญ

หน้า
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง สามเหลี่ยมคล้าย 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สามเหลี่ยมคล้าย 3
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ 4
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ 7
แบบฝึกหัด 2.1 8
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60 14
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 5 เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60 16
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากความสัมพันธ์ของด้านและมุม 19
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 6 เรื่อง การหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากความสัมพันธ์ของด้านและมุม 21
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ 22
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 7 เรื่อง การประยุกต์อัตราส่วนตรีโกณมิติ 25
แบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้ อัตราส่วนตรีโกณมิติ 31
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง สามเหลี่ยมคล้าย
ในการหาความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ จะหาได้โดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างด้านของ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปในอัตราส่วนระหว่างด้านของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งเป็น สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
บทนิ ย าม :: สามเหลี่ ยมสองรูป ใด ๆ ที่ มี ข นาดของมุม เท่ า กัน 3 มุ ม มุ ม ต่ อ มุม เรี ยกว่ า รู ป
สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
F
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
C
d
a e
b

A c B D f E

 ABC ~  DEF เพราะว่า


^ ^ ^ ^ ^ ^
A  D, B  E และ C  F
AB AC BC
ดังนั้น DE

DF

EF
c b a
นั่นคือ f

e

d

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ ABC และ DEF เป็นสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน มี BÂC  EÂF  90o


และด้านอื่นมีความยาว ดังรูป
B 15 A E f D

d 4
8
a
F

จงหาด้าน a และ ด้าน d C

วิธีทา จาก  มุมฉาก ABC จะได้


a2 = 152 + 82 = 225 + 64 = 289

 a = 17
 ABC   DEF จะได้วา่
a 8

d 4
a
 2
d
2d = a

1
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

2d = 17
D = 17
2
 ด้าน a = 17
17
ด้าน d = ตอบ
2

ตัวอย่างที่ 2 จงแสดงว่า  ABC คล้ายกับ  PQR และหาค่า p


R
C
45
45

15
p
12

q=
b=

62 62
A c B P r Q

วิธีทา B̂  180 o  62 o  45 o  73o


Q̂  180 o  62 o  45 o  73o

 Â  P̂ , B̂  Q̂ , Ĉ  R̂

จะได้  ABC   DEF


จากสมบัติของ  ที่คล้ายกัน จะได้ว่า
a b
p

q
แทนค่า
16 12

p 15
16 15
p 
12
= 20 ตอบ

2
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกหัด เรื่อง สามเหลี่ยมคล้าย


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถูกต้องสมบูรณ์
กาหนดให้ ABC เป็น  รูปหนึ่ง มี BC // PR ดังรูป และตอบคาถามข้อ 1-6
A

B C

P R
1) ถ้า AB = 2 , BP = 4 และ AC = 3 แล้ว CR จะยาวเท่ากับ.............................
2) ถ้า AC = 4 , CR = 8 และ BP = 4 แล้ว AB จะยาวเท่ากับ.............................
3) ถ้า BP = 5 , CR = 7 และ AB = 3 แล้ว AC จะยาวเท่ากับ.............................
4) ถ้า CR = 7 , AB = 4 และ AC = 5 แล้ว AB จะยาวเท่ากับ.............................
5) ถ้า AB = 4 , AC = 5 และ CR = 6 แล้ว AP จะยาวเท่ากับ.............................
6) ถ้า CR = 8 , AB = 4 และ BP = 7 แล้ว PR จะยาวเท่ากับ.............................

7) จากรูป  ABC คล้ายกับ DEF ด้าน e ยาวเท่ากับ............................................


B
F

3 d
e

C A D E
4 4
3

8) จากโจทย์ข้อ 7) ด้าน d ยาวเท่ากับ ...............

3
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ


อัตราส่วนตรีโกณมิติ (Trigonometric ratio) คือ อัตราส่วนของความยาวของด้านของสามเหลี่ยมมุม
ฉาก C

b a

A c B
จากรูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมีมุม C เป็นมุมฉาก และ มุม A เป็นมุม
หลัก โดยอัตราส่วนของความยาวของด้านทั้งสาม มีชื่อเรียกดังนี้
a
เรียกว่า ไซน์ (sine) ของมุม A นิยมเขียน sin A
c
b
c
เรียกว่า โคไซน์ (cosine) ของมุม A นิยมเขียน cos A
a
b
เรียกว่า แทนเจนต์ (tangent) ของมุม A นิยมเขียน tan A
c
a
เรียกว่า โคซีแคนต์ (cosecant) ของมุม A นิยมเขียน cosec A
c
b
เรียกว่า ซีแคนต์ (secant) ของมุม A นิยมเขียน sec A
b
a
เรียกว่า โคแทนเจนต์ (cotangent) ของมุม A นิยมเขียน cot A

สามารถสรุปบทนิยามของไซน์, โคไซน์, แทนเจนต์, โคซีแคนต์, ซีแคนต์ และโคแทนเจนต์ เฉพาะกรณีที่


A เป็นมุมแหลมได้ดังนี้
ไซน์ของมุม A คือ ความยาวของด้านตรงข้า มมุม A
ความยาวของด้านตรงข้า มมุมฉาก

โคไซน์ของมุม A คือ ความยาวของด้านประชิด มุม A


ความยาวของด้านตรงข้า มมุมฉาก

แทนเจนต์ของมุม A คือ ความยาวของด้านตรงข้า มมุม A


ความยาวของด้านประชิด มุม A
โคซีแคนต์ของมุม A คือ ความยาวของด้านตรงข้า มมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้า มมุม A

4
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ซีแคนต์ของมุม A คือ ความยาวของด้านตรงข้า มมุมฉาก


ความยาวของด้านประชิด มุม A

โคแทนเจนต์ของมุม A คือ ความยาวของด้านประชิด มุม A


ความยาวของด้านตรงข้า มมุม A

จากบทนิยาม อัตราส่วนตรีโกณมิติเป็นส่วนกลับของกันและกัน ได้แก่


1
sin A  และ cos ecA  1
cos ecA sin A
1 1
cos A  และ sec A 
sec A cos A
1 1
tan A  และ cot A 
cot A tan A

ตัวอย่างที่ 1 รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีความยาวด้านต่าง ๆ ดังรูป จงหาอัตราส่วนตรีโกณมิติของ


มุม A ทุกอัตราส่วน
B

c a

A b C
a c
วิธีทา sin A 
c
cos ecA 
a
b c
cos A  sec A 
c b
a b
tan A  cot A 
b a

5
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่างที่ 2 จากรูปที่กาหนดให้ จงหา 1. sin A , tan A , sec B


B 2. sin B , cos B , cosec B , tan B

5 4

A 3 C
4 3
วิธีทา sin A  sin B 
5 5
4 4
tan A  cos B 
3 5
5 3
sec A  tan B 
3 4
5
cos ecB 
3

ตัวอย่างที่ 3 ให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่ง B̂ เป็นมุมฉาก และ tan A  12


จงหา sin A , tan C , cosA และ sin C
วิธีทา จาก  มุมฉาก ABC จะได้ว่า
B
AC2 = AB2 + BC2
5 = 22 + 12
= 4+1
1
 AC = 5

Csin A 2=
1 A = 5
5 5
2
tan C = 1
= 1
1 5
cos A = = 5
5
2 2 5
sin C = = 5
5

6
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 4
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากรูปที่กาหนดให้ จงหา
C
1.1) sin B = .................
13
1.2) tan B = .................

A B 1.3) cos B = .................


5

1.4) cosec C = ..............

1.5) tan C = .................

2. ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก และ 17sin B = 8 จงหาค่าของ


2.1) cos A + sin B = ...........................

2.2) sin A + tan B = ...........................

2.3) sec A + cosec A = ...........................

3. ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก มี B มุมฉาก , Aˆ  33 o และ AB  46 เมตร จงหา AC


(กาหนด cos 33o = 0.8387)

7
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกหัด 2.1

1. จงหาค่าไซน์ โคไซน์ และแทนเจนต์ของมุม A และมุม B จากรูปต่อไปนี้


1)

2)

3)

2. จากรูปและค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติของ x ที่กาหนด จงหาว่า x คือ มุม A หรือมุม B

1) sin A = BC
AB
2) sin B = AC
AB
3) cos A = AC
AB
4) cos B = BC
AB
5) tan B = AC
BC
6) tan A = BC
AC

8
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

3. จงหาว่าอัตราส่วนตรีโกณมิติที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เป็นค่าไซน์หรือโคไซน์ของมุมที่กาหนดให้

(1) ..........A = a (2) ...........B = a


c c
(3) …......A = b (4) ...........B = b
c c

4. จงหาค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติต่อไปนี้จากตาราง
1) sin 32 2) sin 4
3) sin 81 4) sin 17
5) cos 29 6) tan 18
7) tan 81 8) sin 51.5
9) cos 67.5 10) tan 42.5

5. จงหาขนาดของมุม A เมื่อกาหนดค่า sin A ดังนี้


1) 0.53 2) 0.899
3) 2 4) 5
5 8
5) 15
23
6. จงหาขนาดของมุม B เมื่อกาหนดค่า cos B ดังนี้
1) 0.50 2) 0.99
3) 0.75 4) 3
5
5) 9
13

7. จงหาขนาดของมุม C เมื่อกาหนดค่า tan C ดังนี้


1) 0.404 2) 4.011

3) 9 4) 4
4 7

5) 28
13

9
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
8. จงหาขนาดของมุมต่อไปนี้ เมื่อกาหนดค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติให้ดังนี้
1) cos ...... = 0.616
2) tan ...... = 0.488
3) sin ...... = 0.982
4) tan ...... = 2.356
5) cos ...... = 0.707
9. จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ จงหา

1) sin A
2) tan A
3) cos C
4) tan C

10. จงหาค่าของ x, y หรือ z จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กาหนดให้ต่อไปนี้


1) 2)

3) 4)

11. กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก และ cos A = 1


2
1) sin A 2) tan A
3) sin B 4) cos B
5) tan B

10
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
12. 1)

จากรูปจงหาค่าต่อไปนี้
1) ความยาวของ BD 2) sin 1̂

3) cos 1̂ 4) sin 2̂

5) cos 2̂ 6) sin 3̂

7) cos 3̂ 8) sin 4̂

9) ขนาดของ sin 1̂ 10) ขนาดของ sin 2̂

11) ขนาดของ sin 3̂ 12) ขนาดของ sin 4̂


13. กาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม C เป็นมุมฉาก และ a, b, c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A
มุม B และมุม C ตามลาดับ

1) ถ้า tan A = 2 และ a = 10 หน่วย จงหา b

2) ถ้า tan A = 1 และ b = 3 หน่วย จงหา a


4

3) ถ้า a = 5 หน่วย และ b = 12 หน่วย จงหา sin A

4) ถ้า cos B = 2 และ a = 5 หน่วย จงหา c


3

5) ถ้า a = 4 หน่วย และ c = 6 หน่วย จงหา tan B

11
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
14. จากรูป

1) ถ้า BG ยาว 12 หน่วย BD ยาว 15 หน่วย และ GH ยาว 8 หน่วย


จงหาความยาวของ BE

2) ถ้ามุม A มีขนาด 50 องศา และ BH ยาว 4 หน่วย


จงหาความยาวของ GH

3) ถ้า AB ยาว 10 2 หน่วย และ AC ยาว 6 5 หน่วย จงหาความยาวของมุม B

15. กาหนดให้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า DEF มีด้าน DG เป็นส่วนสูง และ DE ยาว 18 หน่วย ดังรูป จงหา
ความยาวของ DG

12
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
16. กาหนดให้รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว JKL มี LM เป็นส่วนสูง และ JL ยาว 16 หน่วย ดังรูป จงหาความยาว
ของ LM

17. กาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มี  และมุม A มีขนาด 27 ด้าน BC ยาว 10 หน่วย


จงหาความยาวรอบรูปสามเหลี่ยม ABC

18. กาหนดให้ความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วรูปหนึ่งยาว 14, 14 และ 18 เซนติเมตร จงหา


ขนาดของมุมทั้งสามของสามเหลี่ยมรูปนี้

13
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30  , 45  และ 60 
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30  , 45  และ 60 

อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30  , 45  และ 60  เป็นการแสดงอัตราส่วนของ ความยาวของ


ด้านรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีค่าคงตัว ซึ่งทอเลมี (Ptolemy) เป็นผู้คานวณไว้

ในสมัยกรีกโบราณ ทอเลมี (Ptolemy : ประมาณปี ค.ศ. 200) ได้สร้างตารางแสดงอัตราส่วนของ


ความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีค่าคงตัวไว้ ดังนี้

B มุม ไซน์ โคไซน์ แทนเจนต์


BC

A BC AC AC
AB AB
A C

B
1 3
30o 2
3
2 1
2 3

30
A C
3
B
45o
2 2
2 1
2 2
1
45
A C
1
B

2 1
3 60o 2
3
2
3
60
A C
1

14
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ 2sin 30 o cos 30 o tan 30 o


 1  3  1 
วิธีทา 2sin 30 o cos 30 o tan 30 o = 2 
2    2  3 
1
= 1
2
1
= 2
ตอบ

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ x จากสมการ x sin 30 o cos 60 o = 6


วิธีทา x sin 30 o cos 60 o = 6
1 1 
X   = 6

2 2 
1
4
X = 6
นา 4 คูณทั้งสองข้าง
X = 24 ตอบ

15
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 5
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30  , 45  และ 60 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้สมบูรณ์และหาคาตอบให้ถูกต้อง
1) ถ้า ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก มี เป็นมุมฉาก และ tan A = 1.2 แล้ว ค่าของ
tan A + cos B ค่าเท่ากับ.......................................................................................

2) ค่าของ 3sin 30 o – 5 cos 60 o ค่าเท่ากับ................................................................

3) ถ้า cos A = 0.8 แล้ว sin A + tan A ค่าเท่ากับ.......................….........................

4) ค่าของ tan2 60 o + 2 tan2 45 o มีค่าเท่ากับ...........................................................

5) ค่าของ (sec2 60 o – cot2 60 o ) มีค่าเท่ากับ...........................................................

6) ค่าของ sec 30 o (sin 60 o + tan 60 o ) ค่าเท่ากับ..................................................

7) ค่าของ x จากสมการ x sin 30 o cos 60 o = 4 มีค่าเท่ากับ.................................

16
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

8) ค่าของ x จากสมการ x sin2 45 o tan2 30 o = cos 30 o

sin 2 45 o  tan 2 45 o
9) ค่าของ x จากสมการ X cos 2 45 O 
tan 2 30 o cos 60 o

10) ค่าของ x จากสมการ cos 6x = 1

11) ค่าของ sin 32 o = ………………………………………………………

12) ค่าของ sin 81 o = ………………………………………………………

13) ค่าของ cos 58 o = ………………………………………………………

14) ค่าของ tan 18 o = ………………………………………………………

17
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
15) ค่าของ tan 78 o = ………………………………………………………

16) ถ้า sin  = 0.53 แล้ว  มีค่าเท่ากับ ..........................................................องศา

17) ถ้า sin  = 0.53 แล้ว  มีค่าเท่ากับ ..........................................................องศา

18) ถ้า cos  = 0.50 แล้ว  มีค่าเท่ากับ .........................................................องศา

19) ถ้า tan  = 4.011 แล้ว  มีค่าเท่ากับ ........................................................องศา

c
20) a a  …………………..เซนติเมตร
34
A C
19 ซม. c  …………………..เซนติเมตร

18
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง การหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากความสัมพันธ์ของด้านและมุม
การหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากความสัมพันธ์ของด้าน
ความสัมพันธ์ของด้านและมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก สามารถนามาหาอัตราส่วนตรีโกณมิติได้
ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการหาค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมต่าง ๆ ได้อีกด้วย
ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก
จากรูปจะได้ sin A = a , cos B = a
c c
B
 sin A = cos B
c
a b b
cos A = , sin B =
c c
A C
b  cos A = sin B
a b
tan A = , tan B =
b a
1
= b
a
 tan A = 1
tan B

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของไซน์ โคไซน์ และแทนเจนต์ของมุม A และ มุม B จากรูปทีก่ าหนดให้


A

13
12

วิธีทา จากรูป sin A = 5 C B


13
5
12
cos A = 13
5
tan A = 12
หาค่าของ sin B , cos B และ tan B ดังนี้
12
sin B = cos A = 13
5
cos B = sin A = 13
1 12
tan B = tan A
= 5

19
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากความสัมพันธ์ของมุม
จากรูปมุม A และ B มีความสัมพันธ์กันดังนี้
B

c ^
=
^
90  - B
a A
^ ^

A C
และ B = 90  - A
b

จาก sin A = cos B จะได้ sin A = cos(90o - A)


cos A = sin B จะได้ cos A = sin(90o - A)
1 1
tan A = จะได้ tan A =
tan B tan( 90 o  A)
ตัวอย่างเช่น
sin 30o = cos(90o - 30o) = cos60o
cos 30o = o o
sin(90 - 30 ) = sin60o
tan 30o = 1
= 1
o
tan( 90 o
 30 ) o
tan 60

จากความสัมพันธ์ข้างต้น สามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทั้งสามได้ คือ


sin A
tan A = cos B

ตัวอย่างที่ 2 ให้ sin 6  = 0.105 และ cos 6  = 0.995 จงหาค่าของ


1. cos 84  2. sin 84 

วิธีทา 1) จาก cos A = sin (90  - A)


จะได้ cos 84  = sin (90  - 84  ) = sin 6  = 0.105

2) จาก sin A = cos (90  - A)


จะได้ sin 84  = cos (90  - 84  )
= cos 6  = 0.995

20
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 6
เรื่อง การหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากความสัมพันธ์ของด้านและมุม
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถูกต้องสมบูรณ์
1) จากรูป จงหา
A 1.1) cos A = sin…… = ……………..
20
16 1.2) sin A = cos…… = ……………..
B C
12 1.3) tan A = 1
= …………...
tan .......

2) กาหนด sin 15o = 0.259 และ cos 15o = 0.966 จงหา


2.1) cos 75 o = ………………..

2.2) sin 75 o = ………………..

2.3) tan 75 o = ………………..

3) ถ้า sin  = 0.438 แล้ว cos 64 o มีค่าเท่ากับ ..............................................

4) ถ้า cos  = 0.602 แล้ว sin 37 o มีค่าเท่ากับ ..............................................

5) ถ้า tan  = 2.356 แล้ว 1


tan (90   )
มีค่าเท่ากับ ...................................

21
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ใบความรู้ที่ 7
เรื่อง การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
การนาความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิตไิ ปใช้ในการหาระยะทางและความสูงของสิ่งต่าง ๆ ควรมี
ความรู้เรื่องเส้นระดับสายตา มุมก้ม และมุมเงย
1. เส้นระดับสายตา คือเส้นตรงที่ขนานกับผิวน้าทะเล หรือขนานกับพื้นราบ
2. มุมก้ม (angle of depression) คือมุมที่เกิดจากเส้นการมองต่ากว่าผู้สังเกตทามุมกับระดับ
สายตา โดยมีตาแหน่งของการสังเกตเป็นจุดยอดมุม
3. มุมเงย (angle of elevation) คือที่เกิดจากเส้นของการมองเหนือผู้สังเกตทามุมกับระดับ
สายตา โดยมีตาแหน่งการสังเกตเป็นจุดยอดมุม ดังรูป

วัตถุ
เส้นการมองเหนือตาผูส้ ังเกต

ตาแหน่งการสังเกต มุมเงย เส้นระดับสายตา


มุมก้ม
เส้นการมองต่ากว่าผูส้ ังเกต

วัตถุ

ตัวอย่างที่ 1 ธารทุนไทยยืนห่างจากตึกแห่งหนึ่ง 120 เมตร เมื่อมองไปบนยอดตึกเป็นมุมเงยเท่ากับ


40O จงหาว่าตึกนี้สูงกี่เมตร

วิธีทา ให้ BC แทนความสูงของตึก


BC
จากรูป  tan 40 o
AB
C
BC = AB tan 40O
 120  0.839
 101

40
A B
120
ดังนั้น ตึกนี้สูงประมาณ 101 เมตร ตอบ

22
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่างที่ 2 พิทักษ์ไทย ยืนอยู่บนหน้าผาริมทะเล ซึ่งสูงจากระดับน้าทะเล 75 เมตร มองเห็น


เรือลาหนึ่งเป็นมุมก้ม 30 o จงหาว่าเรืออยู่ห่างจากหน้าผาประมาณกี่เมตร
วิธีทา ให้ AB แทน ระยะทางที่เรืออยู่ห่างจากหน้าผา
BC แทน ความสูงของหน้าผาที่พิทักษ์ไทยอยู่สูงจากระดับน้าทะเล 75 เมตร
D C เนื่องจาก CD // AB
30  DÂC  CÂB  30 o มุมที่มองเห็นเรือ

75

30
A B

จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC จะได้


BC
 tan 30 o
AB
BC
AB 
tan 30 o
 75 3

 75  1.732  129.9
ดังนั้น เรืออยู่ห่างจากหน้าผาประมาณ 129.9 เมตร ตอบ

ตัวอย่างที่ 3 แทนคุณไทยยืนอยู่บนประภาคารสังเกตเห็นเรือสองลาจอดอยู่ในทะเลทางทิศตะวันออกของ
ประภาคารในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทามุมก้ม 30 o และ 60 o กับแนวระดับ ประภาคารแห่งนี้อยู่สูง
จากระดับน้าทะเลประมาณท่าใด ถ้าเรือทั้งสองลาอยู่ห่างกัน 200 เมตร
วิธีทาA E ให้ A เป็นตาแหน่งที่แทนคุณไทยยืน
30 AB แทนความสูงของประภาคาร
60
C แทนเรือลาที่หนึ่ง
D แทนเรือลาที่สอง
EÂD  30 o , EÂC  60 o

60 30 CD = 200 เมตร
B D
C

เนื่องจาก AE // BD
ดังนั้น AD̂B  30 o , AĈB  60 o

จาก  มุมฉาก ABC จะได้ AB


BC
 tan 60 o

AB  BC tan 60 o
AB  3BC …………..(1)

23
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

จาก  มุมฉาก ABC จะได้ AB


 tan 30 o
BC  200
AB  (BC  200) tan 30 o

AB 
1
( BC  200) ………….(2)
3
1
(1) = (2) 3BC  (BC  200)
3
3 BC = BC + 200
2 BC = 200
BC = 100
แทนค่า BC ใน (1) AB  3 (100)  1.732 100

 173.2
ดังนั้น ประภาคารอยู่สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 173.2 เมตร ตอบ

Note:

24
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ที่ 7
เรื่อง การประยุกต์อัตราส่วนตรีโกณมิติ
คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาโดยละเอียด
1. ต้นไม้ต้นหนึ่งทอดเงายาว 40 เมตร แนวของเส้นตรงที่ลาก ผ่านจุดปลายเงาของต้นไม้และยอดไม้ทา
มุม 20o กับเงาของต้นไม้ จงหาความสูงของต้นไม้

2. พาดบันไดไว้กับกาแพงโดยให้ปลายบันไดตอนบนจดขอบกาแพงพอดี บันไดยาว 6.5 เมตร และโคน


บันไดอยู่ห่างจากกาแพง 4 เมตร บันไดนี้ทามุมกับพื้นดินประมาณกี่องศา และกาแพงสูงประมาณเท่าใด

3. จากยอดหน้าผา สูง 50 เมตร มองเห็นเรือสองลาอยู่ในแนวเดียวกันเป็นมุม 30 o และ 60 o ตามลาดับ


จงหาว่าเรือทั้งสองลาอยู่ห่างกันประมาณกี่เมตร

25
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
4. ถ้ามุมเงยของสายตาของแมวที่กาลังมองนกซึ่งเกาะอยู่บนกิ่งไม้เท่ากับ 39 o และแมวอยู่ห่างจากโคนต้นไม้
16 ฟุต จงหาระยะห่างระหว่างแมวตัวนี้กับนกที่เกาะอยู่บนต้นไม้

5. ศักดิ์อนันต์ อยู่บนตึกหลังหนึ่งเมื่อมองลงไปยังถนนหน้าตึกเห็นรถยนต์คันหนึ่งแล่นตรงเข้ามา ขณะที่รถแล่น


ถึงจุด A มีมุมก้ม 15 o อีก 6 วินาทีแล่นถึงจุด B มีมุมก้ม 30 o ถ้ารถยนต์แล่นได้ชั่วโมงละ 60 กิโลเมตร
จงหาว่าตึกสูงกี่เมตร

26
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แบบฝึกหัด 2.2
1. ต้นไม้ต้นหนึ่งทอดเงายาว 40 เมตร แนวของเส้นตรงที่ลากผ่านจุดปลายของเงาต้นไม้ และยอดต้นไม้ทามุม
20 กับเงาของต้นไม้ ดังรูป จงหาความสูงของต้นไม้นี้

2. พาดบันไดไว้กับกาแพงโดยให้ปลายบันไดตอนบนจรดขอบกาแพงพอดี ถ้าบันไดยาว 6.5 เมตร และโคน


บันไดอยู่ห่างจากกาแพง 4 เมตร บันไดนี้ทามุมกับพื้นดินประมาณกี่องศาและกาแพงนี้สูงประมาณเท่าใด

3. เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งยาว 6 เซนติเมตร และทามุม 55 กับด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมนี้


จงหาความยาวและความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้

27
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
4. ถ้ามุมเงยของสายตาของแมว (A) ที่มองนก (B) ซึ่งเกาะอยู่บนกิ่งไม้ มีขนาด 39 องศา และแมวอยู่ห่าง
จากโคนต้นไม้ (C) 16 ฟุต จงหาระยะห่างระหว่างแมวตัวนี้กับนกที่เกาะบนกิ่งไม้

5. เครื่องบินลาหนึ่งบินอยู่ใกล้กับหอบังคับการบิน ถ้ามุมเงยจากสายตาของชายคนหนึ่ง (A) ซึ่งมองจากหอ


มีขนาด 7 องศา เห็นเครื่องบินอยู่ไกลออกไป (B) 2 กิโลเมตร (ดังรูป) อยากทราบว่าเครื่องบินลานี้ อยู่สูง
กว่าหอกี่เมตร

6. เด็กคนหนึ่งกาลังเล่นว่าวอยู่ มือข้างที่ถือเชือก (A) อยู่สูงจากพื้นดิน 1.2 เมตร และเส้นเชือกทามุมกับแนว


ระดับ 58 องศา โดยที่เชือกจากมือถึงว่าว (B) ยาว 9.5 เมตร อยากทราบว่า ว่าวตัวนี้อยู่สูงจากพื้นดินเท่าใด

28
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
7. ลูกเสือคนหนึ่งต้องการหาความสูงของเสาธงของโรงเรียน ถ้าขณะที่เขามองยอดเสาธง มุมเงยจากระดับ
สายตาไปยังยอดเสาธง มีขนาด 45  เขายืนอยู่ห่างจากเสาธงเป็นระยะทาง 12 เมตร และความสูงจาก
พื้นดินถึงระดับตาของเขาเป็น 1.5 เมตร อยากทราบว่า เสาธงสูงเท่าใด

8. ชายคนหนึ่ง (A) มองต้นไม้ ซึ่งอยู่ห่างจากบ้าน (AC) เป็นระยะทาง 38 เมตร ถ้ามุมก้มซึ่งมองไปยังโคน


ต้นไม้ (D) มีขนาด 16 องศา และมุมเงยซึ่งมองไปยังยอดของต้นไม้ (B) มีขนาด 13 องศา จงหาความสูงของ
ต้นไม้ต้นนี้

29
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

9. อาคาร ก และอาคาร ข อยู่ห่างกัน x เมตร ดังรูป เมื่อมองจากจุด A ของอาคาร ข มายังอาคาร ก


พบว่า มุมก้มจะมีขนาด 40 องศา และถ้ามองจากจุด B ของอาคาร ข ไปยังยอดตึกของอาคาร ก พบว่า มุม
เงยมีขนาด 55 องศา ถ้าอาคาร ก สูง 5 เมตร จงหาความสูงของอาคาร ข

10. จากการสังเกตนาฬิกาเรือนหนึ่งเมื่อเวลา 15.07 นาฬิกา พบว่า ถ้าลากส่วนของเส้นตรงต่อจุดปลายของ


เข็ มชั่ วโมงและเข็ มนาที ส่ วนของเส้ นตรงนี้จ ะตั้ งฉากกั บเข็ม ชั่ว โมง ถ้ าเข็ม นาทีข องนาฬิ ก าเรื อนนี้ย าว 9
เซนติเมตร จงหาความยาวของเข็มชั่วโมง

30
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้ อัตราส่วนตรีโกณมิติ
แบบทดสอบที่นาเสนอต่อไปนี้เป็นตัวอย่างแบบทดสอบแสดงวิธีทา ซึ่งจะใช้ประเมินผลด้านเนื้อหาวิชา
ของผู้เรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ

1. จงหาอัตราส่วนตรีโกณมิติจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กาหนดให้ดังนี้

1) 1) sin A

2) cos B

3) tan A

4) tan B

2)

1) sin A และ sin B


2) cos A และ cos B
3) tan A และ tan B

3)

1) sin A และ sin B

2) cos A และ cos B

3) tan A และ tan B

31
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กาหนดให้ จงหาค่า x

3. จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ จงหา


1) sin 

2) cos 

3) tan  4) ความยาวของด้าน AC

32
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
4. จงหาค่าของ a, b หรือ c จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กาหนดให้ดังนี้

5. ให้ ABC เป็ น รู ป สามเหลี่ ย มด้ า นเท่ า ที่ มี ด้ า น AB ยาว 18 หน่ ว ย AD แบ่ ง ครึ่ ง มุ ม A และ
AD  BC จงหาความยาวของ AD

6. 1) จากรูป จงหาความสูงของต้นไม้

2) จากรูป จงหาว่าบ้านที่อยู่บนต้นไม้อยู่สูงจากพื้นดินเท่าไร

33
วิชาคณิตศาสตร์ (ค31102/ ค31192) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3) จากรูป จงหาความสูงของประภาคาร

34

You might also like