You are on page 1of 43

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |1

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ทบทวนความรู
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
รูปสามเหลี่ยมมุมฉากเปนรูปสามเหลี่ยมที่มมุ หนึ่งมุมเปนมุมฉาก
ตัวอยางเชน

เรียกดานที่เปนแขนของมุมฉากวา ดานประกอบมุมฉาก (legs of a right triangle)


เรียกดานที่อยูตรงขามมุมฉากวา ดานตรงขามมุมฉาก (hypotenuse) ซึง่ จะเปนดานที่ยาวที่สุดเสมอ

เลขยกกําลัง
ตัวอยาง จงหาคาในแตละขอตอไปนี้
32 = ...................................................................................................................

23 = ......................................................................................................................

52 − 42 =.....................................................................................................

52 + 132 =
....................................................................................................

ตัวอยาง จงหาคา x จากสมการในแตละขอตอไปนี้


(1) x 2 + 32 =
52 (2) 252 − x 2 =
72

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |2

1. ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ˆ
ABC ที่มีมุม ACB เปนมุมฉาก
B

c a

A C
b
เรียก AB วา ดานตรงขามมุมฉาก และ เรียก AC และ BC วา ดานประกอบมุมฉาก
โดยให a, b และ c เปนความยาวดานที่อยูตรงขามมุม A, B และ C ตามลําดับ

กําหนดให a, b, c จงหาคา a2, b2, c2 และ a2 + b2

a b c a2 b2 c2 a2 + b2

3 4 5

12 5 13

1.5 2 2.5

15 8 17

2.4 3.2 4

2.5 6 6.5

จากตาราง นักเรียนไดขอคนพบอะไรบาง
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................

จากตัวอยางการสํารวจเราจะไดขอสรุปสอดคลองกับทฤษฎีบท ดังนี้

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (Pythagoras' theorem)


สําหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆกําลังสองของความยาวดานตรงขามรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
เทากับผลบวกของกําลังสองของความยาวดานประกอบมุมฉาก

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |3

จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มีมุม ACB ˆ เปนมุมฉาก
โดยให a, b และ c เปนความยาวดานที่อยูตรงขามมุม A, B และ C ตามลําดับ ดังรูป
B

c a

A C
b
2
จะไดวา c= a2 + b2

 ความหมายในเชิงเรขาคณิตสามารถตีความ ทฤษฎีบทพีทาโกรัสไดวา
ในรูปสามเหลีย่ มมุมฉากใด ๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรสั บนดานตรงขามมุมฉากเทากับผลบวกของพื้นที่
ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานประกอบมุมฉาก
D

E B I

c a

A C H
b

F G
นั่นคือ พื้นที่สเี่ หลี่ยมจัตุรัส ABDE = พื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส ACGF + พื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส BCHI

ตัวอยางที่ 1 ในแตละขอตอไปนี้ จงหาความยาวของดานที่เหลือของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก


เมื่อตัวเลขที่กํากับแทนความยาวของดานมีหนวยเปนความยาว
(1) B (2)
Y
c 2.5
8 0.7

A C X Z
6 y

........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |4

Q
(3) (4)
p A
6 c
R 8
B
6.5 C 17
P
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................

(5) (6) Y
A 3.5 B 5
1.4
1.2
b X y Z
C
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................
........................................................... ...........................................................

ตัวอยางที่ 2 กําหนด ∆ ABC เปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว โดยที่ AC = BC และ มีความยาวดาน ดังรูป


(1) จงหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยม ABC
C

A B
12

(2) C จงหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยม ABC

2.5
0.7

A B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |5

(3) A จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC


26

C 24

(4) A 3 B จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC

2.5

C
ตัวอยางที่ 3 จงหาความยาวของรอบรูปของรูปเหลี่ยมแตละขอตอไปนี้
เมื่อตัวเลขที่กําหนดแทนความยาวดาน
(1) .............................................................
5
.............................................................
.............................................................
4 .............................................................
.............................................................
8
(2) .............................................................
.............................................................
15 .............................................................
12 .............................................................
.............................................................

14

(3) .............................................................
.............................................................
24 .............................................................
.............................................................
.............................................................
5 16 .............................................................

(4) .............................................................
.............................................................
12.5
.............................................................
.............................................................
6 .............................................................
.............................................................
8

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |6

ตัวอยางที่ 4 ในแตละขอตอไปนี้ จงหาคา x และ y


(1)

20 y
13

x 5

(2)

17
10 8

x
y

(3)

y
3.75

2.5
1.5
x

(4)

20
3
5 x

3 y

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |7

ตัวอยางที่ 5 จากรูป จงหาระยะทาง AB

(1)
A 8

12

13

(2)
12 B
4
1
2
5
6

ตัวอยางที่ 6 จากรูป กําหนดให PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก


ถารูปสี่เหลี่ยมคางหมู STQR มีพื้นที่เทากับ 104 ตารางหนวย
จงหาความยาวรอบรูปสามเหลี่ยม PST

P T 10 Q

S R
16

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |8

ตัวอยางที่ 7 กําหนดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากดังรูป จงหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

2.4
3.2

ตัวอยางที่ 8 กําหนดรูปสี่เหลี่ยมุมฉาก ABCD โดยมี AB = 12 หนวย , BC = x – 5 หนวย


และ AC = x + 1 หนวย จงหาพื้นที่ของสี่เหลีย่ ม ABCD
D C

x +1 x −5

A 12 B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |9

แบบฝกหัด
1. จํานวนที่กําหนดในแตละขอตอไปนี้แทนความยาวของดานประกอบมุมฉากรูปหนึ่ง
จงหาความยาวดานตรงขามมุมฉาก
(1) 9 และ 12 (2) 20 และ 21

(2) 3 และ 1.25 (4) 0.8 และ 1.5

2 1
(5) 2 และ 7 (6) 2.4 และ 4
5 2

2. กําหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากในแตละขอตอไปนี้ จงหาความยาวดานที่เหลือ

(1) (2) 2.1


0.3

0.4
2.9

(3) (4)
3.5

20 12 12.5

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |10

3. กําหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากในแตละขอตอไปนี้ จงหาความยาวรอบรูป
(1) (2)
7.2
3.6
3.9

9.6

(3) (4)
3.6
2.7
15
12

4. จากรูปที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้จงหาระยะ MN
(1) (2)
N
U M

12
Z N Y
V
P Q
2
9 W 5 X
M 7.4

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |11

5. จากรูป จงหาระยะทาง AB
(1) (2) 1.8
B
0.7
A 1.3
0.7
1.8
1.7
1.2
0.7
A
0.5

0.7
B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |12

6. กําหนด ∆ ABC เปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว โดยที่ AC = BC และ มีความยาวดาน ดังรูป


(1) จงหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยม ABC
C

16

A B
24

(2) C จงหาความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยม ABC

1.7
1.5

A B

(3) A จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC


6.5

C 6

(3) จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC


A 7 B

12.5

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |13

7. จงหาความยาวของรอบรูปของรูปเหลี่ยมแตละขอตอไปนี้ เมื่อตัวเลขที่กําหนดแทนความยาวดาน
(1) 10

25

34

(2)

10

2.5
6.5

(3)

12

2.5 8

1.5
(4)
2

4
3

(5)
17

15

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |14

8. ในแตละขอตอไปนี้ จงหาคา x, y และพืน้ ที่แรเงา


(1)

34 y
20

x 12

(2)

x
10 8

9
y

(3)

y
32
24

x 32

(4)

y
12.5

8.5
4
x

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |15

9. จงหาคา x ที่ทําใหความยาวดานในรูปสามเหลี่ยมที่กําหนดตอๆไปนี้เปนความดานสามเหลี่ยมมุมฉาก
(1)

25
3x

4x

(2)
x + 0.5
3.5

10. กําหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม ˆ


ABC เปนมุมฉาก AB = 15 หนวย และ
AC = 25 หนวย ดังรูป จงหา C

(1) พื้นที่ ∆ABC D 25

(2) พื้นที่ ∆A BD
(3) พื้นที่ ∆ACD
B 15 A

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |16

11. กําหนดรูปสี่เหลี่ยมุมฉาก ABCD โดยมี AB = 15 หนวย , BC = x หนวย


และ AC = x + 9 หนวย จงหาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของสี่เหลี่ยม ABCD
D C

x+9 x

A 15 B

12. กําหนดรูปสี่เหลี่ยมุมฉาก ABCD โดยี AB = 8 หนวย , BC = x – 2 หนวย


และ AC = x + 2 หนวย จงหาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของสี่เหลี่ยม ABCD
D C

x +2
x −2

A 8 B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |17

2. บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ในสมัยอียิปตโบราณ ชาวบานที่อาศัยอยูริมฝงแมน้ําไนลมักประสบปญหาน้ําทวมที่ดิน ซึ่งเมื่อน้ําลดจะไม
สามารถชี้แนวเขตที่ดินของตนได จึงตองมีการรังวัดที่ดินใหมอยูเสมอ ในสมัยนั้น เมื่อตองการรังวัดที่ดินใหเปนมุม
ฉาก ชาวบานจะใชเชือกที่แบงออกเปน 12 สวน เทากๆกัน โดยใชปม 11 ปม นํามาขึงใหตึงเปนรูปสามเหลี่ยมที่มี
ดานยาว 3 , 4 และ 5 หนวย ก็จะไดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีดานตรงขามมุมฉากยาว 5 หนวย

แนวคิดที่ชาวอียิปตนํามาใชในการแกปญหานี้สอดคลองกับบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ซึ่งมีดังนี้

บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส (Converse of Pythagoras' theorem)


สําหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถากําลังสองของความยาวดานดานหนึ่งเทากับผลบวกของกําลังสอง
ของความยาวดานอีกสองดาน แลวรูปสามเหลี่ยมนั้นเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

จากบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 ในกรณีที่ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมใดๆ
ถา a, b และ c เปนดานของรูปสามเหลี่ยม โดยที่ c เปนดานที่ยาวที่สุดแลว จะไดวา
1. ถา c2 < a2 + b2 แลว สามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมแหลม
2
2. ถา c= a2 + b2 แลว สามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
3. ถา c2 > a2 + b2 แลว สามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมปาน

ตัวอยางที่ 1 กําหนดให ∆ABC มีดานยาวตรงขามมุม A มุม B และ มุม C ยาว a หนวย b หนวย และ c
หน ว ย ตามลํ า ดั บ อยากทราบว า ∆ABC เป น สามเหลี่ ย มมุ ม ฉากหรื อ ไม และถ า ไม ใ ช
สามเหลี่ยม ∆ABC เปนสามเหลี่ยมุมแหลมหรือสามเหลี่ยมมุมปาน
(1) a = 21 , b = 72 , c = 75
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 = .................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |18

(2) a = 10 , b = 21 , c = 29
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 = .................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................
(3) a = 2.5 , b = 1.5 , c = 2
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 = .................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................
(4) a = 1.5 , b = 3.9 , c = 3.6
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 = .................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................
ตัวอยางที่ 2 กําหนดรูป ∆ABC ในแตละขอตอไปนี้ จงแสดงวา ∆ABC เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก
(1) C

12

A 9 D 16 B

(2)
A

17
8

C
D 6 B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |19

ตัวอยางที่ 3 จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวดานเทากับ 16, 34 และ 30 หนวย

ตัวอยางที่ 4 กําหนดรูป ∆ABC ในแตละขอตอไปนี้ จงหาพื้นที่ของ ∆ABC

15 20
12

A D B

ตัวอยางที่ 5 ชางกอสรางคนหนึ่งกอสรางอาคารหลังหนึ่ง เขาตองการสํารวจวา ผนังอาคารที่กอสรางอยูใน


แนวดิ่งหรือไม เขาจึงนําบันไดตรงอันหนึ่งยาว 24 ฟุต วาดพวาดกับผนังอาคาร พบวา ณ จุดที่
ปลายบนของบันไดแตะกับผนัง วัดตามแนวผนังจนถึงพื้นดินยาว 22 ฟุต และปลายอีกดานหนึ่ง
ของบันไดอยูหางจากผนังอาคารวัดตามแนวราบได 6 ฟุต อยากทราบวา ผนังอาคารที่เขาสรางนี้
อยูในแนวดิ่งหรือไมเพราะเหตุใด

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |20

ตัวอยางที่ 6 จงแสดงวาสามเหลี่ยมทีม่ ีความยาวดานเปนจํานวนเต็มไดแก


n2 − 1 n2 + 1
n, และ
2 2
เมื่อ n เปนจํานวนเต็มคี่ที่มากกวา 1 เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

ตัวอยางที่ 7 จงแสดงวาสามเหลี่ยมทีม่ ีความยาวดานเปนจํานวนเต็มไดแก


2n , n2 − 1 และ n2 + 1
เมื่อ n เปนจํานวนเต็มคี่ที่มากกวา 1 เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

ตัวอยางที่ 8 กําหนดให a, b และ c แทนความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมี c เปนความยาว


ของดานตรงขามมุมฉาก ถา k เปนจํานวนบวกใด ๆ แลว สามเหลี่ยมที่มีความยาวดานเปน ka,
kb และ kc จะเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

หมายเหตุ
(1) จากตัวอยาง 8. ถาเราสามารถหาสามจํานวนที่แทนความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งแลว
เราสามารถที่จะหาจํานวนสามจํานวนอื่นๆ ไดอีกมากมาย ที่แทนความยาวของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากดวย
วิธีการ ยอ หรือ ขยาย สวนของรูปสามเหลี่ยมเดิมได
(2) จากตัวอยางที่ 6, 7 จะไดแนวคิดในการหาความยาวดานของสามเหลี่ยมที่เปนจํานวนเต็มและเปนความยาว
ดานของสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังนี้

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |21

สูตรของพีทาโกรัส (Pythagoras)
n2 − 1 n2 + 1
ถากําหนดให n เปนจํานวนคี่ที่มากกวา 1 จะไดวา n, และ
2 2
เปนจํานวนเต็มที่สอดคลองกับทฤษฎีบทของปทาโกรัส ดังนี้
a = n n2 − 1 n2 + 1 2
c= a2 + b2
b= c=
2 2
3

สูตรของพลาโต (Plato)
ถากําหนดให n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 จะไดวา 2n, n2 − 1 และ n2 + 1 เปนจํานวนเต็มที่
สอดคลองกับทฤษฎีบทของปทาโกรัส ดังนี้
n a = 2n b n2 − 1
= c n2 + 1
= 2
c= a2 + b2
2

ตัวอยางที่ 9 จงหาความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่เหลือที่เปนจํานวนเต็ม เมื่อ


(1) มีดานประกอบมุมฉากดานหนึ่งยาว 28

(2) มีดานประกอบมุมฉากดานหนึ่งยาว 17

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |22

(3) มีดานตรงขามมุมฉากยาว 50

(4) มีดานตรงขามมุมฉากยาว 61

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |23

แบบฝกหัด
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. กําหนดให ∆ABC มีดานยาวตรงขามมุม A มุม B และ มุม C ยาว a หนวย b หนวย และ c หนวย ตามลําดับ
อยากทราบวา ∆ABC เปนสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม และถาไมใชสามเหลี่ยม ∆ABC เปนสามเหลี่ยมมุม
แหลมหรือสามเหลี่ยมมุมปาน
(1) a = 11 , b = 60 , c = 61
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 =
.................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................
(2) a = 20 , b = 10 , c = 12
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 =
.................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................
(3) a = 0.6 , b = 1.2 , c = 1.4
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 =
.................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................
(4) a = 0.5 , b = 1.3 , c = 1.2
a2 = .................................................................................................
b2 = .................................................................................................
c2 = .................................................................................................
จะพบวา ...............................................................................................
ดังนั้น ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ...............................................................

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |24

2. กําหนดรูป ∆ABC ในแตละขอตอไปนี้ จงแสดงวา ∆ABC เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก


C
(1)

60

36
B

45

(2)
A

65

B
C
25 114

3. กําหนดให ∆ABC มี CD ตั้งฉากกับ AB ที่จุด D


จงพิจารณาวาความยาวที่กําหนดใหในขอใด ทําให ∆ABC เปนรูปสามเหลี่ยมุมฉาก เพราะเหตุใด
(1) AC = 13 , BC = 15 , CD = 12

(2) AC = 10 , BC = 17 , CD = 8

(3) AC = 3 , BC = 4 , CD = 2.4

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |25

4. ชายคนหนึ่งตองการตรวจสอบวา ผนังบานตั้งฉากกับพื้นดินหรือไม เขาจึงทําเครื่องหมายที่ผนังบานสูงจากพื้น


ขึ้นไป 8 ฟุต แลวใชปลายขางหนึ่งของเชือกผูกที่จุดซึ่งทําเครื่องหมายไวนั้น ปลายเชือกอีกขางหนึ่งผูกไวที่หลักที่ปก
อยูบนพื้นดิน ดังรูป ถาความยาวของเชือกหลังจากผูกแลวเปน 10 ฟุต ระยะระหวางหลักกับบานควรเปนเทาไร จึง
จะบอกวาผนังบานตั้งฉากกับพื้นดิน

10 ฟุต

5. ประสิ ท ธิ์ ต อ งการจ างช างทํ าโต ะ วางของสํ าหรั บ วางเข ามุ ม ห อ งซึ่ งเป น มุ ม ฉาก แต คุ ณ แม บ อกวา มี โต ะ รู ป
สามเหลี่ยมมุมฉากอยูแลว โดยโตะดังกลาวมีความยาวแตละดานเปน 60 เซนติเมตร 150 เซนติเมตร และ 140
เซนติเมตร อยากทราบวาโตะตัวนี้จะวางเขามุมหองไดพอดีหรือไมเพราะเหตุใด

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |26

6. รูปสี่เหลี่ยมดานขนานรูปหนึ่งมีดานยาว 7 เซนติเมตร และ 12 เซนติเมตร มีเสนทแยงมุม เสนหนึ่งยาว 15


เซนติเมตร รูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นจากเสนทแยงมุมนีเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม ถาไมเปน แลวเสนทแยงมุม
อีกเสนหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมดานขนานรูปนี้จะยาวหรือสั้นกวา 15 เซนติเมตร

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |27

3. สถานการณปญหาที่นําทฤษฎีบทพีทาโกรัสไปใช
ตัวอยางที่ 1 กําหนดโครงหลังคาหนาจั่วมีสวนประกอบตางๆดังภาพ

จันทัน
หนาจั่ว ดั่ง

ขื่อ

ถาจันทันของโครงหลังคาบานหลังหนึ่งยาว 4.6 เมตร ดั้งยาว 1.6 เมตร และขื่อยาว 6 เมตร ชายคาจะมีความยาว


เทาใด

ตัวอยางที่ 2 บันไดอันหนึ่งเปนบันไดตรงยาว 5 เมตร วางพาดผนังตึกซึ่งอยูในแนวดิ่ง โดยใหปลายบันได


ดานบนอยูสูงจากพื้นดิน 4.80 เมตร
(1) จงหาวาปลายบันไดอีกดานหนึ่งอยูหางจากผนังดึกเทาใด
(2) ถาตองการให ปลายบันไดดานลางอยูหางจากผนังตึก 2 เมตร และปลายบนอยูที่
ตําแหนงเดิม ควรเปลี่ยนบันไดใหยาวขึ้นหรือสั้นลง และยาวเทาใด

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |28

ตัวอยางที่ 3 ลูกเสือกองหนึ่งออกเดินทางไกลจากโรงเรียนไปยังคายพักแรมแหงหนึ่ง จากแผนทีท่ ี่นายกอง


ไดรับ พวกเขาจะตองเดินทางจากโรงเรียนไปทางทิศตะวันออก 7 กิโลเมตร แลวเลี้ยวซายตรงไป
ทางทิศเหนือ 3.5 กิโลเมตร จากนั้น เลี้ยวขวาตรงไปทางทิศตะวันออกอีก 5 กิโลเมตร จึงจะถึง
คายพักแรม อยากทราบวาคายพักแรมนี้อยูหางจากโรงเรียนี่กิโลเมตร

ตัวอยางที่ 4 กําหนดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCDEFGH ดังรูป มี AB = 12 เซนติเมตร


AD = 9 เซนติเมตร และ BG = 8 เซนติเมตร ดังรูป จงหาความยาวของ BE

H E

G F

8
C D
9
B 12 A

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |29

ตัวอยางที่ 5 ∆ABC ˆ
เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ทีม่ ี ABC เปนมุมฉาก กําหนด AB = 6 หนวย และ
BC = 8 หนวย สวนโคงบนแตละดานของรูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปครึ่งวงกลมที่สม ั ผัสกับ
รูปสี่เหลี่ยม MNOP ดังรูป จงหาวารูปสี่เหลี่ยม MNOP มีพื้นที่ประมาณกี่ตารางหนวย

10
6

B C

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |30

แบบฝกหัด
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มดี านประกอบมุมฉากดานหนึ่งยาว 7 เซนติเมตร และดานตรงขาม
มุมฉากยาว 25 เซนติเมตร

2. กําหนดให ∆PQR เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่ RS ตั้งฉากกับ PQ ที่จุด S ดังรูป


ถา RP = 15 หนวย และ QR = 8 หนวย จงหา
(1) พื้นที่ของ ∆PQR
(2) ความยาวของ PQ
(3) ความยาวของ RS
Q

S
8

R 15 P

3. รานขายน้ําปนแหงหนึ่ง ตองการซื้อหลอดมาใชกับแกวใสน้ําปนซึ่งมีลกั ษณะเปนทรงกระบอก เจาของรานจึงวัด


ขนาดแกว พบวา แกวสูง 6 นิ้ว และมีเสนผานศูนยกลางยาว 2.5 นิ้ว อยากทราบวาเจาของรานจะตองซื้อหลอดที่มี
ความยาวไมนอยกวากี่นิ้ว เพื่อใหหลอดไมมโี อกาสที่จะอยูต่ําวาขอบแกว

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |31

4. บานของมาวิน โรงเรียน และรานอาหารของคุณแม อยูในตําแหนงเปนจุดยอดของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดย


รานอาหารอยูหางจากบานของมาวิน 1.5 กิโลเมตร และอยูหางจากโรงเรียน 2 กิโลเมตร ดังรูป ตอนเชามาวินขี่
จักรยานจากบานตรงไปที่โรงเรียนโดยไมผานรานอาหาร แตทุกๆวันหลังเลิกเรียนมาวิน ตองมาชวยคุณแมเกบของ
และทําความสะอาดรานอาหารกอนที่จะกลับบาน อยากทราบวาในแตละวัน มาวิ น จะขี่ จั ก รยานเป น ระยะทาง
อยางนอยกี่กิโลเมตร

 โรงเรียน

 รานอาหาร

บานของมาวิน

5. บานของวิภามีสระบัว ซึ่งลึก 0.80 เมตร คุณพอของเธอไดซื้อโคมไฟลอยน้ําเพื่อมาประดับสระบัวเพิ่มเติม โดย


โคมไฟลอยน้ําที่ซื้อมานี้มีเชือกสําหรับรั้งโคมไฟไมใหลอยไปไกล ซึ่งเชือกนี้จะยึดไวกับพื้นสระบัว ถาเชือกสําหรับรั้ง
โคมไฟนี้ยาว 1 เมตร จงหาวาโคมไฟลอยน้ํานี้จะลอยหางจากจุดบนผิวน้ําที่ตรงกับจุดยึด เชือกที่กนสระไดไมเกินกี่
เมตร

จุดยึด

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |32

6. เราใชความยาวของเสนทแยงมุมของหนาจอเครื่องรับโทรทัศน เพื่อบอกขนาดของเครื่องรับโทรทัศน ใหญซื้อ


เครื่องรับโทรทัศนแบบไรขอบ ขนาดจอ 42 นิ้ว สูง 20 นิ้ว และมีฐานตั้งเครื่องรับโทรทัศนสูง 5 นิ้ว มาใหคุณแม
เครื่องหนึ่ง ถาที่บานของคุณแมมีชั้นวางของที่มีลักษณะเปนชองรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 35 นิ้ว และสูง 30 นิ้ว
อยากทราบวาเครื่องรับโทรทัศนเครื่องนี้จะวางที่ชั้นวางของนี้ไดหรือไม เพราะเหตุใด

42 นิว้

7. บันไดขึ้นลงจากเครื่องบิน ถาเครื่องบินไมไดเขามาเทียบทาที่สะพานเทียบเครื่องบินก็จะมีบันไดเทียบเครื่องบิน
สําหรับใหผูโดยสารขึ้น-ลงจากเครื่องบิน ซึ่งบันไดเทียบเครื่องบินจะมีทางเดินกอนลงบันได ถาบันไดเทียบเครื่องบิน
อันหนึ่งมีทางเดินกอนลงบันไดขั้นแรกยาว 1.20 เมตร ความยาวของบันไดเปน 6 เมตร และบันไดขั้นสุดทายอยูสูง
จากพื้น 0.25 เมตร เมื่อเทียบบันไดกับเครื่องบินแลว เชิงบันไดจะอยูหางจากแนวประตูเครื่องบิน 6 เมตร ดังรูป
อยากทราบวาทางเดินกอนลงบันไดจะอยูสูงจากพื้นกี่เมตร
1.2 ม.

6 ม.

6 ม.

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |33

8. บันไดยาว 6.5 เมตร วางพิงผนังตึก ใหเชิงบันไดหางจากผนัง 2.5 เมตร อยากทราบวา


(1) ปลายบนของบันไดอยูสูงจากพื้นกี่เมตร
(2) ถาตองการพิงบันไดใหปลายของบันไดอยูสูงจากพื้นนอยกวา 6 เมตร ควรจะวางเชิงของบันไดหาง
จากผนังตึกมากกวาหรือนอยกวา 2.5 เมตร เพราะเหตุใด

9. เสาธงตนหนึ่ง ตั้งตรงอยูดวยเสาขางสองตนซึ่งมีสลักยึดติดอยู 2 ตัว โดยสลักตัวบนอยูสูงจากพื้นดิน 2.5 เมตร


นายสมศักดิ์ตองการทาสีเสาธง จึงถอดสลักตัวลางแลวหมุนเสาธงลงมาจนกระทั่งยอดเสาธงแตะพื้น และทําใหยอด
เสาธงหางจากแนวโคนเสาขาง 6 เมตร ดังรูป อยากทราบวาเสาธงตนนี้เมื่อตั้งตรงยอดเสาธงจะอยูสูงหางจาก
พื้นดินกี่เมตร

6 เมตร

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |34

10. โรงเรียนแหงหนึ่งตั้งอยูริมแมน้ํา ทุกๆป โรงเรียนแหงนี้จะจจัดงานลอยกระทง เพื่อใหชาวบานในชุมชนรอบ


โรงเรียนไดมารวมงาน ในปนี้ คณะกรรมการจัดงานตองการประดับธงราวระหวางหลังคาของอาคารเรียนสองหลัง
ซึ่งอาคารเรียนหลังแรกสูง 15 เมตร อาคารเรียนหลังที่สองสูง 10 เมตร และอาคารเรียนทั้ ง สองหลั ง ห า งจาก 12
เมตร อยากทราบวา
(1) ถาตองการผูกธงราวใหเปนสายโยงระหวางอาคารเรียนสองหลังดังรูป
ตองใชธงราวที่ยาวอยางนอยกี่เมตร

15 เมตร 10 เมตร

12 เมตร

(2) ถามีธงราวยาว 33 เมตร อยูสายหนึ่ง และตองการผูกธงราวจากมุมของอาคารเรียนหลังหนึ่ง


ไปยังอีกมุมอาคารเรียนอีกหลังหนึ่ง ดังรูปจะสามารถทําไดหรือไม เมื่อทราบวาอาคารเรียนแตละ
หลังยาว 32 เมตร ถาทําไดจะเหลือธงราวกี่เมตร และถาไมไดจะตองหาธงราวเพิ่มอีกอยางนอย
กี่เมตร

32 เมตร

15 เมตร 10 เมตร

12 เมตร

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |35

11. ลีโอเปนนักกีฬาเบสบอล เขาไดรับการคัดเลือกใหไปแขงฟุตบอลในตางประเทศแตเขายังจะหากระเปาเดินทาง


ใบใหม จึงหาซื้อกระเปาเดินทางจากเว็บไซตขายของแหงหนึ่ง ซึ่งประกาศขายประเปาเดินทาง 3 แบบ ดังนี้

รูปแบบกระเปา แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3


ความกวางภายใน (นิ้ว) 14 15 17

ความยาวภายใน (นิ้ว) 20 22 23

ความลึกภายใน (นิ้ว) 10.5 11 10

ราคา(บาท) 1,990 2,290 2,490

ลิโอตองการนําไมเบสบอล ซึ่งมีลักษณะคลายทรงกระบอกยาว 26 3 นิ้ว เสนผานศูนยกลางประมาณ


4
1
2 นิ้ว ใสลงในกระเปายาวใบนี้ดวย อยากทราบวา ลิโอควรจะซื้อกระเปาแบบใดจึงจะสามารถบรรจุไม
2
เบสบอลได และมีราคาถูกที่สดุ

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |36

12. จากสถิติการวายน้ําของณิชานันทซึ่งเปนนักกีฬาของจังหวัด พบวาอัตราเรวสูงสุดในการวายน้ําที่ณิชานันทเคย


ทําไดคือ 6 กิโลเมตรตอชั่วโมง วันหนึ่ง ณิชานันทไปซอมวายน้ําที่สระรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากซึ่งกวาง 25 เมตร และ
ยาว 50 เมตร และกําลังพักอยูที่มุมสระ เธอเห็นเด็กคนหนึ่งกําลังจะจมน้ําอยูที่มุมสระฝง ตรงขามกับเธอ ณิชานันท
จึงวายน้ําไปชวยเด็กคนนั้น โดยเธอใชเวลาตั้งแตออกวายจนถึงเด็กประมาณ 30 วินาที อยากทราบวาอัตราเร็วใน
การวายน้ําในครั้งนี้มากกวาหรือนอยกวาอัตราเร็วตามสถิติที่ณิชานันทเคยทําได

13. เด็กคนหนึ่งเลนวาววัดความยาวของเชือกที่อยูในแนวตรงได 100 เมตร ถามือที่ถือเชือกของเด็กคนนี้อยูสูงจาก


พื้นดิน 1 เมตร และอยูหางจากแนวดิ่งของตัววาว 60 เมตร อยากทราบวา วาวอยูสูงจากพื้นดินกี่เมตร

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |37

14. ติดตั้งเสาอากาศโทรทัศนในระบบดิจิตอล จากพื้นดาดฟาขึ้นไปโดยขึงลวดยึดไวตามรูป ถาจุดที่ลวดมัดติดกับ


เสาอากาศอยูสูงจากพื้น 9.60 เมตร และปลายอีกดานหนึ่งของลวดยึดติดกับพื้นดาดฟา ซึ่งอยูหางจากเสาอากาศ
ตาแนวราย 7.20 เมตร ความยาวของลวดที่ขึงอยางนอยกี่เมตร

15. ชายคนหนึ่งออกจากบานไปที่ทํางาน โดยมีรายละเอียดการเดินทางเปนดังนี้ ไปทางทิศตะวันออก 3 กิโลเมตร


ทิศเหนือ 4 กิโลเมตร ตะวันตก 2 กิโลเมตร ทิศเหนือ 2 กิโลเมตร ทิศตะวันออก 5 กิโลเมตร และทิศเหนือ 2
กิโลเมตร ถึงทีท่ ํางาน บานของเขาอยูหางจากที่ทํางานในแนวตรงกี่กิโลเมตร

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |38

แบบฝกหัด
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. จงหาคา x จากภาพในแตละขอตอไปนี้
(1)

8
5
x

(2) 40

30
x

(3)

13
16

3
4 x

(4)

x
4 5

4.5

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |39

(5)

63 x 60

87

(6)

37

28 x

21 7.8

2. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู โดยที่ AB ขนานกับ CD และ AB = 68 หนวย


CD = 20 หนวย BC = DA = 26 หนวย จงหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม ABCD
D C

A B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |40

3. กําหนดพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC โดยมี AB = 13 หนวย BC = 14 หนวย และ CA = 15 หนวย จงหาพื้นที่


สามเหลี่ยม ABC
A

15 13

B C
14

4. ที่ดินแปลงหนึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยม ABCD ถา AE และ CF ตั้งฉากกับ BD และ AB = 25 วา CD = 15 วา


BF = 17 วา BD = 26 วา DE = 6 วา จงหาพื้นที่ของที่ดินแปลงนี้
C

E
D B
F

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |41

5. จากรูป กําหนดให BC = 10 หนวย BD = 17 หนวย CD = 9 หนวย จงหาพื้นที่ สามเหลี่ยม ABC

9
17

C
10

A B
5. จากรูป กําหนดให AD = 26 หนวย BD = 22 หนวย BC = 20 หนวย จงหาพื้นที่ สามเหลี่ยม ADE
C

E
20

B 22 D 26 A

6. จากรูป ถา AC + AB = 31 หนวย แลวพื้นที่สเี่ หลี่ยม ABCD เทากับเทาใด

D 10 C

26

A B

คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หนา |42

7. จากรูปกําหนดใหสี่เหลี่ยม ABCE เปนสี่เหลี่ยมคางหมู มีพื้นที่ 18 ตารางหนวย โดยที่ AE = BD


และ AD = BC = 2BD แลวพืน้ ที่ สี่เหลี่ยม CEFG เทากับกี่ตารางหนวย
G

A D B

8. จากรูป วงกลม A และ B มีรศั มียาว 8 และ 3 นิ้ว ตามลําดับ ถาวงกลม 2 วงนี้หางกัน 2 นิ้ว เสนตรง L
สัมผัสกับวงกลม A และวงกลม B ที่จุด P และจุด Q ตามลําดับ จงหา PQ
P
Q

A
2 นิ้ว
B


คณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนธรรมศาสตรคลองหลวงวิทยาคม

You might also like