You are on page 1of 47

ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ


บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
9.1 ระบบพิกดั ฉากสามมิติ
รู ปภาพต่อไปนี้ เป็ นรู ปแสดงพิกดั ฉากสามมิติตามกฏมือขวา
Z

(x,y,z)
O Y

แกน +Z จะมีทิศไปตามนิ้วหัวแม่มือ
แกน +X จะมีทิศตามหน้ามือ
แกน +Y จะมีทิศมาตามแขนขวา ดังรู ป
จุด ( x , y , z ) คือ จุดซึ่ งอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน X เท่ากับ x หน่วย
และอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน Y เท่ากับ y หน่วย
และอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน Z เท่ากับ z หน่วย
ฝึ กทา. จงเขียนจุด A (2 , 2 , –1) , B (1 , –3 , 2 ) , C (–1 , 3 , 3 ) ลงในระบบพิกดั ฉากสามมิติ
Z

3
Y
–3 3

การหาระยะระหว่ างจุด 2 จุด บนพิกดั สามมิติ


หากจุด ( x1 , y1 , z1) และ ( x2 , y2 , z2) เป็ นจุ ดซึ่ งอยู่บ นพิ ก ัด 3 มิ ติ ระยะห่ า ง
ระหว่างจุดทั้งสองสามารถหาค่าได้จากสมการ
d = (x1  x 2 ) 2  (y1  y 2 ) 2  (z1  z 2 ) 2
เมื่อ d คือระยะห่างระหว่างจุดทั้งสองนั้น

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1. ระยะทางระหว่างจุด A ( 1 , 0 , 3 ) และ B (–1 , 3 , 2 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 14 4. 20

9.2 เวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์ คือปริ มาณที่ตอ้ งบอกทั้งขนาด และทิศทางจึงจะสมบูรณ์
ปริมาณสเกลลาร์ คือปริ มาณที่บอกขนาดเพียงอย่างเดียวก็สมบูรณ์ได้
โดยทัว่ ไปแล้วเราจะใช้ลูกศรเขี ยนแทนเวกเตอร์ ท้ งั ขนาดและทิ ศทางของเวกเตอร์ และใช้
อักษรแทนจุดเริ่ มต้นกับจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ และอาจใช้อกั ษรจุดเริ่ มต้นกับจุดสุ ดท้ายนั้นมาเขียน
เป็ นชื่ อของเวกเตอร์ ก็ได้ นอกจากนี้ การเรี ยกชื่ อของเวกเตอร์ น้ นั อาจใช้อกั ษรเพียงตัวเดี ยวแทนชื่ อ
ของเวกเตอร์ ก็ได้ดงั รู ป
B C
v
A u
D
AB อ่านว่า "เวกเตอร์เอบี" CD อ่านว่า "เวกเตอร์เอบี" u อ่านว่า "เวกเตอร์ย"ู v อ่านว่า "เวกเตอร์ว"ี
สาหรับความยาวของเวกเตอร์ใดๆ อาจเขียนแทนด้วย   ได้เช่น
 AB  แทนความยาวของเวกเตอร์ AB
 u  แทนความยาวของเวกเตอร์ u
เวกเตอร์ ศูนย์ ( Zero Vector ) คือเวกเตอร์ ที่มีขนาดเท่ากับ 0 และมีทิศใดๆ ก็ได้ เขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ 0

ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1) P PQ อ่านว่า ..............................................
Q PQ คือ ..............................................
2) u u อ่านว่า ..............................................
u  u  คือ ..............................................

2
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
นิยามเบือ้ งต้ นของเวกเตอร์
นิยาม 1 u และ v จะขนานกันก็ต่อเมื่อ
u และ v มีทิศเดียวกันหรื อตรงกันข้าม

นิยาม 2 u และ v จะเท่ากันก็ตอ่ เมื่อ


เวกเตอร์ ท้ งั สองมีขนาดเท่ากันและมีทิศเดียวกัน

นิยาม 3 นิเสธของ u คือเวกเตอร์ที่มี


ขนาดเท่ากับขนาดของ u แต่มีทิศทางตรงกัน
ข้ามกับขนาดของ u เขียนแทนด้วย – u
โปรดสั งเกตุ
1) u จะขนานกับ – u เสมอ
2) ปกติแล้ว u  – u ยกเว้น u = 0 จะได้วา่ u = – u
3) – AB = BA
– DC = CD
PQ = – QP
ST = – TS
2. u จะขนานกับ v ก็ต่อเมื่อ
1. u และ v มีความยาวเท่ากัน 2. u และ v มีทิศเดียวกัน
3. u และ v มีทิศตรงกันข้าม 4. ข้อ 2. และข้อ 3. ถูก

3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ถ้า u ขนานกับ v แล้ว u = v
2. ถ้า u มีทิศเดียวกับ v แล้ว u = v
3. ถ้า u ยาวเท่ากับ v แล้ว u = v
4. ถ้า u = v แล้ว u มีทิศเดียวกับ v และ u ยาวเท่ากับ v

3
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
4. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. u มีทิศเดียวกับ – u 2. u มีทิศตั้งฉากกับ – u
3. u  – u เสมอ 4. AB = – BA

ฝึ กทา. ให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน ดังรู ป


จงหาเวกเตอร์ ที่เท่ากับเวกเตอร์ ที่ให้ ต่อไปนี้
(1) AB (2) BC (3) AE
(4) ED (5) – BC (6) – AE

การบวกเวกเตอร์
นิยาม ถ้าจุดปลายของ u เป็ นจุดเดียวกับจุดตั้งต้นของ v แล้ว u + v คือเวกเตอร์ซ่ ึงมี
จุดตั้งต้นเป็ นจุดเดียวกับจุดตั้งต้นของ u และมีจุดสิ้ นสุ ดเป็ นจุดจุดเดียวกับจุดสิ้ นสุ ดของ v
ตัวอย่าง

คุณสมบัติของการบวกเวกเตอร์
ให้ u , v และ w เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระนาบ แล้ว
(1) u + v เป็ นเวกเตอร์ ในระนาบเดียวกับ u , v
(2) u + v = v + u
(3) ( u + v ) + w = u + ( v + w )
(4) 0 + u = u และ u + 0 = u
(5) u + (– u ) = 0 และ (– u ) + u = 0
(6) ถ้า u = v แล้วจะได้ u + w = v + w
(7) u  k ไม่มีความหมาย เมื่อ k เป็ นสเกลลาร์ เช่น u + 8 ไม่มีความหมาย
4
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
การลบเวกเตอร์
นิยาม ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระนาบ
แล้ว u – v และ u + (– v )
จะเห็นว่าการลบเวกเตอร์ ก็คือการบวกด้วยนิ เสธของ
เวกเตอร์ น้ นั ๆ นัน่ เอง

ฝึ กทา. จงเขียนเวกเตอร์ PQ ให้อยูใ่ นรู ปผลบวก ลบ ของเวกเตอร์ a , b หรื อ c


1. Q
2. b 3. Q
4. b
a a c
c
b P
b P
P P Q
a Q a
PQ =................ PQ =................ PQ =................ PQ =................

ฝึ กทา. จากรู ปจงเขียนเวกเตอร์ ต่อไปนี้ในรู ปของ


เวกเตอร์ a , b , c , d , e หรื อ f
BD =
CA =
DB =
AF =
FA =
AE =
EA =

5. จากรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง


A B
1. AB + BC = AC
2. AE + ED = AB + BD F C

3. AF + FE + ED = AC + CD
4. AC + CD + DE = AF + FD E D

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
6. กาหนดจุด A , B , C , D , E และ F บนระนาบ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) DC + BA + CB + AD = 0
(ข) AB + DE + BC + EF + CA + FD = 0
(ค) AB – DC + BC – FE + DE – AF  0
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกเพียง 1 ข้อ 2. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกเพียง 2 ข้อ
3. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกทุกข้อ 4. ข้อความ (ก) – (ค) ผิดทุกข้อ

การคูณเวกเตอร์ ด้วยสเกลลาร์
นิยาม ให้ a เป็ นจานวนจริ งและ u เป็ นเวกเตอร์ ผลคูณระหว่าง a และ u เป็ น
เวกเตอร์ที่เขียนแทนด้วย a u โดยที่
1) ถ้า a > 0 แล้ว a u จะมีขนาดเท่ากับ a u
และมีทิศทางเดียวกับ u
2) ถ้า a < 0 แล้ว a u จะมีขนาดเท่ากับ a  u 
และมีทิศตรงกันข้ามกับ u
3) ถ้า a = 0 แล้ว a u = 0
คุณสมบัติของการคูณเวกเตอร์ ด้วยสเกลาร์
ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ใดๆ a และ b เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
(1) a u เป็ นเวกเตอร์
(2) a (b u ) = ( a b) u = b (a u )
(3) (a + b) u = a u + b u
(4) a ( u + v ) = a u + a v
(5) 1u = u
6
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ฝึ กทา. กาหนด u ดังรู ป u
จงหาเวกเตอร์ ต่อไปนี้
1. 2 u 2. –3 u 3. 0 u

คาชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ สาหรับ R


ตอบคาถาม 3 ข้อถัดไป 3u v
จากรู ป กาหนด PR = 3 u Q S
RS = v
P

7. QR เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –3 u 2. –2 u 3. 2 u 4. 3 u

8. PS เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + v 2. 2 u + v 3. –3 u – v 4. –2 u – v

9. SQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + v 2. 2 u + v 3. –3 u – v 4. –2 u – v

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
10. ในรู ป ABC เส้น AD เป็ นเส้นมัธยฐาน BA = a
และ BD = b จงหาว่า CA คือข้อใดต่อไปนี้
1. a 2. a – b
3. a – 2 b 4. a + 2 b

คาชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ สาหรับตอบคาถาม


6 ข้อถัดไป
จากรู ป กาหนดให้ AB = u , AC = v
P และ Q เป็ นจุดซึ่ง AP = 3 u , AQ = 2 v
11. BC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v – u 4. –2 u

12. PB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v – u 4. –2 u

13. PQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + 2 v 2. 3 u – 2 v 3. –3 u + 2 v 4. –3 u – 2 v

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
14. PC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 u + v 2. 3 u – v 3. –3 u + v 4. –3 u – v

15. BD + DC + CQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + 2 v 2. u – 2 v 3. – u + 2 v 4. – u – 2 v

16. AM , M เป็ นจุดกึ่งกลางของด้าน BC คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้


1. u + v 2. u – v 3. v u 4. v u
2 2

คาชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ สาหรับตอบคาถาม D C


2 ข้อถัดไป
จากรู ป ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน O O
เป็ นจุดกึ่งกลางของเส้นทแยงมุม BD
A B
กาหนด AB = u , AD = v
17. AO เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v u 4. v u
2 2

9
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
18. BO เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. u + v 2. u – v 3. v u 4. v u
2 2

19. จากรู ป BD : DC = 1 : 2 แล้ว AD คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้


1. 2 u  v 2. 2 u  v
3 3
3. v  u 4. v  u
2 2

20. กาหนดให้ C เป็ นจุดบน AB และ C อยูห่ ่างจากจุด A


เป็ นระยะทาง 23 ของระยะ AB แล้ว w คือเวกเตอร์
ในข้อใดต่อไปนี้
1. w = u + 23 v 2. w = 13 u + 23 v
3. w = 23 u – 13 v 4. w = – 23 u – 13 v

21. AB เป็ นส่ วนของเส้นตรง P เป็ นจุดใดๆ ที่ไม่อยูบ่ น


ส่ วนของ AB แบ่งครึ่ ง AB ที่จุด C ลาก PA , PC
และ PB ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ที่ถูกคือข้อใด
1. PC = 4 ( PA – PB ) 2. PC = 2 ( PA + PB )
3. 2 PC = ( PA + PB ) 4. 4 PC = ( PA + PB )

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
22. กาหนด ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานเส้นทแยงมุม AC และ BD ตัดกันที่สุด O ลาก
OE แบ่ง AB ที่ E ออกเป็ น AE : EB = 2 : 3 และ
AB = u , AD = v แล้ว OE คือเวกเตอร์ใน D C
ข้อใดต่อไปนี้ O
1. 101 u + 12 v 2. 101 u – 12 v
A E B
3. – 101 u + 12 v 4. – 101 u – 12 v

9.3 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก


9.3.1 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติน้ นั เราอาจเขียนสัญลักษณ์แทนเวกเตอร์ ใดๆ ในรู ป x 
 y 

โดยที่ x คือความยาวจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ในแนวนอน ถ้า x มีค่าเป็ น


บวกแสดงว่ามีทิศไปทางขวามือ ถ้ามีค่าเป็ นลบแสดงว่ามีทิศไปทางซ้ายมือ
และ y คือความยาวจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ ในแนวดิ่ง ถ้า y มีค่าเป็ นบวก
แสดงว่ามีทิศขึ้นไปด้านบน ถ้ามีค่าเป็ นลบแสดงว่ามีทิศลงไปทางด้านล่าง

ตัวอย่าง

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ถ้าเวกเตอร์ AB มีจุดเริ่ มต้นอยูท่ ี่จุด A (x1 , y1)
B (x2 , y2)
และจุดสุ ดท้ายอยูท่ ี่ B (x2 , y2) จะได้วา่
x  x 
AB =  2 1 
 y 2  y1  A (x1 , y1)

ฝึ กทา. จงวาดรู ปคร่ าวๆ ของเวกเตอร์ ต่อไปนี้


2   4   2   2 
1.   2.   3.   4.  
 3   1   4    5 

23. กาหนดจุด A (1 , 2) และ B (3 , 4) แล้ว AB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   4  2   2 
1.   2.   3.   4.  
 3   1  2   2 

24. กาหนดจุด C (–2 , –3) และ D (5 , 6) แล้ว CD และ DC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ตามลาดับ


7    7   7  7   7   7   7  7 
1.   ,   2.   ,   3.   ,   4.   ,  
9   9  9   9  9  9   9 9 

25. กาหนดจุด A (1 , 2) , B (2 , 3) และ C (5 , 6) แล้ว AB + BC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   4  4  4 
1.   2.   3.   4.  
4   4  4   2 

12
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
26(แนว มช) เวกเตอร์ ที่มีจุดเริ่ มต้นที่ (0 , 0) มีความยาว 4 หน่วย และทามุม –30o กับแกน X คือข้อใด
2  2 3   2   2 3 
1.   2.   3.   4.  
2   2 
  
  2 3 
 
 2 

9.3.2 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ


x 
 
เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ จะเขียนอยูใ่ นรู ป y 
 
 z 
เมื่อ x คือความยาวตามแนวแกน X จากจุดเริ่ มต้น
y คือความยาวตามแนวแกน Y จากจุดเริ่ มต้น
z คือความยาวตามแนวแกน Z จากจุดเริ่ มต้น
ถ้า A ( x1 , y1 , z1) และ B ( x2 , y2 , z2) เป็ นจุดตั้งต้นและจุดปลายของ AB ใดๆ แล้ว
x  x 
 2 1
จะได้วา่ AB = y  y 
 2 1
z  z 
 2 1
27. ให้ P มีพิกดั เป็ น (3 , 4 , –4 ) และ Q มีพิกดั เป็ น (5 , 0 , 7 ) แล้ว PQ คือข้อใดต่อไปนี้
 2   2  2   2
   4   4   4
1.  4  2.   3.   4.  
 11   11  11   11

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ

บทนิยาม เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ


สองมิติ
a  d 
a  c     
การเท่ากัน    b  e 
 b  d     
 c   f 
ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ก็ต่อเมื่อ a = d , b = e และ c = f
a  d  a  d 
a   c  a  c       
การบวกเวกเตอร์         b  e   b  e 
 b  d   b  d       
 c   f   c  f 
a  d  a  d 
a   c  a  c       
การลบเวกเตอร์         b  e   b  e
 b  d   b  d       
 c   f   c  f 
a   a   a  a 
การคูณเวกเตอร์         
 b  b   b  b 
ด้วยสเกลาร์    
เมื่อ  เป็ นจานวนจริ งใดๆ  c  c 
0 
0   
เวกเตอร์ศูนย์ เวกเตอร์ศูนย์คือ   เวกเตอร์ศูนย์คือ 0 
0   
0 

28. เวกเตอร์ ที่กาหนดต่อไปนี้ เท่ากับเวกเกตอร์ ในตัวเลือกใด


2  4  9  7   3  3 
ก)   +   ข)   –   ค)   + 2  
3  5  8  8   4  4 
6  16  0  6  2  3 
1. ก)   ข)   ค)   2. ก)   ข)   ค)  
8  16  0  8  0  4 
6   16  0  6   2   3 
3. ก)   ข)   ค)   4. ก)   ข)   ค)  
8   16  0  8  0   4 

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1  3
   
29. กาหนดให้ a  2  , b  4  แล้ว a + 2 b เท่ากับเวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
   
4  2 
7 4  7  4 
       
1. 10  2. 6  3.  10  4.  6
       
 8   6    8    6 

 3
30. กาหนดให้ CD =   และ C (2 , 3) แล้วพิกดั ของจุด D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 
1. (1 , 4) 2. (–1 , 4) 3. (1 , –4) 4. (–1 , –4)

 2 
31. กาหนดให้ EF =   และ F (3 , –4) แล้วพิกดั ของจุด E เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 5 
1. (5 , 1) 2. (–5 , 1) 3. (5 , –1) 4. (–5 , –1)

 5
32. กาหนดให้ A(–1 , 3) , B (x , y) , C (4 , 6) และ AB =   แล้ว BC เท่ากับ
 4
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
10   10   10   10 
1. BC =   2. BC =   3. BC =   4. BC =  
 1   1   1   1 

15
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
33(แนว มช) ถ้า A (4 , –1) , B (m , m) และ C(1 , 2) เป็ นจุด 3 จุด ในระบบแกนมุมฉาก และ
AB  aAC เมื่อ a เป็ นจานวนจริ ง ซึ่ง a  0 แล้ว m เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 43 2. 43 3. 23 4. 23

9.3.3 เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย


เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย คือเวกเตอร์ ที่มีความยาวหนึ่งหน่วยไม่วา่ จะมีทิศใดก็ตาม
1  0 
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ควรรู ้จกั ได้แก่ i =   และ j =  
0  1 
a 
ควรทราบว่า   = a i + b j
b
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ควรรู ้จกั ได้แก่
1  0  0 
     
i = 0  , j = 1  และ k = 0 
     
0  0  1 
a 
 
ควรทราบว่า  b  =a i +b j + c k
 
 c 

1  0 
ฝึ กทา. กาหนด i =   และ j =   จงเขียนเวกเตอร์ ต่อไปนี้ในรู ป i และ j
0  1 
2    3  4 
1)   = 2)  = 3)   =
3   4   5

3  0  1 
4)   = 5)   = 6) 2  =
0  2  3
4 

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
34. AB มีจุดเริ่ มต้นที่ A (1 , 2 , 0) และ จุดปลายที่ B (–2 , 3 , 1) แล้ว AB เท่ากับเวกเตอร์
ข้อใดต่อไปนี้
1. –3 i + j + k 2. 3 i – j – k
3. –3 i + j – k 4. 3 i – j + k

1  3 
35. OA =   , OB =   , O เป็ นจุดกาเนิ ดในระบบแกนมุ มฉาก แล้ว AB เท่ากับ
4  2 
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 2 j 2. 2 i – 2 j 3. 2 i + 2 j 4. –2 i – 2 j

36. กาหนดให้ (b i + 4 j ) + (5 i + 6 j ) = a (4 i + 5 j ) ดังนั้น a และ b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. a = 2 , b = 3 2. a = 3 , b = 2
3. a = 3 , b = 5 4. a = 5 , b = 3

37. ให้ p = 2 i – 3 j , q = 1 i + 2 j และ a = 9 i + 4 j แล้ว a เท่ากับเวกเตอร์


ข้อใดต่อไปนี้
1. p + q 2. p + 5 q 3. 2 p + 5 q 4. 5 p + 2 q

17
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
0  18 
38. กาหนดให้ OA =   ; OB =   และ P เป็ นจุดๆ หนึ่งบน AB และ
10  22 
AP : PB = 1 : 3 แล้ว OP เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 i + 18 j 2 . 54 i  15 j 3. 3 i + 17 j 4. 9 i  13 j
7 7 2

9.3.4 เวกเตอร์ ที่ขนานกัน


a  c 
ถ้า   ขนานกับ   จะได้วา่ ab = dc
b d 
a  d 
   
และ ถ้า  b  ขนานกับ  e  จะได้วา่ a : b : c = d : e : f
   
 c   f 

ฝึ กทา. เวกเตอร์ ต่อไปนี้ เวกเตอร์ ใดบ้างที่ขนานกัน


1  2   8  9 1  7  8  2 
  ,   ,   ,  ,   ,   ,   ,  
2  1   4  3 3 0  0  4 

ฝึ กทา. เวกเตอร์ ต่อไปนี้ เวกเตอร์ ใดบ้างที่ขนานกัน


1   0   2  1   0 
         
2  ,  3  ,  4  , 1  ,   3
         
1   2   2  2   2 

18
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
39. กาหนดให้ u = a i – 2 j และ v = 2 i – 3 j ถ้า u ขนานกับ v แล้ว a มีค่า
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 43 2. 43 3. 23 4. 23

40. กาหนดให้ u = a i + 3 j + b k , v = 2 i – 2 j + k ถ้า u ขนานกับ v แล้ว


2 a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –6 2. – 152 3. 6 4.

9.3.5 ขนาดของเวกเตอร์
กาหนด ความยาวของ u เขียนแทนด้วย  u 
a  a 
และ ถ้า u =   แล้ว  u  =   = a 2  b2
b  b 
a  a 
   
ถ้า u = b แล้ว  u  = b = a 2  b2  c 2
   
 c   c 

ฝึ กทา. จงหาขนาดของเวกเตอร์ ต่อไปนี้


3  5 2  1 
1.   ,   ,   ,  
4  6 1  3
2. AB เมื่อพิกดั ของ A และ B คือ (1 , 2) และ (5 ,7) ตามลาดับ

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1 
 
41. ขนาดของเวกเตอร์ 1  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
3
1. 5 2. 10 3. 11 4. 13

42. ถ้า u = a i + 12 j และ  u  = 13 แล้ว a เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 5 2.  5 3. 10 4.  10

43(แนว En) กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมมี D เป็ นจุดบนด้าน AB ซึ่ งแบ่ง AB เป็ นอัตราส่ วน
AD : DB = 3 : 2 และ CA = 3 i – 2 j และ CB = 2 i + 3 j แล้ว 5 CD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 11 3. 13 4. 14

ควรทราบเพิม่ เติม
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และมีทิศทางเดียวกับ u
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และมีทิศทางตรงข้ามกับ u
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และขนานกับ u
20
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
44. ถ้าเวกเตอร์ AB มี จุดเริ่ ม ต้นที่ A (–2 , 1) และมี จุดสิ้ น สุ ดที่ B (1 , 2) แล้วเวกเตอร์ ซ่ ึ งยาว
40 หน่วย และมีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ AB คือข้อใดต่อไปนี้
2   2  6   6
1.   2.   3.   4.  
6    6  2   2 

2 
45. เวกเตอร์ที่มีขนาด 3 หน่วย และมีทิศตรงกันข้ามกับเวกเตอร์ 4  คือข้อใดต่อไปนี้
 
1. 6 i + 12 j 2. 6 i – 12 j
20 20 20 20
3. – 6 i + 12 j 4. – 6 i – 12 j
20 20 20 20

46(แนว มช) เวกเตอร์ที่มีขนาด 4 หน่วย และขนานกับผลบวกของเวกเตอร์


 2   1
a =   และ b =   คือเวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
 3   0
 2    2  2 
1.   2.   3.   4. ข้อ 1 และ 2.
 2 3  2 3   2 3 

47. AB มีจุดเริ่ มต้นที่ A (1 , 2 , 0) และมีจุดปลายที่ B (–2 , 3 , 1) แล้วเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่มี


ทิศทางเดียวกับ AB คือข้อใดต่อไปนี้
1. 111 ( 3 i – j – k ) 2. 1 (3 i – j – k )
11
3. 111 ( –3 i + j + k ) 4. 1 ( –3 i + j + k )
11

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.6 โคไซน์ แสดงทิศทาง
a 
 
ถ้า u =  b  โคไซน์แสดงทิศทางของ u คือจานวนสามจานวนเรี ยงลาดับดังนี้
 
 c 
a , b , b โดยที่  u   0
u u u

48. กาหนดให้ a = 3 i + 4 j + 5 k โคไซน์แสดงทิศทางของ a คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 , 4 , 5 2. 35 , 45 , 1
2 2 2
3. 3 , 4 , 5 4. 23 , 2 , 25
5 2 5 2 5 2

เวกเตอร์ สองเวกเตอร์ จะมีทิศทางเดียวกัน ก็ต่อเมื่อ มีโคไซน์แสดงทิศทางชุ ดเดียวกัน และ


จะมีทิศทางตรงกันข้าม ต่อเมื่อโคไซน์แสดงทิศทางเทียบแต่ละแกนของเวกเตอร์ หนึ่ งเป็ นจานวนตรง
ข้ามกับโคไซน์แสดงทิศทางของอีกเวกเตอร์ หนึ่ง
ฝึ กทา. จงตรวจสอบว่าเวกเตอร์ ต่อไปนี้ คูใ่ ดมีทิศเดียวกัน
ก. เวกเตอร์ PQ มีจุดเริ่ มต้นที่ P ( 1 , 2 , 3 ) และ จุดสิ้ นสุ ดที่ Q (2 , –3 , 5)
ข. เวกเตอร์ OR ซึ่ งมีจุดเริ่ มต้นที่จุดกาเนิ ดและจุดสิ้ นสุ ดที่ R (–3 , 15 , –6 )
ค. a = 2 i – 10 j + 4 k

9.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
ผลคูณเชิงสเกลลาร์ของ u และ v เขียนแทนด้วย u  v
a  x 
ถ้า u =   และ v =   จะได้วา่ u  v = a x + b y
 b   y 
a  x 
   
ถ้า u =  b  และ v =  y  จะได้วา่ u  v = a x + b y + c z
   
 c   z 
22
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ

49. ถ้า u = 2 i  3 j และ v =  3 i  4 j แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

 4   1 
   
50. กาหนดให้ a   1  และ b   2  แล้ว a . b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
   
 2    3 
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

3  2  1 
ฝึ กทา. ให้ u =   , v =   และ w =   จงหาค่าของ
4  1  3
1) u  v 2) u  u 3) u  v  w  4) u  v   w 5) u  v   w

สมบัติทสี่ าคัญของผลคูณเชิ งสเกลาร์


1. ให้ u , v และ w เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในสองมิติ หรื อสามมิติ และ a เป็ นสเกลาร์ จะได้วา่
1.1 u . v = v . u
1.2 u . (v  w)  u .v  u .w
1.3 a(u . v)  (au) . v  u .(av)
1.4 0 . u  0
1.5 u . u  u 2
1.6 i . i  j. j  k . k = 1
i . j  i.k  j . k  0
2. ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง u และ v ซึ่ง 0    180o แล้ว u . v = u v cos
( มุมระหว่างเวกเตอร์ หมายถึงมุมที่ไม่ใช่มุมกลับ ซึ่ งมีแขนของมุมเป็ นรังสี ที่ขนาน และมี
ทิศทางเดียวกันกับเวกเตอร์ท้ งั สอง)
3. ถ้า u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่ไม่ใช่เวกเตอร์ ศูนย์ u ตั้งฉากกับ v ก็ต่อเมื่อ u . v = 0
23
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
51. กาหนดให้ u เป็ นเวกเตอร์ ที่ มีความยาว 12 หน่ วย และ v เป็ นเวกเตอร์ ซ่ ึ งยาวหนึ่ ง
หน่วย และ v ทามุม 60o กับ u แล้ว u  v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

52(แนว มช) กาหนดให้ A (2 ,–1) , B (–2 , 2) เป็ นจุด 2 จุด และ C เป็ นอีกจุดหนึ่ งที่ทาให้
AC เป็ นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย AC ทามุม 60o กับ AB แล้ว AB AC เท่ากับข้อใด
1. 0 2. 2.5 3. 5 4. 10

53. กาหนดให้ u = i + 3 j และ v = – i + 2 j แล้วมุมระหว่าง u กับ v เท่ากับข้อใด


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

54. มุมระหว่างเวกเตอร์ ต่อไปนี้ u = 3 i + 2 j และ v = 9 i + 6 j เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0o 2. 30o 3. 60o 4. 90o

55. มุมระหว่างเวกเตอร์ u  2i  j  k และ v  i  2j  4k เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0o 2. 30o 3. 60o 4. 90o

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
56. เวกเตอร์ในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นเวกเตอร์ ที่ต้ งั ฉากซึ่ งกันและกัน
 2  1  2   2 
2   3  2   1        
1.   ,   2.   ,   3.  2 , 2  4. 1  ,  2 
3 2  6   3         
 1  2  2   2 

1   1
57. ค่า a ที่ทาให้เวกเตอร์ a  ตั้งฉากกับเวกเตอร์   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
  6 
1. 6 2. 16 3. –6 4. – 16

58(แนว มช) กาหนดให้ A  3i  4 j เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ต้ งั ฉากกับ A คือข้อใดต่อไปนี้


4/5  4/5  4/5
1. 3/5  2.   3.   4. ข้อ 1. และข้อ 2.
   3/5   3/5 

59(แนว En) กาหนดให้ u = a i + b j โดย a > 0 ถ้า u ตั้งฉากกับเวกเตอร์ – i + 2 j แล้ว


มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับเวกเตอร์ 3i  j (มุมแหลม) คือข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ควรทราบเพิม่ เติม
1) uv 2 = u 2 + v 2 + 2u v
2) uv 2 = u 2 + v 2 – 2u v
3) u  v 2+ u  v 2 = 2 u 2 +2 v 2
4) u  v 2– u  v 2 = 4u v
5) ( u + v ) ( u – v ) = u 2– v 2
60. กาหนดให้ u = 13 , v = 2 และ u  v = 14 ค่าของ u  v คือข้อใดต่อไปนี้
1. –26 2. 26 3. –11.5 4. 11.5

61. กาหนดมุมระหว่าง u กับ v เป็ น 60o และ u  5 , v  8 แล้ว u  v มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 13 3. 113 4. 129

62. กาหนดมุมระหว่าง u กับ v เป็ น 60o และ u  5 , v  8 แล้ว u  v มี


ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 13 3. 113 4. 129

63(แนว มช) กาหนดให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ถ้า u = 2 , v = 3 และ


u  v = 7 มุมระหว่างเวกเตอร์ u และ v คือข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 60o 3. 120o 4. 150o

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
64. กาหนดให้ u = a , v = b แล้วค่าของ u  v 2 + u  v 2 ตรงกับข้อใด
1. a 2  b 2 2. 2a 2  2b 2 3. a 2  b 2 4. 2a 2  2b 2

65(แนว En) ถ้า u  v = 5 2 และ u  v = 26 แล้ว u  v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 6 3. 8 4. 12

66. กาหนดให้ u = 4 , v = 3 และ u ตั้งฉากกับ v แล้ว u  v คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 5 3. 10 4. 12

67. กาหนดให้ u = 15 , v = 8 และ u ตั้งฉากกับ v แล้ว u  v คือข้อใดต่อไปนี้


1. 13 2. 15 3. 17 4. 23

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
บทนิยาม ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของเขียนแทนด้วย u x v อ่านว่าเวกเตอร์ ยูครอสเวกเตอร์ วี
 a1   b1 
   
ถ้า u  a 2  และ v   b 2 
   
a  b 
 3  3
a b a b 
 2 3 3 2
แล้ว u x v = a b a b 
 3 1 1 3
a b  a b 
 1 2 2 1
a2 a3 a a 3 a1 a2
หรื อ u x v = i 1 j k
b2 b3 b1 b 3 b1 b2

ทิศทางของ u x v สามารถหาได้จาก
กฎมือขวา โดยแบมือขวาแล้วกางหัวแม่มือออก ux v

ใช้นิ้วทั้งสี่ ช้ ีไปตามทิศของ u แบหน้ามือไป


u
ตามทิศของ v แล้วนิ้วหัวแม่มือจะชี้ไปตามทิศ
ของ u x v ดังรู ป
v

68. กาหนดให้ u   i  3 k , v  i  3j  4 k แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 9 i + 7 j – 3 k 2. –9 i + 7 j – 3 k
3. 9 i – 7 j – 3 k 4. –9 i – 7 j – 3 k

69. กาหนดให้ u  2i  3j , v  i  5j แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 7 i 2. –7 i 3. –7 j 4. –7 k

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
70. กาหนดให้ u  2i  3k , v  i  5k แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 i 2. –7 i 3. –7 j 4. –7 k

สมบัติทสี่ าคัญของผลคูณเชิงเวกเตอร์
1. กาหนด u , v , w เป็ นเวกเตอร์ ใดๆ ในสามมิติ และ k เป็ นจานวนจริงใด ๆ
1.1 u x v = – ( v x u )
1.2 ( u + v ) x w = ( u + w ) + ( v x w )
1.3 u x ( v + w ) = ( u + v ) + ( u x w )
1.4 u x (k v ) = k( u x v )
1.5 (k u ) x v = k( u x v )
1.6 u x u = 0
1.7 i x j  k , j x k  i , k x i  j
2. ให้ u , v , w เป็ นเวกเตอร์ ใด ๆ ในสามมิติ จะได้ ว่า u .( v x w ) = ( u x v ). w
3. ถ้า u  0 และ v  0 จะได้วา่ u x v  u v sin 
เมื่อ  เป็ นมุมระหว่าง u และ v , 0o    180 o
4. ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ในสามมิติ ซึ่ งไม่ใช่เวกเตอร์ ศูนย์และไม่ขนานกัน
จะได้วา่ u x v ตั้งฉากกับ u และ v
71. ถ้า u = 2 i + j – 3 k และ v = i – 2 j + k แล้วเวกเตอร์ที่มีขนาด 3 หน่วย
และตั้งฉากกับกับทั้ง u และ v คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1.  3 ( i + j + k ) 2.  3 ( i + j – k )
3.  3 (– i – j + k ) 4.  3 ( i – j – k )

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
72. ก าหนดให้ a  2 i  j , b  2i  j k ค่ า sine ของมุ ม ระหว่าง a และ b คื อ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. 0.50 2. 0.71 3. 0.84 4. 0.92

การใช้เวกเตอร์ ในการหาพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน


จากรู ป  เป็ นมุมระหว่าง u กับ v
 u  sin  คือส่ วนสู งของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน
v v sin

ดังนั้น พืน้ ทีส่ ี่ เหลี่ยมด้ านขนาน = ฐาน x สู ง u
= u v sin
= uxv
73. กาหนดให้ AB = i  3j  4k และ AD = 3i  2j  k แล้วพื้นที่ ของรู ปสี่ เหลี่ ยม
ด้านขนาน ABCD มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 3 2. 11 3 3. 8 4. 10

74. พื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็ น A (1 , –1 , 3) , B (2 , 3 , –2) และ C (1 , 1 , 5) มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 65 2. 83 3. 97 4. 117

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
การใช้เวกเตอร์ในการหาปริ มาตรของทรงสี่ เหลี่ยมด้านขนาน

กำหนดทรงสีเ่ หลีย่ มด้ ำนขนำนซึง่ มี u , v และ r เป็ นด้ ำน ดังรูป


u
vx r
h
r
v

จะได้ ว่า ปริมาตรของสี่ เหลี่ยมด้ านขนานทรงตัน = | u . (v x r) |


ข้ อสั งเกต 1) u . (v x r)  r . (u x v)  v . (r x u)
2) ถ้า u , v และ r อยูบ่ นระนาบเดียวกัน แล้วจะได้วา่ u .( v x r ) = 0
3) จากเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์ ใดๆ ถ้าทราบว่าเวกเตอร์ เท่ากันสองเวกเตอร์
ผลคูณของ u .( v x v ) = v .( r x r ) = r ( u x u ) = 0

75. ทรงสี่ เหลี่ ยมด้านขนานที่มี u = i + j , v = j + k , r = i + k เป็ นด้านจะมี ปริ มาตรกี่


ลูกบาศก์หน่วย
1. 2.0 2. 4.0 3. 5.5 4. 6.07

31
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
เฉลยบทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 3.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 1.

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
9.1 ระบบพิกดั ฉากสามมิติ
1. สามเหลี่ยมที่มีจุดยอดที่ A (1 , 2 , 1 ) , B (–3 , 7 , 9 ) และ C ( 11 , 4 , 2 ) จะเป็ นรู ปสาม
เหลี่ยมชนิดใดต่อไปนี้
1. สามเหลี่ยมด้านเท่า 2. สามเหลี่ยมมุมฉาก
3. สามเหลี่ยมน่าจัว่ 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูกต้อง

9.2 เวกเตอร์
2. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ถ้า u ขนานกับ v แล้ว u = v
2. ถ้า u = v แล้ว u มีทิศเดียวกับ v และ u ยาวเท่ากับ v
3. u มีทิศเดียวกับ – u
4. u  – u เสมอ

3. ABCDEF เป็ นหกเหลี่ยมด้านเท่า และ FA = u A B


FE = v ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
u
1. AB = u + v
2. FB = 2 u + v F C
O
3. FC = 2 u + 2 v v
4. AE = – u + v D
E

4. จากรู ปเป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส 3 รู ปวางต่อกัน A B E F


AB – BC + CD เท่ากับเวกเตอร์ ขอ้ ใด
ต่อไปนี้ C D G H
1. BF 2. AH 3. CF 4. AG

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
5. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่า ที่มีเส้นทแยงมุม A B
ตัดกันที่จุด O ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. AB + OE = AO O
F C
2. AF + BC = AE
3. AO + CD = AE
4. ED + AF = OB E D

6. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่า ที่มีเส้นทแยงมุม A B


ตัดกันที่จุด O ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง
1. AD – AF = FD O
F C
2. FE – BA = FD
3. AO – OF = FD
4. FD – DB = FD E D

7. จากรู ป PQRS เป็ นสี่ เหลี่ยมรู ปว่าว มีเส้นทะแยงมุม Q


ติดกันที่ O ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. PQ + QR = PR P O R
3. PQ + QS = PS
2. RO – SO = RS
4. PR – PS = RS
S
8. กาหนด ABCD เป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส MDC และ NAB M
เป็ นรู ปสามเหลี่ยมด้านเท่า ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. DM + MC = DC D C
2. NA – NB = BA
3. ( MD – MC ) + ( AN + NB ) = CB A B
4. ( AN – BN ) + AD + ( CM – DM ) = BC
N

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9. จากรู ป ABCDEFGH เป็ นทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก G F
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. ( AD + CF ) – GF = GB C H E
B
2. ( AB + BC ) + CD = GF
3. ( BC + CF ) + FG = DE
A D
4. ( GF + FE ) – GH = – EH

10 จากรู ป ABCDEF เป็ นทรงสามเหลี่ยม C


ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง w
A
1. AD + DC = w v F
2. BD – BA = u B u
3. AB – CB = w
D
4. AE – BE = v
E
11. ถ้า  AC  :  CB  = 5 : 2 แล้ว แล้ว OC เท่า O
กับข้อใดต่อไปนี้
v
1. 2 u  5 v 2. 2 u  v u
3 3
3. 2 u  5 v 4. 2 u  v 5 2
7 7 A C B

12. ถ้า  BD  :  DC  = m : n แล้ว แล้ว AD


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ v
u
1. ( n u + m v )
2. 1n ( n u + m v ) m n
3. m1 ( n u + m v ) B D C
4. n 1 m ( n u + m v )

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
13. จากรู ป ให้  AO  :  OD  = 3 : 1 และ  BD  =  DC  = 3 : 2 ถ้า AB = u , AC = v
แล้ว AO คือข้อใดต่อไปนี้ v C
A
3
1. 41 (6 u – 9 v ) 1 2
O D
2. 101 (6 u – 9 v )
u
1
3. 5 (6 u – 9 v ) 3
4. 201 (6 u – 9 v )
B

14. เวกเตอร์ ที่มีจุดเริ่ มต้นที่จุดกาเนิด และมีจุดสิ้ นสุ ดไปยังจุดที่แบ่งส่ วนของเส้น AB ออกเป็ น


อัตราส่ วน 2 : 1 คือเวกเตอร์ในข้อใด เมื่อ A , B มีพิกดั เป็ น (1 , 3) และ (4 , –3)
1. –3 i + j 2. 3 i – j 3. –3 i + j 4. 3 i + j

15. จากรู ปกาหนดให้ ถ้า a = AB , b = AC C


 AE  :  EB  = 4 : 1 และ  BD  :  DC  = 3 : 1
D
แล้ว DE เท่ากับเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1. 43 ( a – b )
2. 43 a – 11 20 b ) A E B
3. 11 3
20 a – 4 b
4. 11
20 ( a – b )

16. ให้ AB = u และ AC = v ถ้า  AE  :  EB  = 2 : 3 และ  AF  :  FC  = 5 : 4


แล้ว EF เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ A
5 2
1. 9 v + 5 u 2
E 5
2. 95 v – 25 u F
3 4
3. 95 v + 29 u
4. 95 v – 29 u B C

36
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
17. จากรู ปที่กาหนด ถ้า  AN  :  NC  = 2 : 3 A
และด้าน MN ขนานกับด้าน BC แล้ว AM
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ M N
1. 25 ( AC + BC )
2. 35 ( AC + BC ) B C
3. 25 ( AC + BC )
4. 35 ( AC – BC )

18. จากรู ปที่กาหนดให้ ข้อใดต่อไปนี้


ถูกต้อง
1. DE = 23 ( u – v ) u
2u
3 2v v
D 3 E
2. DE = 23 ( u + v )
1u 1v
3. BC = 3 DE2 3 3
B C
4. BC = 23 DE

19. จากรู ปให้ ED = u , BC = v , AB = 3 u D


E u
AE = 2 v และ DC = w ถ้า F เป็ นจุดกึ่งกลาง F w
ของ CD แล้ว AF เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 2v C
1. 2 u + 23 v 2. u + 23 v
A B
v

3. 2 u – 23 v 4. u – 23 v 3u

20. จากรู ปกาหนดให้ AC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 a
2. 2 b
3. a + b
4. a – b

37
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
21. จากรู ปกาหนดให้ CD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 a
2. 2 b
3. a + b
4. a – b

9.3 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก


9.3.1 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ

22. กาหนดจุด P (–5 , 1) และ Q = (3 , –2) แล้ว PQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   2   8 8
1.   2.   3.   4.  
1    1   3   3

23. กาหนดจุด A (1 , 5) , B (–2 , 4) , C (0 , 3) แล้ว AB + AC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


  3  1  2   4 
1.   2.   3.   4.  
  1  2   1    3 

9.3.2 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ

24. ให้ A มีพิกดั เป็ น (3 , 4 , –4 ) และ B มีพิกดั เป็ น (5 , 0 , 7 ) แล้ว BA คือข้อใดต่อไปนี้


 2   2  2   2
   4   4   4
1.  4  2.   3.   4.  
 11   11  11   11

 9 1 
25. กาหนดให้ v =  2  , w = 2  แล้ว u ที่ทาให้ 2 u + v –3 w = 0 ตรงกับข้อใด
   
 3   3 3   3 
1.  4  2.  4  3. 4  4.  4 
       

38
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
26. กาหนดให้จุด P มีพิกดั (–2 , 3 , 1) และจุด Q มีทิศ (a , b , c) เมื่อ a , b , c เป็ นค่าคงที่ใดๆ
1 
ถ้าเวกเตอร์ QP =  2 แล้วค่าของ a + b + c มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
  3
1. 6 2. 2 3. –2 4. –6

27. กาหนดให้จุด A มีพิกดั (–2 , 4) จุด B มีพิกดั (a , b) เมื่อ a , b เป็ นค่าคงที่ใดๆ ถ้า
 4
AB =  3  แล้วค่าของ a + b ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
 
1. 9 2. 5 3. –5 4. –9

 2
28. กาหนดให้ AB =  3  ถ้าพิกดั ของ A = (–4 , 9) แล้วพิกดั ของจุด B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1. (2 , –6) 2. (–2 , 6) 3. (6 , 12) 4. (–6 , –12)

 4 
29. กาหนดให้ AB =  1  ถ้าพิกดั ของ B = (–3 , –7) แล้วพิกดั ของจุด A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1. (1 , –8) 2. (–1 , 8) 3. (7 , 6) 4. (–7 , –6)

 3
30. กาหนดให้ CD =   และ C (2 , 3) แล้วพิกดั ของจุด D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 
1. (1 , 4) 2. (–1 , 4) 3. (1 , –4) 4. (–1 , –4)

9.3.3 เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย


3  1 
31. OA = 2  , OB = 5  , O เป็ นจุดกาเนิ ดในระบบแกนมุ มฉาก แล้ว AB เท่ากับ
   
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 3 j 2. 2 i – 3 j 3. 2 i + 3 j 4. –2 i – 3 j

39
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1  3 
32. OA =   , OB =   , O เป็ นจุ ดก าเนิ ดในระบบแกนมุ ม ฉาก แล้ว BA เท่ ากับ
4  2 
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 2 j 2. 2 i – 2 j 3. 2 i + 2 j 4. –2 i – 2 j

33. ก าหนดให้ u = 3 i + 2 j และ A มี พิก ัดเป็ น (–1 , 2) พิ กดั ของจุด B ที่ ท าให้ u = AB
คือข้อใดต่อไปนี้
1. (2 , 4) 2. (–2 , 4) 3. (2 , –4) 4. (–2 , –4)

34. กาหนดให้ u = –2 i + j , v = 3 i – 2 j , w = 5 i – 4 j และ w = h u + k v


แล้ว h k มีค่าเท่ากับเท่าใด

35. เวกเตอร์ คู่ในข้อใดต่อไปนี้ ขนานกัน


 1  2   1 5
1. 2  และ   2. 2  และ  
  4    10 
 0  1  7  6
3. 2  และ 1  4.  14  และ  2 
       

9.3.5 ขนาดของเวกเตอร์
 3
36. เวกเตอร์ที่มีขนาด 4 หน่วย และทิศเดียวกับ  4  คือข้อใดต่อไปนี้
 
 3   3  12   12 
1. 15   2. 15   3. 15   4. 15  
 4 
  4
   16 
   16 
 

 2 
37. กาหนดให้ u =  3  เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกับ u คือข้อใดต่อไปนี้
 
 2  2  2  2
1. 3   2. 3   3. 1   4. 1  
 3   3
3  3  3  3

40
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
 1  3
38. กาหนดให้ u =  2  , v =  2  แล้วเวกเตอร์ 2 หน่วย และมีทิศทางเดียวกับ
   
u – 2 v คือข้อใดต่อไปนี้
5  5 5  5
1. 2   2. 2   3. 1   4. 1  
29  2 29  2  2  2  2  2 

39. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j และ v = 8 i + 6 j เวกเตอร์ ที่มีทิศทางเดียวกันกับ u และ


มีขนาดเท่ากับ v คือข้อใดต่อไปนี้
1. 6 i – 8 j 2. 6 i + 8 j 3. 4 i + 3 j 4. 4 i – 3 j

 2 1
40. เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเวกเตอร์   และทิศตรงข้ามกับเวกเตอร์ 1 คือข้อใดต่อไปนี้

 6  
2   2  2   2 
1.   2.   3. 1   4. 1  
2   2  2 2 2  2

41. กาหนดให้ u = 2 i + 2 j , v = –4 i + 4 j และ w เป็ นเวกเตอร์ที่มีทิศทาง


เดียวกับ u แต่มีขนาดเท่ากับ v แล้วค่าของ  u + v + w  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 10 3. 104 4. 109

42. เวกเตอร์ ที่มีขนาด 3 หน่วย และมีทิศตรงข้ามกับเวกเตอร์ v = 12 i – 12 j – 12 k คือข้อใด


1. 3 ( i – j – k ) 2. 3 ( i – j – k )
3. 3 ( – i + j + k ) 4. 3 ( – i + j + k )

43. เวกเตอร์ ที่มีทิศทางเดียวกับ v = 7 i – 6 k แต่มีขนาดเป็ น 2 เท่าของ v คือข้อใด


1. 7 i – 6 k 2. –7 i + 6 k 3. 14 i – 12 k 4. –14 i + 12 k

41
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.6 โคไซน์ แสดงทิศทาง

44. โคไซน์ แสดงทิ ศทางของเวกเตอร์ ที่มี จุดเริ่ มต้นที่ P (0 , 2 , 2) และสิ้ นสุ ดที่ Q (–1 , 1 , –1)
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 , 1 , 3 2. 1 , 1 , 3
11 11 11 11 11 11
3. 2 , 1 , 3 4. 2 , 1 , 3
11 11 11 11 11 11

45. โคไซน์ แสดงทิ ศ ทางของเวกเตอร์ ที่ มี จุดเริ่ ม ต้น ที่ P (0 , 3 , 5) และสิ้ น สุ ดที่ Q (–1 , 5 , 2)
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 (– i + 2 j – 3 k ) 2. 1 ( i – 2 j + 3 k )
10 10
3. 1 (– i + 2 j – 3 k ) 4. 1 ( i – 2 j + 3 k )
14 14

9.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
 3  4   6
46. กาหนดให้ u =  2  , v =  7  , w =  10  แล้ว ( u + v ) . w เท่ากับข้อใด
     
1. –52 2. –40 3. 8 4. 36

 3  4   6
47. กาหนดให้ u =  2  , v =  7  , w =  10  แล้ว u . ( v – w ) เท่ากับข้อใด
     
1. –52 2. –40 3. 8 4. 36

 3  4   6
48. กาหนดให้ u =  2  , v =  7  , w =  10  แล้ว ( u . v ) + ( u . w ) เท่ากับ
     
ข้อใดต่อไปนี้
1. –52 2. –40 3. 8 4. 36

49. ให้ u = –3 i + j + 2 k และ v = 4 i + 2 j – 5 k แล้วค่าของ 2 u . v + v . u


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –60 2. –30 3. 30 4. 60
42
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
50. ก าหนดให้ u = 2 i – 5 j และ v = i + 2 j ถ้า u + w = –11 และ
v  w = 8 แล้ว  w – v  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 5 3. 11 4. 2

51. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j , v = 6 i + 8 j และมุมระหว่าง u กับ v มีขนาด


60o แล้วค่าของ u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 5 3. 25 4. 50

52. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j , v = 6 i + 8 j และมุมระหว่าง u กับ v มีขนาด


90o แล้วค่าของ u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 5 3. 25 4. 50

53. กาหนดให้ u = 3 i + 4 j ถ้าเวกเตอร์ v เป็ นเวกเตอร์ 5 หน่วย และมีทิศตรงข้ามกับ u


แล้วค่าของ u . v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –25 2. 25 3. –24 4. 24

54. กาหนดให้ a = i – j , b = 4 i ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a และ b แล้วค่าของ 


คือข้อใดต่อไปนี้
1. 0o 2. 30o 3. 45o 4. 60o

55. กาหนดให้ a = 3 i + 4 j และ a  ( a – b ) = 23 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a และ b


แล้ว  b  cos  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 135 2. 95 3. 75 4. 25

56. กาหนดให้ A (3 , 4) , B (1 , 2) , C (6 , 1) เป็ นจุดยอด ABC แล้วมุม A มีขนาดกี่องศา

57. กาหนดให้ u . v = 5 ,  u  = 2 และมุ มระหว่าง u กับ v เป็ น 60o แล้ว


 u  +  v  มีคา่ เท่าใด
43
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
58. กาหนดให้ u = (1 + m) i + 3 j และ v = (1 – m) i + 5 j แล้วค่า m ที่ทาให้
u ตั้งฉากกับ v อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้
1. [–5 , 5] 2. [0 , 6] 3. [–5 , 0] 4. [–3 , 3]

59. กาหนด u . w = 1 และ w ตั้งฉากกับ v ถ้า u = 4 i – 5 j และ v = – i + j


แล้ว w คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1. i + j 2. i – j 3. – i – j 4. – i + j

60. กาหนดให้ u = a i – b j , v = i + 2 j โดย u ตั้งฉากกับ v ถ้า w = 2 i + j


และ u . w = 6 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง u กับ w แล้ว cos  คือข้อใดต่อไปนี้
1. 65 2. 7
8 3. 45 4. 35

61(แนว มช) กาหนดให้ A  3i  4 j เวกเตอร์ ซ่ ึงยาว 10 หน่วย ที่ต้ งั ฉากกับ A คือข้อใด


 8   4  4 
1.   2.   3.   4. ข้อ 2. และข้อ 3.
 6  3  3 

62. ถ้า  u  = 10 ,  v  = 6 ,  u + v  = 14 แล้ว u . v มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 30 2. 60 3. 80 4. 90

63. ถ้า  u  = 7 ,  v  = 5 และ  u – v  = 4 แล้ว u . v มีค่าเท่าใด

64. กาหนดให้  u  = 6 ,  v  = 8 และ  u – v  = 2 37 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง


u และ v แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1.  = 90o 2.  = 120o 3.  = 135o 4.  = 150o

65. กาหนดให้  u  = 4 ,  v  = 3 และ  u + v  = 25  12 3 ถ้า  เป็ นมุม


ระหว่าง u กับ v แล้ว  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 120o

44
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
66. ถ้า u + v + w = 0 และ  u  = 5 ,  v  = 12 และ  w  = 13 แล้วมุ ม
ระหว่าง u กับ v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 120o

67. กาหนดให้ u – v – w = 0 และ  u  = 10 ,  v  = 6 ,  w  = 14


มุมระหว่างเวกเตอร์ u และ v คือข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 4 3. 3 4. 23

68. ถ้า  u + v  = 4 แล้ว  u – v  = 1 แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 19 2. 15 3. 194 4. 154

69. ถ้า  u  = 3 ,  v  = 5 และ  u + v  = 4 แล้ว  u – v  เท่ากับข้อใด


1. 1 2. 3 3. 2 3 4. 10

70. ถ้า a และ b เป็ นเวกเตอร์ ที่มี  a  = 10 ,  b  = 7 และ  a + b  = 13 แล้ว


 a – b 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 119 2. 129 3. 139 4. 149

71. กาหนดให้ u = a i + b j โดยที่ a , b > 0 และ u  (5 i – 2 j ) = 14 ถ้า u ทา


มุม  กับ i และ cos  = 35 แล้ว a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 14 3. 21 4. 28

9.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
72. กาหนดให้ u = 2 i + 3 k และ v = i + 5 k แล้ว u x v มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 i 2. –7 i 3. –7 j 4. –7 k

45
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
  1 1 
   
73. กาหนดให้ u = 0 , v = 3 แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
   
3 4 
   
1. –9 i + 7 j – 3 k 2. 9 i – 7 j + 3 k
3. i – k 4. i + 5 j

74. ถ้า u = 2 i – j –3 k , v = i – 2 j + 4 k แล้ว ( u + v ) x ( u – v ) เท่ากับข้อใด


1. –20 i + 22 j – 6 k 2. 20 i + 22 j + 6 k
3. 20 i + 6 k 4. 22 i + 20 j

75. ให้ u = 2 i + j –3 k , v = –2 i + j – 2 k , w = 2 i – k แล้ว w . ( u x v ) มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 0 4. 2

76. กาหนดให้ u = 4 i –3 j + k และ v = 2 i + j –3 k เป็ นด้านประกอบของสี่ เหลี่ยม


ด้านขนาน แล้วพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 10 2. 6 10 3. 15 4. 30

77. กาหนดให้ u = 4 i – j +3 k และ v = –2 i + j –2 k เป็ นเส้นทะแยงมุมของสี่ เหลี่ยม


ด้านขนาน แล้วพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 2. 25 3. 3 4. 5

78. พื้ นที่ สามเหลี่ ยมที่ มีจุดยอดเป็ น P (–1 , 1 , 1) , Q (1 , 2 , 3) , R (1 , –1 , –1) จะมี พ้ื นที่
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 2. 26 3. 2 13 4. 13

79. กาหนดให้ a = 2 i – 6 j + 2 k , b = 4 j – 2 k , c = 2 i + 2 j – 4 k ปริ มาตร


ของรู ปทรงสี่ เหลี่ยมด้านขนานที่มี a , b , c เป็ นด้านของรู ป มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 16 3. 36 4. 64
46
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
80. ปริ มาตรของกล่องสี่ เหลี่ยมด้านขนานที่มี AB , AC , AD เป็ นด้านขอบ และมีพิกดั คือ
A (1 , –1 , 1) , B (3 , –1 , 2) , C (2 , –2 , 2) , D (4 , –2 , 1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 16 2. 8 3. 4 4. 2


เฉลยตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ

1. ตอบข้ อ 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4.
8. ตอบ 1. DC 2. BA 3. 0 4. BC 9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2.
11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4. 13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2.
15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2. 17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 4.
19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2. 21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4.
23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2. 25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1.
27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 2.
31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 1. 33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบ 6
35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4. 37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2.
39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 4. 41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 4.
43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 1. 45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3.
47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบ ข้ อ 4.
51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 1. 53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 3.
55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบ 90 57. ตอบ 7 58. ตอบข้ อ 1.
59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1.
63. ตอบ 29 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบ 30o 66. ตอบข้ อ 3.
67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 4. 69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 2.
71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 2.
75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 2. 77. ตอบข้ อ 1. 78. ตอบข้ อ 2.
79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.


47

You might also like