You are on page 1of 10

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 93

เส้ นขนานและมุมภายใน
ให้นกั เรี ยนยกตัวอย่างของสิ่ งที่มีลกั ษณะของเส้นขนานมา 3 สิ่ ง
…………………………………………………………………………………………………………
การขนานกันของเส้ นตรงมีบทนิยามดังนี้
บทนิยาม เส้นตรงสองเส้นที่อยูบ่ นระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงทั้งสองเส้นนั้น
ไม่ตดั กัน

A B เมื่อ AB และ CD ขนานกัน อาจกล่าวว่า


AB ขนานกัน CD หรื อ CD ขนานกัน AB
อาจเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ AB // CD หรื อ
C D
CD // AB
เราสามารถกล่าวว่าส่ วนของเส้นตรงหรื อรังสี ขนานกันเมื่อส่ วนของเส้นตรงหรื อรังสี น้ นั เป็ น
ส่ วนหนึ่งของเสนตรงที่ขนานกัน เช่น
1. Q 2. K L
S

M N
P
R
PQ // RS …………………
3. D 4. T
B Y
S
A C
X
………………… …………………
ในการเขียนรู ปเส้นตรง ส่ วนของเส้นตรง หรื อรังสี ที่ขนานกัน อาจใช้ลูกศรแสดงเส้นที่ขนาน
กัน ดังตัวอย่างในรู ป
B D
แสดงว่า AB // CD
และ …………………
A C E
ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15
94 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ระยะห่ างระหว่ างเส้ นขนาน


พิจารณารู ปต่อไปนี้
X B
A E

C F Y D
กําหนดให้ AB และ CD อยูบ่ นระนาบเดียวกัน E และ X เป็ นจุดที่แตกต่างกันบน AB
ลาก EF ตั้งฉากกับ CD ที่จุด F และลาก XY ตั้งฉากกับ CD ที่จุด Y
เรี ยก EF ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB และ CD ที่วดั จากจุด E
และ เรี ยก XY ว่า ระยะห่ างระหว่าง AB และ CD ที่วดั จากจุด X
ในกรณี ที่ AB และ CD ไม่ขนานกัน จะได้วา่ EF XY นัน่ คือระยะห่างระหว่ าง AB
และ CD ที่วดั จากจุดที่แตกต่างกันบน AB จะไม่เท่ากัน

ในกรณี ที่ AB ขนานกัน CD จะได้วา่ EF = XY นัน่ คือระยะห่างระหว่ าง AB และ CD


ที่วดั จากจุดที่แตกต่างกันบน AB จะเท่ากันเสมอ

A E X B

C F Y D

ในกรณี ทวั่ ไป ถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นขนานกัน แล้ วระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงคู่น้ ันจะเท่ ากันเสมอ
และในทางกลับกัน ถ้ าเส้ นตรงสองเส้ นมีระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงเท่ ากันเสมอ แล้ วเส้ นตรงคู่น้ ันจะ
ขนานกัน
ในทางปฏิบตั ิ เมื่อต้องการตรวจสอบว่า เส้นตรงสองเส้นที่กาํ หนดให้ขนานกันหรื อไม่ อาจ
ตรวจสอบระยะห่างระหว่างเส้นตรงทั้งสองที่วดั จาดจุดที่แตกต่างกันอย่างน้อยสองจุดบนเส้นตรง
หนึ่งก็เพียงพอ

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 95

สารวจ ตรวจสอบ เส้ นขนาน

จากรู ปที่กาํ หนด ให้นกั เรี ยนพิจารณาว่าเส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน

1. 2.
Q
 S K L
P
R 
M N

................................................................. .................................................................

3. 4.
D T
B S 
Y
C

A X

................................................................. .................................................................

มุมภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด

M B
 N
u x

 v y 
P A Q

จากรู ป AB เรี ยกว่า เส้ นตัด AB


เรี ยก x̂ และ ŷ ว่า มุมภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด AB และ
เรี ยก û และ v̂ ว่า มุมภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัด AB ด้วย
ในการเขียนรู ปเส้นตัด AB อาจใช้ AB หรื อ AB แทน AB ก็ได้

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


96 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

สารวจ ตรวจสอบ มุมภายใน


ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ให้นกั เรี ยนบอกมุมคู่ที่เป็ นมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด

1. A P B 2. B
a b M 
A p r
 c d q s 
C 
Q  C N D
D

â กับ ĉ และ…………………. p̂ กับ q̂ และ………………….


A
3. 
M 4. M B
x y B  c D
  d aN
C b
a b
N  A
D C

………………….…………………. ………………….………………….

สารวจ ตรวจสอบ เส้ นขนานและมุมภายใน

X
1. ในแต่ละข้อกําหนดให้ AB และ CD ไม่ขนานกัน มี XY เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่าขนาดของ
มุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่ากับ 180 องศา หรื อไม่
1) 2)
X B A X B
A 

C
   
C Y D Y D

…………………………………….. ……………………………………..

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 97

x
2. ในแต่ละข้อกําหนดให้ AB และ CD ขนานกัน มี XY เป็ นเส้นตัด จงสํารวจว่าขนาดของมุม
ภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่ากับ 180 องศา หรื อไม่
1) A X B 2) A X B
  

   
C Y D C Y D
…………………………………….. ……………………………………..
0
3. กําหนดให้ AB และ CD มี XY เป็ นเส้นตัด และมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด
รวมกันเท่ากับ 180 องศา จงสํารวจว่า AB และ CD ขนานกันหรื อไม่

A X B
135
…………………………….
 45 
C Y D
จากคําตอบที่ได้จากข้อ 1, 2 และข้อ 3 ได้ผลสรุ ปที่เป็ นไปตามสมบัติของเส้นขนานดังนี้
เมื่อเส้ นตรงเส้ นหนึ่งตัดเส้ นตรงคู่หนึ่ง เส้ นตรงคู่น้ ันขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขนาดของมุม
ภายในทีอ่ ยู่บนข้ างเดียวกันของเส้ นตัดรวมกันเท่ ากับ 180 องศา

นาไปใช้
E
A B
1 3
ˆ1+2ˆ=180o
ˆ3+4ˆ=180o 
2 4 ญ 
ˆ3+4ˆ=180o
C D
F

AB จะขนานกับ CD ก็ต่อเมื่อ
1. ˆ1+2ˆ=180o หรื อ
2. ˆ3+4ˆ=180o

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


98 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ตัวอย่างที่ 1 AB และ CD ในแต่ละข้อขนานกันหรื อไม่ เพราะเหตุใด


1) 2)

วิธีทา 1) AB // CD
เพราะว่า ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
124 + 56 = 180 องศา
2) AB และ CD ไม่ขนานกัน
เพราะว่า ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ
94 + 90 = 184 องศา ซึ่ งไม่เท่ากับ 180 องศา

ตัวอย่างที่ 2 กําหนดให้ AB // CD จงหาค่า x ในแต่ละข้อ


1) 2)
°
°

× t 136 = 18 ง


" y
°

× = แนว -136 × +10 t 72 =


180
°
× = 44
tt & 2 =
18

X =
82
180
-

×

๑8
=

วิธีทา 1) เนื่องจาก AB // CD จะได้ x + 136 = 180


(ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
นัน่ คือ x = ……………
ดังนั้น x = ……………

2) เนื่องจาก AB // CD จะได้ x + 10 + 72 = 180


(ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
นัน่ คือ x + 82 = 180
x = ……………
ดังนั้น x = ……………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


ด้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 99

ตัวอย่างที่ 3 จากรู ป กําหนดให้ PQ // RS จงพิสูจน์วา่ ˆ1 = ˆ3

กาหนดให้ PQ // RS มี PR เป็ นเส้นตัด


ต้ องการพิสูจน์ ว่า ˆ1 = ˆ3
พิสูจน์ PQ // RS มี PR เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)
ˆ2+3=............
ˆ (…………………………………………………
…………………………………………………)
ˆ2+1ˆ=............ (ขนาดของมุมตรงข้าม)
จะได้ ˆ2+1ˆ= ˆ2+3ˆ (สมบัติการเท่ากัน)
ดังนั้น ........................ (นํา 2̂ มาลบทั้งสองข้างของสมการ)
ตัวอย่างที่ 4 กําหนดให้ AB // CD และ CD // EF ดังรู ป จงพิสูจน์วา่ AB // EF

กาหนดให้ AB // CD และ CD // EF
ต้ องการพิสูจน์ ว่า AB // EF
พิสูจน์ ลาก PQ ให้ตดั AB, CD และ EF ดังรู ป
AB // CD และมี PQ เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)
ˆ1+2ˆ=............ (ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของ
เส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
CD // EF และมี PQ เป็ นเส้นตัด (กําหนดให้)
ˆ3+4ˆ=............ (ขนาดของมุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้น
ตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา)

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


100 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

ˆ1+2+3+4
ˆ ˆ ˆ=180o +180o (สมบัติของการเท่ากัน)
แต่ ˆ2+3=............
ˆ (……………………………………)
จะได้ ˆ1+4ˆ=180o (สมบัติของการเท่ากัน)
ดังนั้น AB // EF (ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ทําให้ขนาดของ
มุมภายในที่อยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัด รวมกันเท่ากับ
180 องศา แล้วเส้นตรงคู่น้ นั ขนานกัน )

ในทํานองเดียวกัน ถ้ากําหนดให้ AB // CD และ CD // EF ดังรู ป จะสามารถพิสูจน์ได้วา่


AB // EF
A B

E F
C D

จากตัวอย่ างที่ 4 ถ้า AB // CD และ CD // EF แล้ว AB // EF กล่าวว่า การขนานกัน


ของเส้ นตรงมีสมบัติถ่ายทอด

กิจกรรมที่ 9.1 : ทักษะการให้ เหตุผล การสื่ อสาร สื่ อความหมาย


และการนาเสนอ
1. ให้นกั เรี ยนพิจารณาว่าเส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี้ขนานกันหรื อไม่ขนานกัน เพราะเหตุใด

1) 2)

 
 114
 76  89 

ไม่ขนานกัน เพราะว่า …………………………………………


76 + 114  180 …………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 9 เส้ นขนาน 101

3) 4) 
56

 
68
134 
 112  

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

5) 6) 
  
135 132
 50
 45  

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

2. กําหนดเส้นตรง m และ n ขนานกันและมีเส้นตัด ให้นกั เรี ยนหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อ


ต่อไปนี้
1) 2)
m  
m  
a \

b
/

n  60 n  

a = 180 o - 60 o …………………………………………
= 120 o …………………………………………
3) 4) 

m   d
c  125 
m
n  112 

n

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15


102 สื่ อเสริมสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ม.2

5) 6)

m   
135 y
 50
n 
x  m 
n

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
2. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เมื่อกําหนดให้ AB // CD
1. 2. X
x
101

………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
3. 4. 
B
X
A 77
(x 15) 

 D
Y

C
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………

ครู ครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรี ยนจันทร์ประภัสสร์อนุสรณ์ สพม.เขต 15

You might also like