You are on page 1of 54

เวกเตอร

เวกเตอร์์
(Vectors)
รายวิชา Physics 1 for Engineers
โดย ดร. ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ
วันที่ 6 พฤศจกายน 2552

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 1
ปริมาณ สเกลาร และ เวกเตอร

• ปรมาณสเกลาร์ (Scalar Quantity)


คอ ปรมาณที่มเี ฉพาะขนาดเพียงอย่างเดียวไม่มีทศทาง
เช่น มวล ปรมาตร ความหนาแน่น ความดัน อุณหภูม
ฯลฯ
ดังนัน
้ ปรมาณสเกลาร์จึงเป็นปรมาณต่างๆที่บอกแต่
เพียงขนาดเพียงอย่างเดียวก็เป็นที่เข้าใจได้อย่างสมบูรณ์

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 2
• ปรมาณเวกเตอร์ (Vector Quantity)
คอปรมาณที่มที ั้งขนาดและทศทาง ซึ่งอาจเขียนแทน
ด้วยลูกศร
โดยความยาวของลูกศรจะแสดงขนาด และหัวลูกศร
แสดงทศทางของเวกเตอร์นั้นๆ
เราสามารถเขียนเวกเตอร์ได้ โดยการกําหนดขนาด
เวกเตอร์ด้วยตัวอักษรโรมันที่มหี ัวลูกศรกํากับ หรอ เขียน
เป็นตัวหนา(ตัวทึบ)ก็ได้

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 3
K K
A C
B

รูป1-1 สัญลักษณ์ของปรมาณเวกเตอร์ซึ่งความยาวของ
ลูกศรแทนขนาดและหัวลูกศรแทนทศทางของเวกเตอร์

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 4
P
N

K
A 1 km
o
รูป1-2 แสดงเวกเตอร์การกระจัด
K
ถ้า A แทนการกระจัดขนาด 5 km จากจุด O ไปยังจุด P ในทศ
ตะวันออกเฉียงเหนอ จุดเร่มต้น O คอหางลูกศร เรียกว่า จุด
กําเนดของเวกเตอร์ ส่วน P คอจุดหัวลูกศร เป็นจุดปลาย ของ
K
เวกเตอร์ ดังนั้น จึงเขียน A แทนด้วย OP ได้ คอการลากเส้น
จากจุดเร่มต้น O ไปจุดปลาย P โดยมีลูกศรกํากับไว้ที่ปลายเส้น
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 5
ขนาดของเวกเตอร์
K K
• ขนาดของ เขียนเป็นค่าสัมบูรณ์ดังนี้ หรอ
A A
อักษรโรมันตัวปกต A ซึ่งเป็นอักษรตัวเดียวกัน
นั่นเอง ในการเขียนสัญลักษณ์แทนปรมาณเวกเตอร์
ด้วยลายมอหรอพมพ์ดดี ต้องมีลูกศรกํากับไว้ด้วย
เสมอ

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 6
y
องค์ประกอบเวกเตอร์
ในระบบพกัดK ฉากของระนาบ xy
ถ้ากําหนด A ทํามุม θ กับ
K K แนวแกน x ดังรูปทีK่ 1- 3
Ay A
องค์ประกอบของ A ตาม
K
θ แนวแกน x คอ A และตาม
O K x
K
x

Ax แนวแกน y คอ A ซึ่งสามารถ y

เขียนให้อยู่ในรูปเวกเตอร์ใน
รูปที่ 1-3 ระบบแกนพกัดฉากได้ คอ
K K K
A = Ax + Ay = Ax iˆ + Ay jˆ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 7
Unit Vector
• เม่อ iˆ และ jˆ คอเทอมที่กําหนดเฉพาะบ่งบอกทศทางซึ่ง
มีขนาดเท่ากับหนึ่งและไม่มีหน่วย เรียกว่าเวกเตอร์
หน่วย (Unit Vector) ที่ชตี้ ามแนวแกน +x และ +y
ตามลําดับ
K K K
จาก A = Ax + Ay = Ax iˆ + Ay jˆ
K K
Ax ˆj = Ay
จะได้ î = และ Ay
Ax

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 8
ขนาดของเวกเตอร์องค์ประกอบ
y

K K
Ay A
θ
O K x
Ax
จากรูปจะได้
ขนาดของเวกเตอร์องค์ประกอบตามแนวแกน +x คอ Ax = A cos θ
และ
ขนาดของเวกเตอร์องค์ประกอบตามแนวแกน +y คอ Ay = A sin θ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 9
การตั้งแกนพกัด (Coordinate)
• โดยทั่วไปแล้วจะตั้งให้อยู่ในแนวระดับและแนวด่ง
แต่ในบางกรณี เช่น ในกรณีระนาบเอียง
ให้ตั้งแกน x ขนานกับระนาบเอียง
และตั้งแกน y ให้ตั้งฉากกับระนาบเอียง
จะทําให้ง่ายต่อการคํานวณ
y

x
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 10
การรวมเวกเตอร์
หมายถึงการนําเวกเตอร์มาเรียงแบบ หางต่อหัว (Tail
to Head) โดยเวกเตอร์ลัพธ์จะเกดจากการลากจาก
หางเวกเตอร์ตัวตั้ง ไปยัง หัวเวกเตอร์ตัวสุดท้าย

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 11
การบวกเวกเตอร์จะต้องคํานึงKถึง ขนาดและทศทาง
K
ของเวกเตอร์นั้นK ด้วย เช่น การบวก A กับ B แล้วได้ผลลัพธ์
การบวก เป็น C ซึ่งเราสามารถเขียนเป็นสมการได้
K K K
C = A+ B
เราสามารถสลับที่การบวกเวกเตอร์ได้ซึ่งเราเรียกว่า
“คุณสมบัตการสลับที่” (Commutative) ดังนัน

K K K K
A+ B = B + A
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 12
K
A
K
B
K K K K
A C = B+ A

K
B K K K
C = A+ B
K
B
K
A

รูปที่ 1.4 แสดงคุณสมบัตการสลับที่ของเวกเตอร์


ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 13
สําหรับการบวกเวกเตอร์ที่มีมากกว่า 2 เวกเตอร์ เรา
สามารถสลับกลุ่ม (Associative) ได้ดังสมการ
K K K K K K
( A + B) + C = A + ( B + C )
ซึ่งเวกเตอร์ผลลัพธ์ด้านซ้ายและขวาของสมการด้านบน
จะมีขนาดเท่ากันและมีทศไปในทางเดียวกัน
K K
K K K C K K K C
( A + B) + C A +(B + C )

K K
B B
K K
A ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ A 14
การลบเวกเตอร์ ก็สามารถทําได้เช่นเดียวกับการบวก
เวกเตอร์ โดยเวกเตอร์ที่จะนํามาบวกจะเป็นส่วนกลับของ
เวกเตอร์ หรอมีขนาดเท่ากับเวกเตอร์ลบ แต่มีทศทาง
ตรงกันข้ามตามสมการ
K K K K K
C = A − B = A + (−B)

K K
K B −B
A
K
K K K K K A
C = A + (− B ) = A − B K
−B
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 15
การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
การคูณเวกเตอร์ด้วยปรมาณสเกลาร์ ถ้าให้ c เป็นจํานวน
K
จรง ผลคูณระหว่าง c กับ A แบ่งออกเป็น 3 กรณี คอ
K
1. ถ้า c = 0 จะได้ cA = 0
K K
2. ถ้า c > 0 จะได้cA มีขนาดเท่ากับcA และมีทศทางเดียวกับA
3. ถ้า c <K 0 จะได้เวกเตอร์ มีขนาดเท่ากับcA แต่มีทศทางตรงข้าม
กับ A
K
K 2A
K −A K
A − 21 A
c = −1 c = 2ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ
c = − 21 16
ในการบวกและการลบเวกเตอร์ใดๆ เราสามารถเขียน
เวกเตอร์นั้นๆ ในรูปองค์ประกอบของเวกเตอร์ในระบบพกัดฉาก
z
(x,y,z) ได้
Az kˆ Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ
K
A
k̂ θ ĵ Ay ˆj
î φ A sinθ y
ˆ
Ax i

x Ax iˆ + Ay ˆj
K
จากรูปองค์ประกอบของ A ในระบบพกัดฉาก คอ
K K K K
A = Ax + Ay + Az = Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ

โดย i,j,k เป็นเวกเตอร์หน่วย (Unit Vector)


ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 17
z
Ax2 + A2y + Az2
Az kˆ
K
A K
k̂ θ ĵ Ay ˆj ขนาดของ A คอ
î φ ο
y
ˆ 90
Ax i K
A= A = Ax2 + A2y + Az2
x Ax2 + A2y

โดยมีขนาดของ Ax , Ay และ Az ตามลําดับ คอ


Ax = A sin θ cos φ
Ay = A sin θ sin φ
Az = A cos θ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 18
สําหรับองค์ประกอบของเวกเตอร์บนระนาบ xy ใดๆ ขนาด
และทศทางของเวกเตอร์
K ส ามารถพจารณาได้ จ ากรู ป ด้ า นล่ า ง โดยมี
ขนาดของ A เท่ากับ
K
y A = A = Ax + Ay
2 2

และทศทาง
K
Ay K Ay
A tan θ =
θ K
O
x Ax
Ax

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 19
K K
ถ้า A และ B เป็นเวกเตอร์ในระบบพกัดฉากโดยมี
K K K K
A = Ax + Ay + Az = Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ
K K K K
B = Bx + B y + Bz = Bx iˆ + B y ˆj + Bz kˆ
K K K K K K
ดังนั้น C = A + B = Cx + Cy + Cz

= ( Ax + Bx ) iˆ + ( Ay + By ) ˆj + ( Az + Bz ) kˆ
K K K K K K
และ C = A − B = Cx + Cy + Cz

= ( Ax − Bx ) iˆ + ( Ay − By ) ˆj + ( Az − Bz ) kˆ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 20
ตัวอย่างที่ 1-1
ถ้ากําหนดให้เวกเตอร์ A และ B เป็นเวกเตอร์บนระนาบ xyและ
K
มีK องค์ประกอบของเวกเตอร์เขียนได้เป็น AK= 2iˆ − 3 ˆj และ
ˆ ˆ K K K
B = −3i + j จงหาขนาดและทศทางของ A + B และ A − B
K K K
วธีทํา จากโจทย์ กําหนดให้ C1 = A + B ดังนัน ้
K K K
(
C1 = A + B = 2iˆ − 3 ˆj + −3iˆ + ˆj ) ( )
= (2 − 3) iˆ + (−3 + 1) ˆj = −iˆ −2 ˆj
K
ขนาดของ C1 หาได้จาก
K
C1 = C1
2 2
= C +C 2
1x
2
1y = (− 1) + (− 2) = 5
= 2 .24 หน่วย ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ ตอบ 21
K
ทศทางของ C1 หาได้จาก
C1 y −2
ta n θ = = = 2 .0 0
C1 x −1
∴ θ = ta n − 1 (2 .0 0 ) = 6 3 .4 ο
y
ตอบ

K
(-3,1) B
63.4 ο
x
K
K K
A+ B
A
(-1,-2)
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ (2,-3) 22
K K K
ในทํานองเดียวกัน กําหนดให้ C2 = A − B ดังนั้น
K K K
( ) (
C2 = A − B = 2iˆ − 3 ˆj − −3iˆ + ˆj )
= (2iˆ − 3 ˆj ) + (+3iˆ − ˆj )
= (2 + 3) iˆ + (−3 − 1) ˆj = 5iˆ − 4 ˆj
K
ขนาดของเวกเตอร์ C2 คอ
K 2 2
C2 = C2 = (5) + (−4) = 41

K = 6.40 หน่วย ตอบ


ทศทางของ C2 หาได้จาก
C2 y 4
tan θ = = − = −0.80
C2 x 5
∴ θ = tan −1
(−0.80) = −38.7ο ตอบ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 23
y

K
38.7

ο
B x
(3,-1)
K K K
A− B
A
(2,-3)
(5,-4)

K K K
รูปแสดง C2 = A − B
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 24
การหาเวกเตอร์ลัพธ์โดยการสร้างรูป
K
ถ้ากําหนดA ขนาดยาว 4 หน่วย ในทศตาม
K K
แนวแกน x และ B ขนาดยาว 4 หน่ วยใน B
ทศทํามุม 45° กับแนวแกน x ถ้าต้องการหา K
A
K K K 45ο
เวกเตอร์ลัพธ์ ( R ) ที่เกดจาก A + B เรา
สามารถหาโดยวธี
K
การสร้าKงรูปได้ด้วยการนํา
หาง B มาเรีK ยงต่อกับหัว A แบบหางต่อหัว
สํ า หรั บ R จะเกดจาก การลากจากหาง K
R
เวกเตอร์ตัวตั้ง ไปยังหัวเวกเตอร์ตัวสุดท้าย 45ο
จากนั้ น นํ า เคร่ อ งมอวั ด มาวั ด ความยาวK
ได้เท่ากับ 7.39 หน่วย และมุมที่ R ทํากับ
แกน +x ทวนเข็มนาฬกา ประมาณ 22.5° ดัง
แสดงในรูป ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 25
การหาเวกเตอร์
K
ล พ
ั ธ์ โ ดยการคํ
K
า นวณ
พจารณา A ขนาด 4 หน่วย และ B มี K
A
ขนาด 4 หน่ ว ย ในทศทํ า มุ ม 45๐ กั บ

By= Bsin θ
แกน xK เราสามารถแยกองค์
K ป ระกอบ
ของ A และ B เป็นองค์ประกอบของ K
B
เวกเตอร์ตามแนวแกน x และแกน y ได้ 45ο
ตามลําดับ ดังต่อไปนี้ คอ
K K Bx= Bcos θ
Ax = ( Acos 0 ) i = 4î ; Ay = ( Asin 0ο ) ˆj = 0
ο ˆ

K ⎛ 4 ⎞⎟
Bx = ( B cos 45 ) i = ⎜⎜ ⎟⎟ î = 2.83iˆ
ο ˆ
⎜⎝ 2 ⎠
K ⎛ 4 ⎟⎞
By = ( B sin 45 ) j = ⎜⎜ ⎟⎟ ĵ = 2.83 ˆj
ο ˆ
⎜⎝ 2 ⎠ ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 26
K
สามารถหา R ตามแนวแกน x ได้
K
K R K
Ry K By
B
45ο K
K K
A Rx Bx
จากรูป จะได้ K K K
Rx = Ax + Bx = 4iˆ + 2.83iˆ = 6.83iˆ
K K K
Ry = Ay + By = 0 + 2.83 ˆj = 2.83 ˆj
ดังนัน
้ เวกเตอร์ลัพธ์
K K K
R = Rx + Ry = 6.83iˆ + 2.83 ˆj
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 27
ขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์หาได้จาก
K
R = R = Rx + Ry
2 2

2 2
= (6.83) + (2.83) = 7.39 หน่วย
และทศทางของเวกเตอร์ลัพธ์หาได้จาก
Ry 2.83
tan θ = = = 0.414
Rx 6.83
∴ θ = tan−1 (0.414) = 22.5ο
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 28
กฎของโคไซน์ (Law of Cosine)
K K
สมมุตว่า A และ B ทํามุม θ ดังรูปต่อไปนี้ ซึ่งเราสามารถ
สร้ า งรู ป สี่ เ หลี่ ย มด้ า นขนานโดยใช้ เ วกเตอร์ ทั้ ง สองเป็ น ด้ า น
ประกอบของรูปสี่เหลี่ยมนี้ ในกรณีนี้จะได้เวกเตอร์ที่อยู่ในแนว
เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมนี้เป็นเวกเตอร์ผลลัพธ์ของเวกเตอร์
ทั้งสอง y
K K
B R K
B sinθ
θ α
K Kθ x
จากรูปจะได้ A Bcosθ
K
R = ( A + B cos θ ) iˆ + ( B sin θ ) ˆj
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 29
ซึ่งสามารถหาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ได้ ดังนี้
2 2
∴R= ( A + B cos θ ) + ( B sin θ )
= ( A2
+ 2 AB cos θ + B 2
cos2
θ ) (
+ B 2
sin2
θ)

= A2 + 2 AB cos θ + B2 (cos2 θ + sin2 θ )

= A2 + B2 + 2 AB cos θ
2 2
ซึ่งจะได้ R = A + B + 2 AB cos θ

2 2 2
หรอ R = A + B + 2 AB cos θ
สมการข้างต้นคอ กฎของโคไซน์
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 30
y
K K
B R K
B sinθ
θ α K Kθ x
A B cos θ
K
จากรูปจะได้ R = ( A + B cos θ ) iˆ + ( B sin θ ) ˆj
นั่นคอ Rx = A + B cos θ ; Ry = B sinθ
Ry B sin θ
∴ tan α = =
Rx A + B cos θ
⎛ B sin θ ⎟⎞
α = tan ⎜⎜ −1
หรอ ⎜⎝ A + B cos θ ⎟⎟⎠
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 31
ใช้กฎของโคไซน์คาํ นวณหาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ จะได้
R = A2 + B2 + 2 AB cos θ
ในที่นี้ A = 4 , B = 4 และ θ = 45๐
R = 42 + 42 + 2 (4)(4) cos 45ο
= 32 + 22.62 = 54.63 = 7.39
⎛ B sin θ ⎞ ⎛ 4 sin 45ο ⎞
⎟⎟
และ α = tan−1 ⎜⎜⎜ ⎟⎟ = tan ⎜⎜
− 1
⎟ ⎜ ο⎟
⎝ A + B cos θ ⎠ ⎝ 4 + 4 cos 45 ⎟⎠
⎛ 2.83 ⎞⎟
= tan ⎜
−1
⎜⎜ ⎟⎟ = tan−1
( 0.414 ) = 22.5ο

⎝ 6.83 ⎠
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 32
ผลคูณสเกลาร์ K K
ผลคูณสเกลาร์ของA และB
มีนยามว่าเป็นปรมาณ
K K
สเกลาร์ที่ได้จากการคูณขนาดของ A กับ B และโคไซน์ของ
มุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสองนั้น ซึ่งผลคูณสเกลาร์นี้เขียน
K K K K
เป็นสัญลักษณ์ได้ว่า A ⋅ B (อ่านว่า A dot B) ซึ่งมีค่าดังนี้
K K sθ
A ⋅ B = AB cos θ B co
K K K
เม่อθ เป็นมุมระหว่าง A กับ B และ A
เป็นมุมที่ไม่เกน180° หรอ 0 ≤ θ ≤ 180° θ
K
K K B
อนึ่งให้สังเกตและจําไว้เสมอว่า A ⋅ B
จะเป็นปรมาณสเกลาร์ Acosθ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 33
K
ถ้า A เป็นเวกเตอร์ใดๆในระบบพกัดฉาก ซึ่งเขียนอยู่ในรูป
K K K
ขององค์ประกอบของเวกเตอร์ทั้งสามคอ Ax , Ay , Az ตามแนวแกน
K
x,y และ z ได้ตามลําดับ จะสามารถเขียน A ได้ดังสมการ
K K K K
A = Ax + Ay + Az = Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ
จากนยามของผลคูณสเกลาร์
K K
( )(
A ⋅ A = Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ ⋅ Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ )
= Ax2 + A2y + Az2
iˆ ⋅ iˆ = ˆj ⋅ ˆj = kˆ ⋅ kˆ = 1
เม่อ
iˆ ⋅ ˆj = ˆj ⋅ kˆ = kˆ ⋅ iˆ = 0
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 34
K
ดังนั้นขนาดของ A จะได้
K
A = A = Ax2 + Ay2 + Az2
K
จาก A = Axiˆ + Ay ˆj + Az kˆ
K
ถ้าคูณเวกเตอร์ A ด้วย iˆ จะได้
K
A ⋅ iˆ = Ax (iˆ ⋅ iˆ ) + Ay ( ˆj ⋅ iˆ ) + Az kˆ ⋅ iˆ( )
= Ax = Acosα
K
ในทํานองเดียวกัน ถ้าคูณ ด้วย jˆ และ kˆ จะได้
A

Ay = Acosβ และ Az = Acosγ


ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 35
เม่ อ α,β,γ เป็ น มุ ม ที่ เ วกเตอร์ ทํ า กั บ แกน x,y และ z
ตามลําดับ ดังนั้นเราสามารถนยามความหมายของไดเรคชัน
โคไซน์ (Direction Cosine) ได้เป็น
y
Ax
cos α =
A
Ay
K K cos β =
Ay A A
K Az
γ βα Ax cos γ =
A
และ
x
K 2
A 2 2
Az 2 2 2 A y A
cos α + cos β + cos γ = 2 + 2 + z2 x
A A A
z Ax2 + A2y + Az2
K =
รูปแสดง Direction Cosine ของA A2
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ =1 36
กฎต่าง ๆ ของผลคูณสเกลาร์
K K K K
1. A⋅ B = B ⋅ A Commutative Law
K K K K K K K
2. A ⋅( B + C ) = A ⋅ B + A ⋅ C Associative Law
K K K K K K
3. c ( A ⋅ B ) = (cA)⋅ B + A ⋅ (cB) เม่อ c เป็นสเกลาร์
K K K K
4. ถ้า A ⋅ B = 0 แสดงว่า (1) A = 0 หรอ B = 0
K K
หรอ (2) ถ้า A และ B ไม่เป็นศูนย์แสดงว่า
K K
A และ B ตั้งฉากกัน

ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 37
ตัวอย่างที่ 1-2
K K
กําหนดให้ A = 2iˆ − ˆj + 3kˆ จงหาเวกเตอร์หน่วยของ A และ
K
มุมที่ A ทํากับแกน x,y และ z ตามลําดับ
K
วธีทาํ หาขนาดของ A
2 2 2
2
A= A + A + A =
x
2
y
2
z (2) + (−1) + (3) = 14
= 3.74 หน่วย
K
ดังนั้นเวกเตอร์หน่วยของ A หรอ â คอ
K
A 2iˆ − ˆj + 3kˆ ตอบ
â = = = 0.53iˆ − 0.27 ˆj + 0.80kˆ
A 3.74
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 38
จากนยามของ Direction Cosine จะได้ว่า
Ax 2
cos α = = = 0.53
A 3.74
∴ α = cos−1 (0.53) = 58.0ο
Ay −1
cos β = = = −0.27
A 3.74
∴ β = cos (−0.27) = 105.7
−1 ο

Az 3
cos γ = = = 0.80
A 3.74
∴ γ = cos (0.80) = 36.9
−1 ο ตอบ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 39
ตัวอย่างที่ 1-3
K K
กํKาหนดให้ A = 2 ˆ + 3 ˆj และ B = −4 iˆ + ˆj จงหามุมระหว่าง
i
K
A และ B
K K
วธีทาํ จาก A ⋅ B = ABKcosK θ
A⋅ B (1)
∴ cos θ =
K K AB
( )(
A ⋅ B = 2iˆ + 3 ˆj ⋅ −4iˆ + ˆj = −8 + 3 = −5 )
หาขนาดของ A และ B จาก
2 2
A= A + A = 2
x
2
y (2) + (3) = 13 = 3.6
2 2
B= B +B = 2
x
2
y (−4) + (1) = 17 = 41.
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 40
แทนค่าลงในสมการที่ (1) จะได้
−5
cos θ = = −0.34
(3.6)(41. )
∴ θ = cos−1 (−0.34) = 109.8ο ตอบ
y
(2,3)
K
A
K 109 .8ο
B x

รูปตัวอยางที่ 1-3
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 41
ผลคูณเวกเตอร์ K K
ผลคูณเวกเตอร์ของ A และB ใดๆ มีนยามเป็นปรมาณ
เวกเตอร์ ซึ่งมีขนาดเท่ากับผลคูณของขนาดเวกเตอร์ และ
sine ของมุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสอง โดยมีทศตั้งฉากกับ
ระนาบที่ ฟ อร์ ม ขึ้ น โดยเวกเตอร์ สามารถ เขี ย นเป็ น
K K K K
สัญลักษณ์ได้ว่า A × B อ่านว่า A cross B และมีค่าดังนี้
K K K
C = A× B = AB sin θ nˆ
เม่อ 0 ≤ θ ≤ 180๐ และทศทางของเวกเตอร์ เขียนแสดงไว้ ตาม
ระบบมอขวาหรอแบบเกลียวขวา (Right–Handed System)
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 42
รูปแสดง ระบบมอขวาหรอแบบเกลียวขวา
(Right-Handed System)
K K
K ส่วนขนาดของ A×B จะมี
C
K ค่ า เ ท่ า กั บ พ้ น ที่ ข อ ง รู ป
B สี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้าน
n̂ θ h = B sinθ
K ประกอบด้ ว ยเวกเตอร์ ทั้ ง
A
รูปแสดงความหมายของผลคูณ สอง
K K ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 43
เวกเตอร์ที่เกดจาก A×B
K K
ถ้า A = Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ และ B = Bx iˆ + By ˆj + Bz kˆ
ดังนั้น
K K K
C = A× B
( ) (
= Ax iˆ + Ay ˆj + Az kˆ × Bx iˆ + By ˆj + Bz kˆ )
= ( Ay Bz − Az By ) iˆ − ( Ax Bz − Az Bx ) ˆj + ( Ax By − Ay Bx ) kˆ

ทั้งนี้เพราะว่า iˆ, jˆ, kˆ ต่างก็ตงั้ ฉากซึ่งกันและกัน ดังนั้น


iˆ × iˆ = 0 , ˆj × ˆj = 0 ,kˆ × kˆ = 0
iˆ × ˆj = kˆ , ˆj × kˆ = iˆ ,kˆ × iˆ = ˆj
iˆ × kˆ = − j ,kˆ × ˆj = −iˆ , ˆj × iˆ = −kˆ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 44
อี ก วธี ห นึ่ ง ที่ ส ามารถหาผลคู ณ เน่ อ งจากผลคู ณ
เวกเตอร์ ได้เช่นเดียวกับการคูณโดยตรง ก็คอวธีการทาง
เมทรกซ์ (Matrix) โดยใช้ ห ลั ก ของดี เ ทอร์ ม เนนท์
(Determinant) ดังแสดงต่อไปนี้
iˆ ˆj kˆ
K K K
C = A× B = Ax Ay Az
Bx By Bz
= î ( Ay Bz − Az By ) − ĵ ( Ax Bz − Az Bx )+k̂ ( Ax By − Ay Bx )
ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ออกมาเท่ากัน
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 45
กฎต่าง ๆ ของผลคูณเวกเตอร์
K K K K
1. A× B = −B × A Anti-Commutative Law
K K K K K K K
2. A×( B + C ) = A× B + A×C Distributive Law
K K K K K K
3. c ( A× B ) = (cA)× B + A×(cB) เม่อ c เป็นสเกลาร์
K K K K
4. ถ้า A× B = 0 แสดงว่า (1) A = 0 หรอ B = 0
K K
หรอ (2) ถ้า A และ B ไม่เป็นศูนย์แสดงว่า
K K
A และ B ขนานกัน
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 46
ตัวอย่างที่ 1-4
K K
กํKาหนดให้ A = 3iˆ + 2 ˆj − kˆ ; B = iˆ − ˆj +2kˆ และ
C = −2iˆ + 3 ˆj + kˆ จงหาผลลัพธ์ของเวกเตอร์ที่เกดจาก
K K K K K K
A ⋅ ( B ×C ) และ A×( B + C )
K K K
วธีทาํ A ⋅( B ×C ) หาได้จาก
iˆ ˆj kˆ
K K
B ×C = 1 −1 2 = (−1 − 6) iˆ −(1 + 4) ˆj + (3 − 2) kˆ
−2 3 1
= −7 iˆ − 5 ˆj + kˆ
K K K
( )(
∴ A ⋅ ( B × C ) = 3 î + 2 ˆj − kˆ ⋅ − 7 iˆ − 5 ˆj + kˆ )
= − 21 − 10 − 1 = − 32
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ
หน่วย ตอบ
47
K K K
A×( B + C ) หาได้จาก
K K
( ) (
B + C = iˆ − ˆj + 2kˆ + −2iˆ + 3 ˆj + k̂ )
= −iˆ + 2 ˆj + 3kˆ
iˆ ˆj kˆ
K K K
∴ A×( B + C ) = 3 2 −1
−1 2 3
= (6 + 2) iˆ − (9 − 1) ˆj + (6 + 2) kˆ

= 8 iˆ − 8 ˆj + 8 kˆ ตอบ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 48
เกรเดียน ไดเวอร์เจนต์ เคร์ล และลาปลาเชียล
ถ้ากําหนด สนามเวคเตอร์ (Vector Field) และ
สนามสเกลาร์ (Scalar Field) ที่ขึ้นอยู่กับตําแหน่ง x,y
K K
และ z คอ A = A (x, y, z )และ φ = φ (x, y, z ) ตามลําดับ เรา
ส า ม า ร ถ น ย า ม อ นุ พั น ธ์ ข อ ง เ ว ก เ ต อ ร์ (Vector
Differential) ∇ (อ่านว่า del) ได้คอ
ˆ ∂ ˆ ∂ ˆ ∂
∇=i +j +k
∂x ∂y ∂z
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 49
เกรเดียน
ถ้าให้φ = φ (x, y, z ) ซึ่งเป็นฟังก์ชันสเกลาร์ ดังนั้น∇φ เรียกว่า
grad φ ซึ่งเป็นเวกเตอร์ จะมีค่าเป็น
ˆ ∂φ ˆ ∂φ ˆ ∂φ
∇φ = i +j +k
∂x ∂y ∂z
ไดเวอร์เจนต์
K K K
ถ้าให้
A = A (x , y, z ) ซึ่งเป็นฟังก์ชันเวกเตอร์ดังนั้น∇ ⋅ A เรียกว่า
div A ซึ่งเป็นสเกลาร์ จะมีค่าเป็น
K ∂Ax ∂Ay ∂Az
∇⋅ A = + +
∂x ∂y ∂z
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 50
เคร์ล K K K
ถ้าให้ A = A (x , y, z )
ซึ่งเป็นฟังก์ชันเวกเตอร์ ดังนั้น ∇ × A
เรียกว่า curl A ซึง่ เป็นเวกเตอร์ จะมีค่าเป็น
iˆ ˆj kˆ
K ∂ ∂ ∂
∇× A =
∂x ∂y ∂z
Ax Ay Az
ลาปลาเชียล
ถ้าให้ φ = φ (x, y, z ) ซึ่งเป็นฟังก์ชันสเกลาร์ ดังนั้น ∇ φ 2

เรียกว่าลาปาเชียล φ ซึ่งเป็นสเกลาร์ จะมีค่าเป็น


2 2 2
2 ∂ φ ∂ φ ∂ φ
∇φ= 2 + 2 + 2
∂x ∂y ∂z
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 51
ตัวอย่างที่ 1-5
K K
กําหนดให้ A = ( x y ) iˆ + (2 xyz) ˆj −( yz ) kˆ จงหา
2 2
divA
K
และ curlA
วธีทาํ จากนยามของไดเวอร์เจนต์
K ∂Ax ∂Ay ∂Az
∇⋅ A = + +
∂x ∂y ∂z
ในกรณีนี้ Ax = x 2y, Ay = 2xyz, Az = −yz 2 แทนค่าลงใน
สมการข้างต้นจะได้
K ∂ ( ) ∂ (2 xyz) ( )
x2
y ∂ − yz2

∇⋅ A = + +
∂x ∂y ∂z
= 2 xy + 2 xz − 2 yz ตอบ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 52
จากนยามของเคร์ล จะได้
iˆ ˆj kˆ iˆ ˆj kˆ
K ∂ ∂ ∂ ∂ ∂ ∂
∇× A = =
∂x ∂y ∂z ∂x ∂y ∂z
Ax Ay Az x2 y 2 xyz − yz2
⎡∂ ∂ ⎤ ⎡∂ ∂ 2 ⎤ˆ ⎡ ∂ ∂ 2 ⎤ˆ
= ⎢ (− yz ) − (2 xyz )⎥ i − ⎢ (− yz ) − ( x y )⎥ j + ⎢ (2 xyz ) − ( x y )⎥ k
2 ˆ 2
⎢ ⎥ ⎢⎣ ∂x ⎥⎦ ⎢ ⎥
⎣ ∂y ∂z ⎦ ∂z ⎣ ∂x ∂y ⎦

= (−z2 − 2 xy ) iˆ − (0 − 0) ˆj + (2 yz − x2 ) kˆ

= (−z2 − 2 xy ) iˆ + (2 yz − x2 ) kˆ ตอบ
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 53
Homework
K K K
1. ถ้าให้ A = −3iˆ + 2 jˆ + kˆ , B = 2iˆ − 3 jˆ − kˆ , C = −iˆ + jˆ − 2kˆ
K K K K K K
จงหา และ
(A × B ) ⋅ C (A − B ) ×C
( Ans -12 หน่วย , −12iˆ − 12 jˆ )
K K
2. กําหนดให้เวกเตอร์A = 3i + 4 j + k และB = −2iˆ − 2 jˆ + 3kˆ
ˆ ˆ ˆ
K K K K K K K K
จงหา A + B, A − B, A + B , A − B , aˆ, bˆ และมุมระหว่าง
K K
A และ B
ดร.ทักษกมนต วิจักษณธนาวุฒิ 54

You might also like