You are on page 1of 40

เวกเตอร์

8 Aug 2022
สารบัญ

ปริมาณเวกเตอร์.................................................................................................................................................................................1
เวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉาก ................................................................................................................................................................8
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย.......................................................................................................................................................................... 13
ผลคูณเชิงสเกลาร์ ........................................................................................................................................................................... 17
ผลคูณเชิงเวกเตอร์.......................................................................................................................................................................... 29
พืน้ ที่และปริมาตร ............................................................................................................................................................................ 32
เวกเตอร์ 1

ปริมาณเวกเตอร์

ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่มี “ทิศทาง” กากับมาด้วย


(ถ้ามีแต่ตวั เลข แต่ไม่มีทิศทาง เราจะเรียกว่า “ปริมาณสเกลาร์”)
ตัวอย่างปริมาณเวกเตอร์ เช่น 2 เมตร ไปทางทิศเหนือ
3 ซ.ม. ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
√3 หน่วย ไปทางทิศ 120° เป็ นต้น

เราสามารถแทนปริมาณแบบเวกเตอร์ดว้ ยลูกศร
เช่น เวกเตอร์ 2 หน่วย ไปทางทิศใต้ จะแทนได้ดว้ ยรูป 2

ในเรื่องนี ้ เรานิยมใช้ตัวแปร 𝑢̅ , 𝑣̅ , 𝑤̅ ในการเรียกชื่อเวกเตอร์


หรืออาจเรียกด้วยจุดเริ่มต้นกับจุดสิน้ สุดของเวกเตอร์ก็ได้
เช่น AB
⃗⃗⃗⃗⃗ จะหมายถึงเวกเตอร์ท่ีเริ่มต้นที่ A และจบที่ B

เวกเตอร์หนึ่งๆ จะมีสว่ นประกอบ 2 อย่าง คือ “ขนาด” และ “ทิศทาง”


“ตาแหน่ง” ของเวกเตอร์ จะไม่มีความสาคัญ กล่าวคือ เวกเตอร์หนึ่งๆ สามารถเลื่อนไปเลื่อนมาได้
ตราบใดที่ “ขนาด” และ “ทิศทาง” ยังเหมือนเดิม เราจะยังถือว่ามันเป็ นเวกเตอร์เดิม
เช่น D C AB ⃗⃗⃗⃗⃗ เพราะ ยาวเท่ากัน และมีทิศเดียวกัน
⃗⃗⃗⃗⃗ = DC
⃗⃗⃗⃗⃗ AD เพราะ ขนาดต่างกัน
AB ≠ ⃗⃗⃗⃗⃗
A B ⃗⃗⃗⃗⃗ CD ถึงจะยาวเท่ากัน และทิศไม่เหมือนกัน (⃗⃗⃗⃗⃗
AB ≠ ⃗⃗⃗⃗⃗ AB กับ CD มีทิศตรงข้ามกัน)
⃗⃗⃗⃗⃗

ขนาดของเวกเตอร์ 𝑢̅ จะแทนด้วยสัญลักษณ์ |𝑢̅| หมายถึงความยาวของ 𝑢̅


เช่น D C ⃗⃗⃗⃗⃗ | = 4 |BC
|AB ⃗⃗⃗⃗⃗ | = 3
3 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = 5 (ใช้ดา้ นชุดพีทากอรัส 3 , 4 , 5)
|AC
A B ⃗⃗⃗⃗⃗ | = 0
|AA
4

หมายเหตุ: เวกเตอร์ท่ีมีขนาดเป็ นศูนย์ จะเรียกว่า “เวกเตอร์ศนู ย์” ซึ่งแทนได้ดว้ ยสัญลักษณ์ ̅


0
เขียนเป็ นสัญลักษณ์ได้ว่า |0̅| = 0 นั่นเอง
เหนือ
ทิศของเวกเตอร์ จะบอกโดยใช้ทิศตามแผนที่ก็ได้ ตะวันตก ตะวันออก

ใต้
หรือจะใช้วิธีบอกเป็ นองศาแบบ 3 หลัก ก็ได้ วิธีนีจ้ ะเริ่มวัดจากทิศ 12 นาฬิกา (ทิศเหนือ) แบบตามเข็ม

45°
300°
ทิศ 045° ทิศ 090° ทิศ 300°
2 เวกเตอร์

เวลาที่เราพูดว่า เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ “ขนานกัน” เราจะรวมทัง้ กรณี “ทิศเดียวกัน” กับกรณี “ทิศตรงข้ามกัน”

𝑢̅ 𝑣̅
𝑣̅
𝑢̅
ทิศเดียวกัน ทิศตรงข้ามกัน

3𝑢̅
เวกเตอร์ 3𝑢̅ จะหมายถึงเวกเตอร์ในทิศเดียวกัน ที่มีขนาดเป็ น 3 เท่าของ 𝑢̅ 𝑢̅

1
1 𝑢̅
เวกเตอร์ 2
𝑢̅ จะหมายถึงเวกเตอร์ในทิศเดียวกัน ที่มีขนาดเป็ นครึง่ หนึ่งของ 𝑢̅ 𝑢̅
2

เวกเตอร์ −𝑢̅ จะหมายถึงเวกเตอร์ท่ีขนาดเท่ากับ 𝑢̅ แต่มีทิศตรงข้ามกับ 𝑢̅ 𝑢̅

หมายเหตุ : BA ⃗⃗⃗⃗⃗ เสมอ


⃗⃗⃗⃗⃗ = −AB −𝑢̅

𝑢̅
เวกเตอร์ −2𝑢̅ จะหมายถึงเวกเตอร์ท่ีขนาดเป็ น 2 เท่าของ 𝑢̅ และมีทิศตรงข้ามกับ 𝑢̅
−2𝑢̅
จะเห็นว่า 𝑢̅ กับ 𝑎𝑢̅ จะขนานกันเสมอ (𝑎 จะเป็ นตัวเลขบวกหรือลบอะไรก็ได้)
หรือพูดอีกแบบได้ว่า 𝑢̅ จะขนานกับ 𝑣̅ ก็เมื่อสามารถเขียน 𝑣̅ = 𝑎𝑢̅ ได้น่ นั เอง

ตัวอย่าง จากรูป จงหาเวกเตอร์ทงั้ หมดที่ขนานกับ ⃗⃗⃗⃗⃗


AB
H G
J E
I F
L C D
K
A B

วิธีทา ขนานกัน จะรวมทัง้ ทิศเดียวกัน และทิศตรงข้าม


เวกเตอร์ท่ีมีทิศเดียวกับ AB
⃗⃗⃗⃗⃗ ได้แก่ CD⃗⃗⃗⃗⃗ , FE⃗⃗⃗⃗ , HG
⃗⃗⃗⃗⃗ , JI⃗ , KL
⃗⃗⃗⃗⃗
เวกเตอร์ท่ีมีทิศตรงข้ามกับ AB ⃗⃗⃗⃗⃗ ได้แก่ DC⃗⃗⃗⃗⃗ , EF
⃗⃗⃗⃗ , GH⃗⃗⃗⃗⃗ , IJ
⃗ , LK ⃗⃗⃗⃗⃗ , ⃗⃗⃗⃗⃗
BA #

เวกเตอร์บวกกัน คือการนาเวกเตอร์มาโยงต่อกัน โดยจะเอาตัวไหนตัง้ ก่อนก็ได้ ได้ผลลัพธ์เท่ากัน


เช่น 𝑢̅ + 𝑣̅ 𝑢̅
𝑢̅ 𝑣̅ 𝑣̅
+ = 𝑣̅ =
𝑢̅ 𝑢̅ + 𝑣̅

เวกเตอร์ลบกันได้ ให้กลับทิศตัวลบ แล้วโยงต่อกัน กล่าวคือ 𝑢̅ − 𝑣̅ = 𝑢̅ + (−𝑣̅ )


เช่น 𝑢̅
𝑢̅ − 𝑣̅ =
𝑢̅ − 𝑣̅ −𝑣̅
เวกเตอร์ 3

บางคนนิยมท่องว่า 𝑢̅ − 𝑣̅ ให้เอา โคนลูกศรมาต่อกัน แล้วลากจาก “ตัวลบ” ไปหา “ตัวตัง้ ”


เช่น
𝑣̅
𝑣̅ 𝑢̅ − 𝑣̅
𝑢̅ − =
𝑢̅

เวกเตอร์ท่ีขนานกัน มาบวกลบกัน ให้เอาตัวเลขหน้าเวกเตอร์มาบวกลบกันได้เลย


1 9
เช่น 𝑢̅ + 𝑢̅ = 2𝑢̅ 5𝑢̅ − 𝑢̅ = 𝑢̅
2 2
̅
𝑢̅ − 𝑢̅ = 0

ตัวอย่าง สามเหลี่ยม ABC มี ⃗⃗⃗⃗⃗


AB = 𝑢̅ และมี ⃗⃗⃗⃗⃗
AC = 𝑣̅ ให้ CD เป็ นเส้นมัธยฐานของสามเหลี่ยม ABC จงหา ⃗⃗⃗⃗⃗
CD ใน
รูปของ 𝑢̅ และ 𝑣̅
วิธีทา C วาดรูปได้ดงั รูป
มัธยฐาน คือ เส้นที่ลากไปแบ่งครึง่ ฐาน ดังนัน้ AD = DB
𝑣̅
1
นั่นคือ จะได้ว่า ⃗⃗⃗⃗⃗
AD = 2 𝑢̅
D
1
A 𝑢̅ B จะได้ ⃗⃗⃗⃗⃗
CD = ⃗⃗⃗⃗⃗
AD − ⃗⃗⃗⃗⃗
AC = 2 𝑢̅ − 𝑣̅ #

เราสามารถนาความรูเ้ รื่องเวกเตอร์ ไปพิสจู น์กฤษฎีทางเรขาคณิตได้


โดยเราจะสมมุติให้ดา้ นพืน้ ฐานของรูปที่จะพิสจู น์ เป็ น 𝑢̅ , 𝑣̅ แล้วเปลี่ยนเวกเตอร์ท่ีตอ้ งการพิสจู น์ให้อยู่ในรูป 𝑢̅ , 𝑣̅
จากนัน้ จึงใช้ความรูเ้ รื่องเวกเตอร์ มาสรุปเกี่ยวกับด้านที่ตอ้ งการพิสจู น์นนั้ ๆ

ตัวอย่าง จากรูป จงพิสจู น์ว่า DE ขนาน และยาวเป็ นครึ่งหนึ่งของ AB


C

D E

A B

วิธีทา กาหนดให้ ⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑢̅


CD และ ⃗⃗⃗⃗ = 𝑣̅
CE ถัดมา เราจะเปลี่ยนด้านที่ตอ้ งการพิสจู น์ ให้อยู่ในรูป 𝑢̅ และ 𝑣̅
⃗⃗⃗⃗⃗ = DC
DE ⃗⃗⃗⃗⃗ + CE
⃗⃗⃗⃗ = −𝑢̅ + 𝑣̅
⃗⃗⃗⃗⃗ = 2𝑢̅ , CB
CA ⃗⃗⃗⃗⃗ = 2𝑣̅
⃗⃗⃗⃗⃗
AB = ⃗⃗⃗⃗⃗
AC + ⃗⃗⃗⃗⃗
CB = −2𝑢̅ + 2𝑣̅
จะเห็นว่า ⃗⃗⃗⃗⃗
AB กับ ⃗⃗⃗⃗⃗
DE คล้ายๆกัน นั่นคือ ⃗⃗⃗⃗⃗
AB = −2𝑢̅ + 2𝑣̅ = 2(−𝑢̅ + 𝑣̅ ) ⃗⃗⃗⃗⃗
= 2DE
เนื่องจาก ⃗⃗⃗⃗⃗
AB = ⃗⃗⃗⃗⃗ ดังนัน
2DE ้ DE ขนาน และยาวเป็ นครึง่ หนึ่งของ AB #

ตัวอย่าง จงพิสจู น์ว่าเส้นทแยงมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนานแบ่งครึง่ ซึ่งกันและกัน


วิธีทา D C
วาดรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน และกาหนดความยาว ดังรู ป
𝑦 E 𝑥 เราจะพิสจู น์ว่า 𝑤 = 𝑥 และ 𝑦 = 𝑧
𝑤 𝑧 กาหนดให้ AD ⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑢̅ และ AB
⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑣̅
A B จะได้ BC
⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑢̅ ด้วย และ DC ⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑣̅ ด้วย
4 เวกเตอร์

ดังนัน้ ⃗⃗⃗⃗⃗
AC = ⃗⃗⃗⃗⃗
AB + ⃗⃗⃗⃗⃗
BC = 𝑣̅ + 𝑢̅ และ ⃗⃗⃗⃗⃗
BD = ⃗⃗⃗⃗⃗
BA + ⃗⃗⃗⃗⃗
AD = −𝑣̅ + 𝑢̅
𝑤 𝑤
และจะได้ ⃗⃗⃗⃗⃗
AE = (
𝑤+𝑥
) ⃗⃗⃗⃗⃗
AC = (
𝑤+𝑥
) (𝑣̅ + 𝑢̅)
𝑧 𝑧
⃗⃗⃗⃗⃗
BE = ( ) ⃗⃗⃗⃗⃗
BD = ( ) (−𝑣̅ + 𝑢̅)
𝑦+𝑧 𝑦+𝑧

และเนื่องจาก ⃗⃗⃗⃗⃗
AE + ⃗⃗⃗⃗⃗
EB = ⃗⃗⃗⃗⃗
AB
𝑤 𝑧
ดังนัน้ (𝑤+𝑥) (𝑣̅ + 𝑢̅) − (𝑦+𝑧 ) (−𝑣̅ + 𝑢̅ ) = 𝑣̅
𝑤 𝑧
เพื่อความสะดวกในการแก้สมการ จะเปลี่ยนตัวแปรโดยให้ 𝑤+𝑥
=𝑎 และ 𝑦+𝑧 = 𝑏 จะได้

𝑎(𝑣̅ + 𝑢̅) − 𝑏(−𝑣̅ + 𝑢̅) = 𝑣̅


𝑎𝑣̅ + 𝑎𝑢̅ + 𝑏𝑣̅ − 𝑏𝑢̅ = 𝑣̅
𝑎𝑢̅ − 𝑏𝑢̅ = 𝑣̅ − 𝑎𝑣̅ − 𝑏𝑣̅
(𝑎 − 𝑏)𝑢̅ = (1 − 𝑎 − 𝑏)𝑣̅

แต่ 𝑢̅ กับ 𝑣̅ ไม่ขนานกัน ดังนัน้ (𝑎 − 𝑏)𝑢̅ กับ (1 − 𝑎 − 𝑏)𝑣̅ จะไม่มีทางเท่ากันได้


ยกเว้นเพียงกรณีเดียว คือ 𝑎 − 𝑏 = 0 และ 1 − 𝑎 − 𝑏 = 0
𝑎−𝑏 =0 (1)
1−𝑎−𝑏 =0 (2)
(1) + (2): 1 − 2𝑏 =0
1
𝑏 =2
1 1
𝑏= → (2): 1 − 𝑎 − =0
2 2
1
𝑎 =2

𝑤 1 𝑧 1
เปลี่ยน 𝑎 กับ 𝑏 กลับเป็ น 𝑤, 𝑥, 𝑦, 𝑧 จะได้ 𝑤+𝑥
= 2
และ 𝑦+𝑧
= 2
2𝑤 = 𝑤+𝑥 2𝑧 = 𝑦+𝑧
𝑤 = 𝑥 𝑧 = 𝑦

จะได้ว่า 𝑤=𝑥 และ 𝑧=𝑦 นั่นคือ เส้นทแยงมุมทัง้ สอง แบ่งครึง่ ซึ่งกันและกันนั่นเอง #

แบบฝึกหัด C
1. จากรูป กาหนดให้ AB⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑢̅ และ AC⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝑣̅
3 2
จงเขียนเวกเตอร์ต่อไปนี ้ ในรูปของ 𝑢̅ และ 𝑣̅ D E
1 1
A 2 2 B
F

1. ⃗⃗⃗⃗⃗
AF 2. ⃗⃗⃗⃗⃗
AD

3. ⃗⃗⃗⃗⃗
DC 4. ⃗⃗⃗⃗⃗
CA

5. ⃗⃗⃗⃗
BF 6. ⃗⃗⃗⃗⃗
BC
เวกเตอร์ 5

7. ⃗⃗⃗⃗⃗
BE 8. ⃗⃗⃗⃗
CE

9. ⃗⃗⃗⃗
CF 10. ⃗⃗⃗⃗⃗
FD

11. ⃗⃗⃗⃗⃗
AE 12. ⃗⃗⃗⃗⃗
DE

D 1 F 3 C
2. จากรูป กาหนดให้ และ
⃗⃗⃗⃗⃗
AB = 𝑢̅ ⃗⃗⃗⃗⃗
AD = 𝑣̅
2 1
H E
จงเขียนเวกเตอร์ต่อไปนี ้ ในรูปของ 𝑢̅ และ 𝑣̅ 1
A 2 G 2 B

1. ⃗⃗⃗⃗⃗
BC 2. ⃗⃗⃗⃗⃗
AC

3. ⃗⃗⃗⃗⃗
DB 4. ⃗⃗⃗⃗⃗
AF

5. ⃗⃗⃗⃗
GF 6. ⃗⃗⃗⃗⃗
HG

7. ⃗⃗⃗⃗⃗
AH 8. ⃗⃗⃗⃗⃗
HE

3. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ท่ีไม่ขนานกัน ถ้า 𝑎(𝑢̅ + 𝑣̅ ) − 𝑢̅ = 𝑏(𝑢̅ − 𝑣̅ ) แล้ว จงหาค่าของ 𝑎 − 𝑏


6 เวกเตอร์

1
4. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมที่มี D เป็ นจุดบนด้าน AC และ F เป็ นจุดบนด้าน BC ถ้า ⃗⃗⃗⃗⃗
AD = 4 ⃗⃗⃗⃗⃗
AC ,
1 𝑎
⃗⃗⃗⃗ BC และ ⃗⃗⃗⃗⃗
BF = ⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗ แล้ว มีค่าเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-12]
⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝑏BC
DF = 𝑎AB
3 𝑏

1
5. กาหนดให้ ABCD เป็ นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน M เป็ นจุดบนด้าน AD ซึ่ง ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
AM = 5 ⃗⃗⃗⃗⃗ AD
1
และ N เป็ นจุดบนเส้นทแยงมุม AC ซึ่ง ⃗⃗⃗⃗⃗ AC ถ้า ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
AN = 6 ⃗⃗⃗⃗⃗ MN = 𝑎AB⃗⃗⃗⃗⃗ + bAD ⃗⃗⃗⃗⃗ แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 52)/24]
เวกเตอร์ 7

6. กาหนดจุด A(3, 0) , B(3 + √3 , 1) และ C(𝑎, 𝑏) โดยที่ C อยู่ในจตุภาคที่ 4


⃗⃗⃗⃗⃗ กับ AC
AB ⃗⃗⃗⃗⃗ ทามุมกัน 60° และ |AC ⃗⃗⃗⃗⃗ | จงหาค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 [PAT 1 (ธ.ค. 54)/33]
⃗⃗⃗⃗⃗ | = 2√3 |AB

7. จากรูป 𝑎 + 𝑏⃗ + 𝑐 = ⃗0 Y
𝑏⃗
𝑐
X
110° 125°

ข้อใดต่อไปนีถ้ ูก [PAT 1 (ธ.ค. 54)/12]


1. |𝑎| cosec 35° = |𝑐| (1 + cot 20°
cot 35°
) 2. |𝑎| cosec 20° = |𝑐| (1 +
cot 35°
cot 20°
)
tan 20° tan 35°
3. |𝑎| cosec 35° = |𝑐| (1 +
tan 35°
) 4. |𝑎| cosec 20° = |𝑐| (1 +
tan 20°
)
8 เวกเตอร์

เวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉาก

ที่ผ่านมา เราจะแทนเวกเตอร์ดว้ ย “รูปลูกศร” ซึ่งไม่สะดวกในการนาไปคานวณ


เราจะมีอีกวิธีในการเขียนเวกเตอร์ โดยใช้ “ระยะทางแกน X” กับ “ระยะทางแกน Y”
เช่น 𝑢̅ มีระยะทางแกน X เท่ากับ 1 และมีระยะทางแกน Y เท่ากับ 2
𝑢̅ 2 1
เราจะเขียนแทน 𝑢̅ ในรูปสัญลักษณ์ได้เป็ น [ ]
1
2

เวลาวัดระยะทางแกน X หรือ แกน Y ให้วดั จากจุดเริ่มต้น ไปหาจุดสิน้ สุด


การวัดระยะทางแกน X ถ้าวัดไปทางขวาเป็ นจะเป็ นบวก วัดไปทางซ้ายจะเป็ นลบ
การวัดระยะทางแกน Y ถ้าวัดขึน้ เป็ นจะเป็ นบวก วัดลงจะเป็ นลบ
2 −1
𝑣̅
−2 1 −2
𝑢̅ 𝑤
̅
−2
2 −2 −1
𝑢̅ = [ ] 𝑣̅ = [ ] ̅ =[ ]
𝑤
−2 1 −2

โจทย์นิยมนาเวกเตอร์ไปวางในระบบแกน XY และบอกพิกดั จุดตั้งต้น (𝑥1 , 𝑦1 ) กับจุดสิน้ สุด (𝑥2 , 𝑦2 ) มาให้


ในกรณีนี ้ เราจะใช้สตู ร

𝑥 −𝑥 เอาจุดปลายตัง้
เวกเตอร์ท่ีชีจ้ าก (𝑥1 , 𝑦1 ) ไปยัง (𝑥2 , 𝑦2 ) คือ [𝑦2 − 𝑦1 ]
2 1 ลบด้วยจุดเริม่

4−1 3
เช่น เวกเตอร์จาก (1, 3) ไปยัง (4, 9) คือ
9−3
[
] = [ ]
6
−1 − 1 −2
เวกเตอร์จาก (1, −2) ไปยัง (−1, 0) คือ [
0 − (−2)
]=[ ]
2
เป็ นต้น

เวกเตอร์ท่ีเราพบมาจนถึงขณะนี ้ จะเป็ นเวกเตอร์แบบ “สองมิติ”


กล่าวคือ เป็ นเวกเตอร์ท่ีสามารถบอกด้วยระยะทางแกน X กับ ระยะทางแกน Y ได้ เรียกแบบเต็มยศว่า เป็ น
เพราะเวกเตอร์แบบสองมิติ จะมีแค่ความกว้างกับความยาว เวกเตอร์ใน “ปริภูมิสามมิติ”

ในกรณีท่ีเวกเตอร์ มี “ความลึก” (หรือบางที เรียกว่า “ความสูง”) ด้วย จะถือเป็ นเวกเตอร์แบบ “สามมิติ”


Z เช่น เวกเตอร์ท่ีลากจากมุมฝั่ งในกล่องด้านล่าง ไปยังมุมตรงข้ามด้านบน
เวกเตอร์นี ้ จะมีทงั้ กว้าง ยาว และสูง
𝑢̅ 3 ในกรณีนี ้ เราจะมี “ระยะทางแกน Z” เข้ามารวมด้วย
Y 1
1
4 เช่นจากรูป จะได้ 𝑢̅ = [4]
X 3
เวกเตอร์ 9

สูตรสาหรับหาเวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติจะคล้ายกับสูตรของสองมิติ คือ เอาจุดปลายตัง้ ลบด้วยจุดเริ่ม

𝑥2 − 𝑥1
เวกเตอร์ท่ีชีจ้ าก (𝑥1 , 𝑦1 , 𝑧1 ) ไปยัง (𝑥2 , 𝑦2 , 𝑧2 ) คือ [𝑦2 − 𝑦1 ]
𝑧2 − 𝑧1

5−0 5
เช่น เวกเตอร์จาก (0, 2, 5) ไปยัง (5, 4, 2) คือ[4 − 2] = [ 2 ]
2−5 −3
0−1 −1
เวกเตอร์จาก (1, −2, 0) ไปยัง (0, 2, −3) คือ [2 − (−2)] = [ 4 ]
−3 − 0 −3

เวกเตอร์ศนู ย์
เวกเตอร์ศนู ย์ แทนได้ดว้ ยสัญลักษณ์ 0̅ คือ เวกเตอร์ท่ีมีขนาดเป็ นศูนย์
0
ในระบบพิกดั ฉาก เวกเตอร์ศูนย์ จะเขียนแทนได้เป็ น [0] (หรือ [0] ในพิกดั ฉากแบบ 3 มิติ)
0
0

การเท่ากัน
เวกเตอร์สองเวกเตอร์ จะเท่ากัน เมื่อ ขนาดเท่ากัน และ ชีไ้ ปทางทิศเดียวกัน
ในระบบพิกดั ฉาก เวกเตอร์สองเวกเตอร์ จะเท่ากัน เมื่อ ระยะของแต่ละแกน เท่ากันหมดทุกแกน
𝑥 𝑥
กล่าวคือ [𝑦11 ] = [𝑦22 ] ก็ต่อเมื่อ 𝑥1 = 𝑥2 และ 𝑦1 = 𝑦2
𝑥1 𝑥2
[ 1 ] = [𝑦2 ] ก็ต่อเมื่อ 𝑥1 = 𝑥2 และ 𝑦1 = 𝑦2 และ 𝑧1 = 𝑧2
𝑦
z1 z2
2 𝑦+1
เช่น ถ้า [ ] = [ ] เราจะสามารถสรุปได้ว่า 2 = 𝑦 + 1 และ 𝑥 = 3
𝑥 3
𝑎 2
ถ้า [𝑎 + 𝑏] = [ 𝑐 ] เราจะสามารถสรุปได้ว่า 𝑎 = 2 , 𝑎 + 𝑏 = 𝑐 , −3 = 𝑎 + 𝑐 เป็ นต้น
−3 𝑎+𝑐

ขนาดของเวกเตอร์
ในระบบพิกดั ฉาก เราหาขนาดของเวกเตอร์ได้จากสูตรพีทากอรัส

ขนาดของ [𝑎𝑏] จะเท่ากับ √𝑎2 + 𝑏2 3


5
4
12
5
13
𝑎 7 24 25
ขนาดของ [𝑏] จะเท่ากับ √𝑎2 + 𝑏2 + 𝑐 2 8 15 17
𝑐 9 40 41

3
เช่น ขนาดของ [ ] คือ √32 + 42 = 5
4
ขนาดของ [−5] คือ √(−5)2 + 122 = 13
12
1
ขนาดของ [−1] คือ √12 + (−1)2 + 22 = √6
2
10 เวกเตอร์

คูณเวกเตอร์ดว้ ยตัวเลข
𝑎𝑢̅ คือเวกเตอร์ในทิศเดิม ที่ยาวเป็ น 𝑎 เท่าของ 𝑢̅ (ถ้า 𝑎 เป็ นลบ จะเปลี่ยนเป็ นทิศตรงข้าม)
ในระบบพิกดั ฉาก ให้กระจายตัวเลขที่มาคูณ เข้าไปคูณระยะแต่ละแกนได้เลย (ไม่ว่า 𝑎 เป็ นบวกหรือลบก็ทาเหมือนกัน)
−1 −2 2 −6
เช่น 2×[ ]=[ ] [ ] × (−3) = [ ]
3 6 −1 3
−1 2
(−2) × [−2] = [4]
−3 6

การขนานกัน
𝑢̅ กับ 𝑣̅ จะขนานกัน เมื่อสามารถเขียน 𝑢̅ = 𝑘𝑣̅ ได้ เมื่อ 𝑘 เป็ นตัวเลขซักตัว
โดย ถ้า 𝑘 > 0 → ขนานแบบ “ทิศเดียวกัน”
ถ้า 𝑘 < 0 → ขนานแบบ “ทิศตรงข้าม”
2 4 2 4
เช่น [ ] กับ [ ] ขนานแบบทิศเดียวกัน เพราะ 2 × [ ] = [ ] และ 2 เป็ นบวก
3 6 3 6
−2 1 −2 1
[ ] กับ [ ] ขนานแบบทิศตรงข้าม เพราะ [ ] = −2 × [ ] และ −2 เป็ นลบ
−4 2 −4 2
−1 3 −1 3
[ 2 ] กับ [−6] ขนานแบบทิศตรงข้าม เพราะ −3 × [ 2 ] = [−6] และ −3 เป็ นลบ
−3 9 −3 9
−1 2
[ 1 ] กับ [−2] ไม่ขนานกัน เพราะหาตัวมาคูณไห้เท่ากันไม่ได้ (X กับ Y ต้องคูณ −2 แต่ Z คูณ −2 จะไม่เท่า)
−2 −4
−1 2 −1 2
[ 1 ] กับ [−2] ขนานแบบทิศตรงข้าม เพราะ −2 × [ 1 ] = [−2] และ −2 เป็ นลบ
0 0 0 0
0 0 5 0 0 5
[ ] กับ [ ] ขนานแบบทิศเดียวกัน เพราะ × [ ] = [ ] และ เป็ นบวก
3 5 3 3 5 3
0 1
[ ] กับ [ ] ไม่ขนานกัน เพราะหาตัวมาคูณให้เท่ากันไม่ได้ (แกน X จะไม่มีอะไรมาคูณแล้วเท่าได้)
3 6

การบวกลบเวกเตอร์
เวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉาก สามารถนามาบวกลบกันได้ โดยให้เอาระยะแต่ละแกนมาบวกลบกันได้เลย
1 5 6 1 5 −4
เช่น [ ]+[ ] = [ ]
2 5
[ ]−[ ]= [ ]
2 −1
3 3
1 0 1 −1 −5 4
[−2] + [−1] = [−3] [ 0 ] − [ 2 ] = [−2]
2 −3 −1 2 −3 5

หมายเหตุ: เราไม่สามารถเอาเวกเตอร์บวกกับตัวเลขได้ เช่น [12] + 3 จะถือว่าไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์


1 3
แต่เวกเตอร์คณ
ู กับตัวเลขได้ เช่น [ ]×3 = [ ]
2 6
และเวกเตอร์ คูณกับเวกเตอร์ก็ได้ (จะได้เรียนในหัวข้อหน้า)
เวกเตอร์ 11

ตัวอย่าง ให้จดุ A(0, −1, 1) , B(1, 1, 1) และ C(3, 5, −1) เป็ นจุดในปริภูมิสามมิติ จงหา ⃗⃗⃗⃗⃗ − 2AC
3BA ⃗⃗⃗⃗⃗
วิธีทา หาเวกเตอร์ BA
⃗⃗⃗⃗⃗ และ CA
⃗⃗⃗⃗⃗ ในระบบพิกด
ั ฉากก่อน โดยใช้สตู ร จุดปลายลบจุดต้น
0−1 −1 3−0 3
จะได้ BA = −1 − 1 = −2 และ AC = 5 − −1 = 6 ]
⃗⃗⃗⃗⃗ [ ] [ ] ⃗⃗⃗⃗⃗ [ ( )] [
1−1 0 −1 − 1 −2
−1 3 −3 6 −9
ดังนัน้ 3BA ⃗⃗⃗⃗⃗ − 2AC
⃗⃗⃗⃗⃗ = 3 [−2] − 2 [ 6 ] = [−6] − [ 12 ] = [−18] #
0 −2 0 −4 4

ตัวอย่าง ให้ 𝑢̅ = [ 1 ] และ 𝑣̅ = [−3] ข้อใดต่อไปนีผ้ ิด


−2 6
1) 4𝑢̅ + 𝑣̅ = 𝑢̅ 2) 𝑢̅ + 𝑣̅ ขนานกับ 𝑢̅ − 𝑣̅
3) |𝑢̅| + |𝑣̅ | < |𝑢̅ + 𝑣̅ | 4) ไม่มีขอ้ ผิด
1 −3 4 −3 1
วิธีทา 1) 4𝑢̅ + 𝑣̅ = 4 × [ ] + [ ] = [ ] + [ ] = [ ] = 𝑢̅ จริง
−2 6 −8 6 −2
−2 4
2) 𝑢̅ + 𝑣̅ = [ ] และ 𝑢̅ − 𝑣̅ = [ ]
4 −8
จะเห็นว่าเอา −2 คูณแล้วเท่า ดังนัน้ 𝑢̅ + 𝑣̅ ขนานกับ 𝑢̅ − 𝑣̅ จริง
3) |𝑢̅| = √12 + (−2)2 = √5 และ |𝑣̅ | = √(−3)2 + (6)2 = √45 = 3√5
ดังนัน้
|𝑢̅| + |𝑣̅ | = √5 + 3√5 = 4√5

และจากข้อ 2) 𝑢̅ + 𝑣̅ = [−2] ดังนัน้ |𝑢̅ + 𝑣̅ | = √(−2)2 + (4)2 = √20 = 2√5


4
จะเห็นว่า 4√5 > 2√5 ดังนัน้ ข้อ 3 ผิด #

แบบฝึกหัด
1. จงหาเวกเตอร์ท่ีลากระหว่างจุดต่อไปนี ้
1. จาก (1, 3) ไปยัง (3, 9) 2. จาก (1, −1) ไปยัง (−1, 1)

3. จาก (2, −1, 0) ไปยัง (0, −2, 3) 4. จาก (0, 3, 0) ไปยัง (−1, 3, 1)

2. จงหาค่า 𝑎 , 𝑏 และ 𝑐 ที่ทาให้ขอ้ ความต่อไปนีเ้ ป็ นจริง


2 𝑐+𝑎
𝑎+3
1. [ ] = [ 2𝑏 ] 2. [𝑎 + 𝑏] = [ −1 ]
𝑎 −1
𝑐−3 𝑎+𝑏
12 เวกเตอร์

𝑎 −4
𝑎 6
3. [ ] ขนานกับ [ ]
3
4. [−1] มีทิศตรงข้ามกับ [ 4𝑎 ]
−9 2 𝑎𝑏

3. จงหาขนาดของเวกเตอร์ต่อไปนี ้
3
−3
1. [ ] 2. [−4]
4
0

2 −4
3 1
3. 2∙[ ] − [ ]
−4 4
4. 3∙[ 2 ] + 2∙[−3]
−3 5

3 2
4. กาหนดให้จุด A, B และ C(3, 1) เป็ นจุดบนเส้นตรงเดียวกัน ถ้า ⃗⃗⃗⃗⃗
AB = 5 ⃗⃗⃗⃗⃗
AC และ ⃗⃗⃗⃗⃗
BC = [ ] แล้ว จงหา
−4
พิกดั ของ A
เวกเตอร์ 13

เวกเตอร์หนึ่งหน่วย

เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือ เวกเตอร์ท่ีมีความยาวเท่ากับ 1


สูตรสาหรับหาเวกเตอร์หนึ่งหน่วย มีดังนี ้

เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศเดียวกับ 𝑢̅ หาได้จาก |𝑢1̅| ∙ 𝑢̅


𝑘
เวกเตอร์ในทิศเดียวกับ 𝑢̅ ที่มีความยาวเท่ากับ 𝑘 หาได้จาก |𝑢
̅|
∙ 𝑢̅

หมายเหตุ : ถ้าอยากได้เวกเตอร์ในทิศตรงข้ามกับ 𝑢̅ ก็ได้คณ


ู −1 เข้าไป

ตัวอย่าง จงหาเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศเดียวกับ [3]


4
3
วิธีทา จากด้านชุดพีทากอรัส 3, 4, 5 จะได้ความยาวของ [ ] คือ 5
4
ดังนัน้ เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศเดียวกับ [34] คือ 1 3
∙[ ]
5 4
#

1
ตัวอย่าง จงหาเวกเตอร์ในทิศเดียวกันกับ [−1 ] ที่มีความยาวเท่ากับ 3 หน่วย

วิธีทา ความยาวของ [ 1 ] คือ √12 + (−1)2 = √2


−1
1 3 1
ดังนัน้ เวกเตอร์ในทิศเดียวกันกับ [−1 ] ที่ยาว 3 หน่วย คือ ∙[ ]
√2 −1
3 √2 1 3√2 1
ทาให้สว่ นไม่ติดรูท โดยคูณ √2√2
ได้เป็ น √2 ∙ ∙[ ] =
√2 −1 2
∙[ ]
−1
#

ตัวอย่าง จงหาเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศตรงข้ามกับ [−1]


2
วิธีทา หาเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศเดียวกันก่อน แล้วค่อยเอามาทาให้เป็ นทิศตรงข้าม โดยการคูณ −1
ความยาวของ [−1] คือ √(−1)2 + 22 = √5
2
1 −1 1 √5 −1 −1
ดังนัน้ เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศเดียวกัน คือ √5 ∙[ ] = ∙ ∙[ ] =
√5
∙[ ]
2 √5 √5 2 5 2
√5 −1
ดังนัน้ เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศตรงข้าม คือ คือ − 5 ∙ [ 2 ] #

มีเวกเตอร์หนึ่งหน่วยพิเศษ ที่เราต้องรู จ้ กั และใช้ให้คล่อง 3 ตัว คือ 𝑖̅, 𝑗̅ และ 𝑘̅

 𝑖̅ คือเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ชไี ้ ปทางแกน X ฝั่ งที่เป็ นบวก Z


ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ 𝑖̅ สามารถเขียนได้เป็ น [10] Y

1 𝑖̅ Y
𝑖̅
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ 𝑖̅ สามารถเขียนได้เป็ น [0] X
0 X
14 เวกเตอร์

 𝑗̅ คือเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ชไี ้ ปทางแกน Y ฝั่ งที่เป็ นบวก Z


Y
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ 𝑗̅ สามารถเขียนได้เป็ น [0] 𝑗̅
1 𝑗̅ Y
0 X
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ 𝑗̅ สามารถเขียนได้เป็ น [1] X
0

 𝑘̅คือเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ชไี ้ ปทางแกน Z ฝั่ งที่เป็ นบวก Z

ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ จะไม่สามารถมี 𝑘̅ อยู่ได้ 𝑘̅


0 Y
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ 𝑘̅ สามารถเขียนได้เป็ น [0]
1 X

เวกเตอร์ใดๆก็ตาม จะสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของผลบวกของ 𝑖̅ , 𝑗̅ และ 𝑘̅ ได้เสมอ


2
เช่น [ ] คือเวกเตอร์ท่ีมีระยะทางแกน X คือ 2 และ ระยะทางแกน Y คือ 1 [2]
1 1
𝑗̅
ดังนัน้ [2] = 2𝑖̅ + 𝑗̅
1 2𝑖̅

ซึ่งสรุปเป็ นสูตรได้ว่า

𝑎
[ ] สามารถเขียนในรูป 𝑖̅ , 𝑗̅ ได้เป็ น 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅
𝑏
𝑎
[𝑏 ] สามารถเขียนในรูป 𝑖̅ , 𝑗̅ และ 𝑘̅ ได้เป็ น 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ + 𝑐𝑘̅
𝑐

1
ตัวอย่าง ให้ 𝑢̅ = [−1] , 𝑣̅ = 2𝑗̅ − 𝑘̅ จงหาเวกเตอร์ท่ียาวเท่ากับ 𝑣̅ และมีทิศตรงข้ามกับ 𝑢̅ − 𝑣̅
0
1
วิธีทา เพื่อความสะดวก จะเปลี่ยน [−1] ให้อยู่ในรูป 𝑖̅ , 𝑗̅ , 𝑘̅ ได้เป็ น (1)𝑖̅ + (−1)𝑗̅ + (0)𝑘̅ = 𝑖̅ − 𝑗̅
0
ดังนัน้ 𝑢̅ − 𝑣̅ = (𝑖̅ − 𝑗̅) − (2𝑗̅ − 𝑘̅)
= 𝑖̅ − 𝑗̅ − 2𝑗̅ + 𝑘̅ = 𝑖̅ − 3𝑗̅ + 𝑘̅

เนื่องจาก |𝑢̅ − 𝑣̅ | = √12 + (−3)2 + 12 = √11


1
ดังนัน้ เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในทิศของ 𝑢̅ − 𝑣̅ คือ √11 (𝑖̅ − 3𝑗̅ + 𝑘̅)
เนื่องจาก |𝑣̅ | = √22 + (−1)2 = √5
ดังนัน้ เวกเตอร์ท่ียาวเท่ากับ |𝑣̅ | ในทิศของ 𝑢̅ − 𝑣̅ คือ √5
√11
(𝑖̅ − 3𝑗̅ + 𝑘̅)

ดังนัน้ เวกเตอร์ท่ียาวเท่ากับ |𝑣̅ | ในทิศตรงข้ามกับ 𝑢̅ − 𝑣̅ คือ −


√5
√11
(𝑖̅ − 3𝑗̅ + 𝑘̅ )

ทาส่วนให้ไม่ติดรูท ได้เป็ น −
√5

√11 √11
√11
∙ (𝑖̅ − 3𝑗̅ + 𝑘̅ ) = −
√55
11
(𝑖̅ − 3𝑗̅ + 𝑘̅ ) #
เวกเตอร์ 15

แบบฝึกหัด
1. จงเขียนเวกเตอร์ในรูปของ 𝑖̅ , 𝑗̅ , 𝑘̅ ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้
1. จาก (0, −1) ไปยัง (5, 0) 2. จาก (−1, 3, 1) ไปยัง (0, 0, 0)

1 3
3. จาก (0, 1, −1) ไปยัง (−2, 1, 1) 4. จาก (√2, − 2) ไปยัง (0, 2)

5. เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ในทิศเดียวกับ [−4


3
] 6. เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ในทิศตรงข้ามกับ [11]

1
7. เวกเตอร์ท่ียาว 2 หน่วย ในทิศเดียวกับ [−1] 8. เวกเตอร์ท่ียาว √5 หน่วย และขนานกับ [1]
2
2

2. กาหนดให้ 𝑢̅ = 𝑖̅ − 2𝑗̅ และ 𝑣̅ = 2𝑖̅ + 𝑗̅ ถ้า ⃗⃗⃗⃗⃗


AB = 3𝑢̅ − 2𝑣̅ และ พิกดั ของจุด A คือ (−1, 0) จงหาพิกดั
ของ B
16 เวกเตอร์

3. กาหนดให้ A, B, C เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยม P เป็ นจุดกึ่งกลางของ AC Q อยู่บน AB ทาให้ AQ : QB = 1:2


ถ้า AB
⃗⃗⃗⃗⃗ = 6𝑖 − 3𝑗 และ BC
⃗⃗⃗⃗⃗ = 2𝑖 + 3𝑗 จงหา PQ
⃗⃗⃗⃗⃗ [PAT 1 (ธ.ค. 54)/13]

4. กาหนดให้ 𝑢̅ = 3𝑖̅ + 4𝑗̅ ถ้า 𝑤̅ = 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ โดยที่ 𝑤̅ มีทิศเดียวกันกับ 𝑢̅ และ |𝑤̅| =10 แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
[A-NET 49/2-4]

5. กาหนดให้ A(𝑎, 𝑏) , B(4, −6) และ C(1, −4) เป็ นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ถ้า P เป็ นจุดบนด้าน AB
ซึ่งอยู่ห่างจากจุด A เท่ากับ 35 ของระยะระหว่าง A และ B และเวกเตอร์ CP
⃗⃗⃗⃗ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 54)/36]
เวกเตอร์ 17

ผลคูณเชิงสเกลาร์

ในหัวข้อนี ้ จะพูดถึงการคูณเวกเตอร์ กับเวกเตอร์ ซึ่งสามารถทาได้ 2 แบบ


 แบบแรกเรียกว่า “ผลคูณเชิงสเกลาร์” หรือ เรียกสัน้ ๆว่า “ดอท”
 แบบที่สองเรียกว่า “ผลคูณเชิงเวกเตอร์” หรือ เรียกสัน้ ๆว่า “ครอส”
การดอท จะได้ผลลัพธ์เป็ นตัวเลข ส่วนการครอส จะได้ผลลัพธ์เป็ นเวกเตอร์
ในหัวข้อนี ้ จะพูดถึง การดอท ก่อน

ผลคูณเชิงสเกลาร์ของ 𝑢̅ กับ 𝑣̅ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ อ่านว่า “ยูดอทวี”


ซึ่งจะหาได้จากสูตร

𝑥 𝑥
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ [𝑦1 ] ∙ [𝑦2 ] = 𝑥1 𝑥2 + 𝑦1 𝑦2
1 2
𝑥1 𝑥2
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ [𝑦1 ] ∙ [𝑦2 ] = 𝑥1 𝑥2 + 𝑦1 𝑦2 + 𝑧1 𝑧2
𝑧1 𝑧2

2 4 −1 3
เช่น [ ] ∙ [ ] = (2)(4) + (3)(5) = 23
3 5
[ ] ∙ [ ] = (−1)(3) + (0)(−2) = −3
0 −2
1 3
[−2] ∙ [1] = (1)(3) + (−2)(1) + (−1)(2) = −1
−1 2
−2 0
[ 3 ] ∙ [0] = (−2)(0) + (3)(0) + (5)(0) = 0
5 0
(𝑖 + 2𝑗 ) ∙ (−𝑖 − 𝑗 ) = (1)(−1) + (2)(−1) = −3
(2𝑖 − 𝑗 − 𝑘) ∙ (𝑖 + 𝑗 + 𝑘) = (2)(1) + (−1)(1) + (−1)(1) = 0

การดอท มีสมบัติการสลับที่ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 𝑣̅ ∙ 𝑢̅
การคูณด้วยตัวเลข ให้คณ ู ครัง้ เดียว ห้ามกระจาย 𝑘(𝑢̅ ∙ 𝑣̅ ) = (𝑘𝑢̅ ) ∙ 𝑣̅ = 𝑢̅ ∙ (𝑘𝑣̅ ) แต่ ≠ (𝑘𝑢̅ ) ∙ (𝑘𝑣̅ )
แต่สามารถกระจายในการบวกลบเวกเตอร์ได้ 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ ± 𝑤̅ ) = (𝑢̅ ∙ 𝑣̅ ) ± (𝑢̅ ∙ 𝑤
̅)
สิ่งที่ตอ้ งระวังก็คือ ดอท จะใช้กบั เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ และได้ผลลัพธ์เป็ นตัวเลข
ดังนัน้ เราไม่สามารถนาเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์มาดอทกันได้
(เพราะพอดอทสองตัวแรก จะผลลัพธ์เป็ นตัวเลข ซึ่งเอาไปดอทต่อไม่ได้)
จะมีก็แต่ (𝑢̅ ∙ 𝑣̅ )𝑤̅ ซึ่งหมายถึง เอาตัวเลขที่ได้จาก 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ ไปคูณ 𝑤̅ (คูณแบบตัวเลขคูณเวกเตอร์)

ในกรณีท่ี โจทย์ให้ 𝑢̅ กับ 𝑣̅ เป็ น “รูปลูกศร” เราจะมีสตู รที่ใช้หาผลดอทคือ


𝑣̅ 𝑢̅
𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 𝑣̅ 𝜃
𝜃
𝑢̅
เมื่อ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑢̅ และ 𝑣̅ เมื่อเอาจุดตัง้ ต้นของ 𝑢̅ และ 𝑣̅ มาต่อกัน
จะเห็นว่า 𝜃 จะไม่มีทางเกิน 180° (เพราะถ้าเกิน ก็วดั จากอีกฝั่ งที่มุมเล็กกว่า)
18 เวกเตอร์

ในกรณีท่ี 𝑢̅ กับ 𝑣̅ ตัง้ ฉากกัน จะได้ 𝜃 = 90° 𝑢̅ กับ 𝑣̅ ตัง้ ฉากกัน ก็ต่อเมื่อ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 0
ดังนัน้ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 90° = |𝑢̅||𝑣̅ |(0) = 0

ในกรณีท่ี 𝑢̅ กับ 𝑣̅ มีทิศเดียวกัน จะได้ 𝜃 = 0°


ดังนัน้ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 0° = |𝑢̅||𝑣̅ |(1) = |𝑢̅||𝑣̅ |

ในกรณีท่ี 𝑢̅ กับ 𝑣̅ มีทิศตรงข้าม จะได้ 𝜃 = 180°


ดังนัน้ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 180° = |𝑢̅||𝑣̅ |(−1) = −|𝑢̅||𝑣̅ |

ในกรณีท่ีเอา 𝑢̅ มาดอทกับตัวเอง (𝑢̅ ∙ 𝑢̅) จะได้ 𝜃 = 0°


𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2
ดังนัน้ 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅||𝑢̅| cos 0° = |𝑢̅||𝑢̅|(1) = |𝑢̅|2
𝑣̅
และจากความรูใ้ นเรื่องตรีโกณมิติ เราสามารถหา “ระยะเงา” ของ 𝑣̅ บน 𝑢̅ ได้ |𝑣̅ | cos 𝜃
𝜃
แต่เนื่องจาก 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 ดังนัน้ ระยะเงา = 𝑢̅|𝑢̅∙ |𝑣̅ ด้วย
|𝑣̅ | cos 𝜃

ตัวอย่าง สี่เหลี่ยมด้านขนาน ABCD มี AB = 5 , BC = 2 และมุม A = 60° จงหา ⃗⃗⃗⃗⃗ DC ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗


CB
วิธีทา D 𝑢̅ C ข้อนีใ้ ห้มาเป็ นรูป ซึ่งจะวาดรูปได้ดงั รูป
𝑣̅ ถ้ามาเป็ นรูปแบบนี ้ ต้องหาผลดอทด้วยสูตร 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃
60°
A B โดยมุม 𝜃 ที่ใช้ในสูตร ต้องเป็ นมุมที่เกิดจากการเอาจุดตั้งต้นของ ⃗⃗⃗⃗⃗
DC กับ ⃗⃗⃗⃗⃗
CB มาต่อกัน

𝑢̅
𝑣̅ 120°
จะเห็นว่า ถ้าเอาจุดตัง้ ต้นของ ⃗⃗⃗⃗⃗
DC กับ ⃗⃗⃗⃗⃗
CB มาต่อกัน จะได้มุมระหว่างเวกเตอร์คือ 120°
ดังนัน้ ⃗⃗⃗⃗⃗
DC ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗ | cos 120° = 5 × 2 × (− 1) = −5
⃗⃗⃗⃗⃗ ||CB
CB = |DC #
2

1 2
ตัวอย่าง [−2] กับ [ 2 ] ตัง้ ฉากกันหรือไม่
−1 −2
วิธีทา จากความรูเ้ รื่องการดอท เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ จะตัง้ ฉากกันเมื่อ ดอทกันได้ 0
1 2
เนื่องจาก [−2] ∙ [ 2 ] = (1)(2) + (−2)(2) + (−1)(−2) = 2 − 4 + 2 = 0
−1 −2
ดังนัน้ เวกเตอร์ทงั้ สอง ตั้งฉากกัน #

ตัวอย่าง จงหาขนาดของมุม ที่ −√3𝑖̅ + 3𝑗̅ ทากับ 𝑖̅ + √3𝑗̅


𝑢
̅∙𝑣̅
วิธีทา จากสูตร 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 ย้ายข้างสูตร เพื่อหามุม 𝜃 จะได้ cos 𝜃 = |𝑢̅||𝑣̅|
(−√3𝑖̅+3𝑗̅ )∙(𝑖̅+√3𝑗̅ ) (−√3)(1)+(3)(√3) −√3+3√3 2√3 1
ดังนัน้ จะได้ cos 𝜃 = |−√3𝑖̅+3𝑗̅||𝑖̅+√3𝑗̅ |
=
2
=
√12×√4
=
4√3
=
2
√(−√3) +32 × √12+(√3)2

เลือกมุมบวกไม่เกิน 180° ที่ cos 𝜃 = 12 จะได้ 𝜃 = 60° #


เวกเตอร์ 19

ตัวอย่าง จงหาขนาดของมุม ที่ −√3𝑖̅ + 3𝑗̅ ทากับแกน Y


วิธีทา เนื่องจาก 𝑗̅ เป็ นเวกเตอร์ท่ีชไี ้ ปทางแกน Y
ดังนัน้ ถ้าจะหามุมที่ −√3𝑖̅ + 3𝑗̅ ทากับแกน Y ก็ให้หามุมที่ −√3𝑖̅ + 3𝑗̅ ทากับ 𝑗̅
จากสูตร 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 จะได้ cos 𝜃 = |𝑢̅𝑢̅||𝑣
∙𝑣̅
̅|
(−√3𝑖̅+3𝑗̅ )∙(𝑗̅) (−√3)(0)+(3)(1) 3 3 3√3
จะได้ cos 𝜃 = |−√3𝑖̅+3𝑗̅||𝑗̅ |
=
2
=
√12
= 2√3
×
√3
√3
= 2×3
=
√3
2
√(−√3) +32 ×1

เลือกมุมบวกไม่เกิน 180° ที่ cos 𝜃 = √3


2
จะได้ 𝜃 = 30° #

สูตรสุดท้ายที่ตอ้ งท่องในหัวข้อการดอท คือ “กฎของโคไซน์” ในแบบของเวกเตอร์


เนื่องจาก 𝑢̅ + 𝑣̅ และ 𝑢̅ − 𝑣̅ สามารถประกอบกับ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นรูปสามเหลี่ยมได้

𝑢̅ + 𝑣̅
𝑣̅
𝑣̅ 𝑢̅ − 𝑣̅
𝑢̅
𝑢̅

ถ้าเราใช้กฎของโคไซน์ กับสามเหลี่ยมเหล่านี ้ ร่วมกับสูตร 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃


จะได้กฎของโคไซน์ ในรูปการดอทได้เป็ น

|𝑢̅ + 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 + 2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅


|𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅

และถ้านาสูตรทัง้ สองมาบวกลบกัน จะได้สตู รใหม่อีก 2 สูตร คือ

|𝑢̅ + 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = 2|𝑢̅|2 + 2|𝑣̅ |2


|𝑢̅ + 𝑣̅ |2 − |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = 4 𝑢̅ ∙ 𝑣̅

ตัวอย่าง กาหนดให้ |𝑢̅| = 3 , |𝑣̅ | = 5 และ |𝑢̅ − 𝑣̅ | = 4 จงหา 𝑢̅ ∙ 𝑣̅


วิธีทา ใช้สตู ร |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅
42 = 32 + 52 − 2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅
2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 9 + 25 − 16
18
𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 2
= 9 #

ตัวอย่าง กาหนดให้ |𝑢̅| = 2 , |𝑣̅ | = 5 และ |𝑢̅ + 𝑣̅ | = 4 จงหา |𝑢̅ − 𝑣̅ |


วิธีทา ใช้สตู ร |𝑢̅ + 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = 2|𝑢̅|2 + 2|𝑣̅ |2
42 + |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = 2 ∙ 22 + 2 ∙ 52
|𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = 8 + 50 − 16 = 42
|𝑢̅ − 𝑣̅ | = √42 #
20 เวกเตอร์

ตัวอย่าง กาหนดให้ |𝑢̅| = 3 , |𝑣̅ | = 1 และ 𝑢̅ ทามุม 60° กับ 𝑣̅ จงหา |2𝑢̅ − 𝑣̅ |
วิธีทา จากสูตร จะได้ |2𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |2𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2(2𝑢̅ ∙ 𝑣̅ )
= |2𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2(2|𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃) เนื่องจาก |𝑢̅| = 3
= 62 + 12 − 2(2 ∙ 3 ∙ 1 ∙ cos 60°) ดังนัน้ |2𝑢̅| = 6
= 31
|2𝑢̅ − 𝑣̅ | = √31 #

แบบฝึกหัด
1. จงหาผลดอทของเวกเตอร์ต่อไปนี ้
−3 2
1. [ ]∙[ ] 2. (2𝑖̅ − 𝑗̅ + 𝑘̅ ) ∙ (𝑖̅ − 2𝑗̅ − 3𝑘̅ )
5 3

1
3. (2𝑖̅ − 3𝑗̅) ∙ (2𝑗̅ + 𝑖̅) 4. [−2] ∙ (𝑖̅ − 𝑘̅ )
2

2. เวกเตอร์ในข้อใด ตัง้ ฉากกัน


−1 1
1. [1] และ [−2] 2. 𝑖̅ − 𝑗̅ และ 𝑖̅ + 𝑗̅
2 1

3. [√3] และ √3𝑗̅ − √2𝑖̅ 4. 2𝑖̅ − 𝑗̅ + 𝑘̅ และ 𝑖̅ − 2𝑘̅


√2

3. จงหาค่า 𝑥 ที่ทาให้เวกเตอร์ต่อไปนี ้ ตัง้ ฉากกัน


𝑥 𝑥−3
𝑥 −2
1. [ ]
6
และ [ ] 2. [ −2 ] และ [𝑥 + 1]
3 𝑥+5 1
เวกเตอร์ 21

4. กาหนดให้ |𝑢̅| = 2 , |𝑣̅ | = 3 และ 𝑢̅ ทามุม 60° กับ 𝑣̅จงหาค่าของ


1. |𝑢̅ + 𝑣̅ | 2. |𝑢̅ − 𝑣̅ |

3. |𝑢̅ + 2𝑣̅ | 4. |2𝑣̅ − 3𝑢̅ |

5. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆ โดยที่ |𝑢̅| = 1 , |𝑣̅ | = 3 และ 𝑢̅ ทามุม 60° กับ 𝑣̅
|𝑢
̅ +𝑣̅|
ค่าของ |2𝑢
̅ −𝑣̅|
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/15]

6. กาหนด 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ โดยที่ 𝑢̅ = 𝑖̅ + √3𝑗̅ , |𝑣̅ | = 3 และ |𝑢̅ − 𝑣̅ | = 4


ค่าของ |𝑢̅ + 𝑣̅ | เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/16]

7. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ท่ีมีขนาดหนึ่งหน่วย ถ้าเวกเตอร์ 𝑢̅ + 2𝑣̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 2𝑢̅ + 𝑣̅ แล้ว
𝑢̅ ∙ 𝑣̅ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/25]
22 เวกเตอร์

8. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ท่ีมีขนาดหนึ่งหน่วย


ถ้าเวกเตอร์ 3𝑢̅ + 𝑣̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑢̅ + 3𝑣̅ แล้วเวกเตอร์ 5𝑢̅ − 𝑣̅ มีขนาดเท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ก.ค. 52)/24]

9. กาหนดให้ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์ในระนาบ ข้อใดต่อไปนี ถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 53)/15]


1. (𝑢̅ ∙ 𝑣̅ )2 ≥ (𝑢̅ ∙ 𝑢̅)(𝑣̅ ∙ 𝑣̅ )
2. ถ้า (𝑢̅ ∙ 𝑣̅ )2 = (|𝑢̅||𝑣̅ |)2 แล้ว 𝑢̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑣̅
3. ถ้า 𝑢̅ + 𝑣̅ + 𝑤̅ = 0̅ , |𝑢̅| = 3 , |𝑣̅ | = 4 และ |𝑤̅| = 7 แล้ว 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 12
4. |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2

10. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ซึ่งไม่ใช่เวกเตอร์ศนู ย์ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 55)/14]
1. |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 < |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2
2. ถ้า 𝑢̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑣̅ แล้ว |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2
เวกเตอร์ 23

11. กาหนดให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่เป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (ต.ค. 58)/27]
1. ถ้า 𝑎̅ ขนานกับ 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅ − 𝑏̅| = |𝑎̅| − |𝑏̅|
2 2
2. ถ้า |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| แล้ว 𝑎̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑏̅
3. ถ้าเวกเตอร์ 𝑎̅ + 𝑏̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑎̅ − 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅| = |𝑏̅|

12. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ท่ีไม่เท่ากับเวกเตอร์ศูนย์ซ่งึ 𝑢̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑣̅ และ 𝑢̅ + 𝑣̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑢̅ − 𝑣̅
ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-13]
1. |𝑢̅| = |𝑣̅ |
2. 𝑢̅ + 2𝑣̅ ตัง้ ฉากกับ 2𝑢̅ − 𝑣̅

13. กาหนดให้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ซ่งึ |𝑢̅ ∙ 𝑣̅ | ≠ |𝑢̅||𝑣̅ |


ถ้า 𝑎(𝑣̅ − 2𝑢̅) + 3𝑢̅ = 𝑏(2𝑢̅ + 𝑣̅ ) แล้วค่าของ 𝑎 อยู่ในช่วงใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.ค. 52)/25]
1. [0, 12) 2. [12 , 1) 3. [1, 32) 4. 3
[ , 2)
2
24 เวกเตอร์

14. กาหนดให้ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์ในระนาบและ 𝑥 , 𝑦 เป็ นจานวนจริง


โดยที่ 𝑢̅ = 𝑥𝑖̅ + 𝑦𝑗̅ , 𝑣̅ = 4𝑖̅ − 3𝑗̅ และ 𝑤̅ = 2𝑖̅ + 𝑗̅
ถ้า |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 และ 5𝑥 + 5𝑦 = 21 แล้วค่าของ 𝑢̅ ∙ 𝑤̅ เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 53)/14]

15. ให้ 𝑎̅ และ เป็ นเวกเตอร์ กาหนดโดย


𝑏̅
1
𝑎̅ = 𝑖̅ + 2 𝑗̅ − 3𝑝𝑘̅ และ 𝑏̅ = −2𝑝𝑖̅ + 2𝑗̅ + 𝑝𝑘̅ เมื่อ 𝑝 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑎̅ ตัง้ ฉากกับ 𝑏̅ และ ขนาดของ 𝑏̅ เท่ากับ 3 แล้ว ค่าของ 𝑝 อยู่ในช่วงข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 53)/14]
1. (−3, − 32 ) 2. (− 32 , 0) 3. (0, 32 ) 4. ( 32 , 3)

16. กาหนดให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์บนระนาบซึ่งกาหนดโดย 𝑎̅ = 𝑥𝑖̅ + 125 𝑗̅ , 𝑏̅ = 6𝑖̅ + 𝑦𝑗̅ และ 𝑐̅ = 2𝑖̅ + 𝑗̅
เมื่อ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริง ถ้า |𝑏̅ − 𝑐̅| = 5 , เวกเตอร์ 𝑎̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑏̅ และ 𝑎̅ ∙ 𝑐̅ > 0
2
แล้วค่าของ |5𝑎̅ + 𝑏̅| เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/45]
เวกเตอร์ 25

17. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 56)/15]


1 ให้เวกเตอร์ 𝑤̅ = 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ + 𝑐𝑘̅ เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริงและให้เวกเตอร์ 𝑢̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ + 𝑘̅
และ 𝑣̅ = 𝑖̅ − 𝑗̅ + 𝑘̅ ถ้าเวกเตอร์ 𝑤̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑢̅ และเวกเตอร์ 𝑣̅ แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 1
3
2 ให้เวกเตอร์ 𝑢̅ = 2𝑖̅ + 𝑗̅ และ 𝑣̅ = 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ เป็ นเวกเตอร์ในระนาบ ถ้า |𝑣̅ | = √5 และ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 3
แล้วเวกเตอร์ 𝑢̅ ทามุม 60° กับเวกเตอร์ 𝑣̅

18. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ดา้ น 𝐴𝐵 ยาว 5 หน่วย ด้าน 𝐵𝐶 ยาว 12 หน่วย และมุม 𝐴𝐵̂𝐶 เท่ากับ
60° ถ้าเวกเตอร์ 𝑢̅ = ̅̅̅̅
𝐴𝐵 เวกเตอร์ 𝑣̅ = ̅̅̅̅
𝐵𝐶 และเวกเตอร์ 𝑤 𝐶𝐴 แล้ว (2𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ 𝑤
̅ = ̅̅̅̅ ̅ เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/12]

19. กาหนดให้ จุด A(−1, 1), B(2, 5) และ C(2, −3) เป็ นจุดยอดของรู ปสามเหลี่ยม ABC ให้ L เป็ นเส้นตรงที่ผ่าน
จุด A และจุด B ลากส่วนเส้นตรง CD
̅̅̅̅ ตัง้ ฉากกับเส้นตรง L ที่จด
ุ D แล้วเวกเตอร์ AD
⃗⃗⃗⃗⃗ เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 55)/12]
26 เวกเตอร์

20. กาหนดให้ 𝑢̅ = 2𝑖̅ − 5𝑗̅ และ 𝑣̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ ให้ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์ โดยที่ 𝑢̅ ∙ 𝑤̅ = −11 และ 𝑣̅ ∙ 𝑤̅ = 8
ถ้า 𝜃 เป็ นมุมแหลมที่เวกเตอร์ 𝑤̅ ทามุมกับเวกเตอร์ 5𝑖̅ + 𝑗̅ แล้ว tan 𝜃 + sin 2𝜃 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ก.ค. 53)/32]

21. ให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเวกเตอร์ ซึ่ง |𝐴| = 3, |𝐵| = 2 และ |𝐶| = 1
ถ้า 𝐴 + 𝐵 + 4𝐶 = 0 แล้ว 𝐴 ∙ 𝐵 + 𝐵 ∙ 𝐶 + 𝐶 ∙ 𝐴 มีค่าเท่ากับเท่าใด [A-NET 51/1-14]

22. กาหนดให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์ ซึ่ง 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ , |𝑎̅ + 𝑏̅| = 5 , |𝑏̅ + 𝑐̅| = 3 และ |𝑏̅| = √10
ข้อใดต่อไปนีถ้ ูกต้องบ้าง [PAT 1 (เม.ย. 57)/14]
1. ถ้าเวกเตอร์ 𝑎̅ ทามุม 𝜃 กับเวกเตอร์ 𝑏̅ เมื่อ 0 ≤ 𝜃 ≤ 𝜋 แล้ว tan 𝜃 = 3
2. 𝑎̅ ∙ 𝑐̅ = −12
เวกเตอร์ 27

23. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์ กาหนดโดย 𝑢̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ + 3𝑘̅ , 𝑣̅ = 2𝑖̅ − 𝑑𝑗̅ + 𝑘̅ , 𝑤̅ = 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ + 𝑐𝑘̅
เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑢̅ ∙ 𝑤̅ = 2 , 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ + 𝑤̅) = 3 , 𝑣̅ + 𝑤̅ = 𝑖̅ + 𝑞𝑗̅ + 𝑟𝑘̅
เมื่อ 𝑞, 𝑟 เป็ นจานวนจริง และ 𝑤̅ ขนานกับ − 23 𝑖̅ + 12 𝑗̅ + 13 𝑘̅ แล้วค่าของ 𝑎 + 4𝑏 + 2𝑐 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 53)/33]

24. กาหนดให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์บนระนาบซึ่ง 𝑢̅ + 𝑣̅ − 𝑤̅ = 0̅ , 𝑢̅ ∙ 𝑤̅ = 8 และ 𝑣̅ ∙ 𝑤̅ = −2


1
ถ้าเวกเตอร์ 𝑤̅ ทามุม arcsin √3 กับเวกเตอร์ 𝑢̅ แล้ว ค่าของ |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 55)/15*]
28 เวกเตอร์

25. กาหนดให้ P(−8, 5), Q(−15, −19), R(1, −7) เป็ นจุดบนระนาบ ถ้า 𝑣̅ = 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ (𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง)
เป็ นเวกเตอร์ซ่งึ มีทิศทางขนานกับเส้นตรงซึ่งแบ่งครึง่ มุม QP̂R แล้ว 𝑎𝑏 มีค่าเท่ากับเท่าใด [A-NET 50/1-11]

26. กาหนดให้ 𝐴 และ 𝐵⃗ เป็ นเวกเตอร์ในระนาบ โดยที่ 𝐴 = 16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅ และ ⃗ = 8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅
𝐵 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ น
จานวนจริง ถ้า |𝐴| = |𝐵⃗| และเวกเตอร์ 𝐵⃗ ทามุม 60° กับเวกเตอร์ 𝐴
แล้วค่าของ (𝑎 + 𝑏)2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 58)/16]
เวกเตอร์ 29

ผลคูณเชิงเวกเตอร์

ในหัวข้อนี ้ เราจะเรียนวิธีคณ
ู เวกเตอร์อีกแบบ เรียกว่า “ผลคูณเชิงเวกเตอร์” หรือ เรียกสัน้ ๆว่า “ครอส”
ซึ่งคราวนี ้ เวกเตอร์ ครอส เวกเตอร์ จะได้ผลลัพธ์เป็ นเวกเตอร์
โดย การครอส ทาได้กบั เวกเตอร์ “แบบสามมิติเท่านัน้ ”

ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของ 𝑢̅ กับ 𝑣̅ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑢̅ × 𝑣̅ อ่านว่า “ยูครอสวี”


สูตรการหาคือ
𝑥1 𝑥2 𝑦1 𝑧2 − 𝑧1 𝑦2
[ 1 ] × [ 2 ] = [ 𝑧1 𝑥2 − 𝑥1 𝑧2 ]
𝑦 𝑦
𝑧1 𝑧2 𝑥1 𝑦2 − 𝑦1 𝑥2

2 3 (−1)(−1) − (1)(2) −1
เช่น [−1] × [ 2 ] = [ (1)(3) − (2)(−1) ] = [ 5 ]
1 −1 (2)(2) − (−1)(3) 7
−1 2 (2)(1) − (−3)(−1) −1
(−𝑖̅ + 2𝑗̅ − 3𝑘̅ ) × (2𝑖̅ − 𝑗̅ + 𝑘̅ ) = [ 2 ] × [−1] = [(−3)(2) − (−1)(1)] = [−5]
−3 1 (−1)(−1) − (2)(2) −3
= −𝑖̅ − 5𝑗̅ − 3𝑘̅
หมายเหตุ: จะเห็นว่าสูตรการครอสเวกเตอร์ จะคล้ายๆการหา det ในเรื่องเมทริกซ์
𝑥1 𝑥2 𝑖̅ 𝑗̅ 𝑘̅
บางคนนิยมท่องว่า [𝑦1 ] × [𝑦2 ] = det [𝑥1 𝑦1 𝑧1 ]
𝑧1 𝑧2 𝑥2 𝑦2 𝑧2

เนื่องจากการครอส เกี่ยวกับการลบ ดังนัน้ ถ้าสลับที่ตวั ครอส ผลลัพธ์จะเป็ นลบของเดิม กล่าวคือ 𝑢̅ × 𝑣̅ = −(𝑣̅ × 𝑢̅)
การคูณด้วยตัวเลข ให้คณู ครัง้ เดียว ห้ามกระจาย 𝑘(𝑢̅ × 𝑣̅ ) = (𝑘𝑢̅) × 𝑣̅ = 𝑢̅ × (𝑘𝑣̅ ) แต่ ≠ (𝑘𝑢̅) × (𝑘𝑣̅ )
แต่สามารถกระจายครอสในการบวกลบเวกเตอร์ได้ กล่าวคือ 𝑢̅ × (𝑣̅ ± 𝑤̅) = (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ± (𝑢̅ × 𝑤̅)

ในกรณีท่ี 𝑢̅ กับ 𝑣̅ ไม่ได้มาเป็ นตัวเลขในระบบพิกัดฉาก แต่มาเป็ น “รู ปลูกศร” เราจะมีวิธีหาอีกแบบ


𝑢̅ × 𝑣̅ จะเป็ น “เวกเตอร์” ที่มีขนาด |𝑢̅ × 𝑣̅ | = |𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃 เมื่อ 𝜃 คือมุมที่ 𝑢̅ ทากับ 𝑣̅
และ 𝑢̅ × 𝑣̅ จะมีทิศพุ่งออกในแนวตัง้ ฉากกับระนาบที่ 𝑢̅ กับ 𝑣̅ วางอยู่
วิธีหาทิศของ 𝑢̅ × 𝑣̅ มีดงั นี ้
𝑢̅ × 𝑣̅ 1. ยกแขนทัง้ สอง ตัง้ ฉากกับแนวลาตัว
𝑣̅ 2. ให้ตวั ตัง้ (𝑢̅) เป็ นแขนขวา
𝑢̅ ตัวครอส (𝑣̅ ) เป็ นแขนซ้าย
3. จะได้ 𝑢̅ × 𝑣̅ จะชีไ้ ปทางเดียวกับศีรษะ

เช่น 𝑖̅ × 𝑗̅ = 𝑘̅ 𝑗̅ × 𝑖̅ = −𝑘̅ 𝑘̅
𝑗̅ × 𝑘̅ = 𝑖̅ 𝑘̅ × 𝑗̅ = −𝑖̅ 𝑗̅
𝑘̅ × 𝑖̅ = 𝑗̅ 𝑖̅ × 𝑘̅ = −𝑗̅ 𝑖̅
30 เวกเตอร์

ในกรณีท่ี 𝑢̅ กับ 𝑣̅ ขนานกัน จะได้ 𝜃 = 0° หรือ 180° ซึ่ง sin 0° = sin 180° = 0 เอาไปคูณกับอะไรก็ได้ 0
0
ดังนัน้ ถ้า 𝑢̅ กับ 𝑣̅ ขนานกัน จะได้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = เวกเตอร์ท่ีมีขนาดเป็ น 0 = [0] = 0̅
0
และในกรณีท่ีเอา 𝑢̅ มาครอสกับตัวมันเอง จะได้ 𝜃 = 0° ด้วย → ดังนัน้ จะได้ ̅
𝑢̅ × 𝑢̅ = 0 เสมอ

ตัวอย่าง ให้ 𝑢̅ = 2𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅ และ 𝑣̅ = −𝑖̅ + 2𝑗̅ + 𝑘̅ ถ้าให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑢̅ และ 𝑣̅ จงหา sin 𝜃
วิธีทา ข้อนีจ้ ะใช้สตู ร ขนาดของ 𝑢̅ × 𝑣̅ เท่ากับ |𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃 เพื่อโยงไปหา sin 𝜃
2 −1 (1)(1) − (1)(2) −1
เนื่องจาก 𝑢̅ × 𝑣̅ = [1] × [ 2 ] = [(1)(−1) − (2)(1)] = [−3]
1 1 (2)(2) − (1)(−1) 5
แทนในสูตร |𝑢̅ × 𝑣̅ | = |𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃
√(−1)2 + (−3)2 + 52 = √22 + 12 + 12 ∙ √(−1)2 + 22 + 12 ∙ sin 𝜃
√35 = √6 ∙ √6 ∙ sin 𝜃
ดังนัน้ sin 𝜃 = √6∙√6
√35 √35
= 6 #

แบบฝึกหัด
1. จงหาผลครอสต่อไปนี ้
2 1 1 −2
1. [ 1 ] × [3] 2. [ 2 ]×[ 1 ]
−1 0 −1 −2

3. (𝑖̅ − 𝑗̅ + 𝑘̅ ) × (𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅ ) 4. (𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅ ) × (𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅ )

2. กาหนดให้ A(1, 2, 3) , B(2, 3, 1) และ C(2, 4, 2) ถ้า 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง ⃗⃗⃗⃗⃗


AB กับ ⃗⃗⃗⃗⃗
AC แล้ว จงหาค่า sin 𝜃
เวกเตอร์ 31

3. กาหนดเวกเตอร์ 𝑢̅ = 𝑎𝑖̅ + 2𝑗̅ + 𝑏𝑘̅ เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


ถ้า |𝑢̅ × 𝑗̅| = 2 แล้ว |𝑢̅|2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/26]

4. ให้ 𝑢̅ = 𝑎𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ + 2𝑘̅ และ 𝑣̅ = 2𝑎𝑖̅ − 3𝑏𝑗̅ โดยที่ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก และ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑢̅ และ 𝑣̅
ถ้า |𝑢̅| = 3 และ cos 𝜃 = 13 แล้ว 𝑢̅ × 𝑣̅ มีค่าเท่ากับเท่าใด [A-NET 50/1-10]
32 เวกเตอร์

พืน้ ที่และปริมาตร

สี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ 𝑢̅ และ 𝑣̅ ดังรูป


𝑣̅
จะมีพนื ้ ที่ = |𝑢̅ × 𝑣̅ |
𝑢̅ ครอสได้เป็ นเวกเตอร์ ขนาดของเวกเตอร์

จะเห็นว่าสูตรนีต้ อ้ งครอสเวกเตอร์ ดังนัน้ 𝑢̅ และ 𝑣̅ ต้องถูกเขียนในระบบสามมิติ


ในกรณีท่ี 𝑢̅ และ 𝑣̅ ถูกกาหนดมาในระบบสองมิติ เราสามารถทาให้เป็ นสามมิติได้ โดยเติม 0 ลงไปเป็ นค่าทางแกน Z

ทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ ดังรูป


𝑤
̅
จะมีปริมาตร = |𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅)|
𝑣̅
ดอทได้เป็ นตัวเลข ค่าสัมบูรณ์
𝑢̅
โดยจะสลับ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ ยังไงก็ได้ จะได้ค่าเท่ากัน

หมายเหตุ : ผล ดอท & ครอส จะได้เท่าเดิมเสมอ ตราบใดที่ตาแหน่ง 𝑢̅ , 𝑣̅ , 𝑤̅ ยังคงเรียงเป็ นวงกลมแบบเดียวกัน


𝑢̅ แบบตามเข็ม
𝑤
̅ 𝑣̅ 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤
̅ ) = 𝑣̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑢̅) = 𝑤
̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑣̅ ) = (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤
̅ = (𝑣̅ × 𝑤
̅ ) ∙ 𝑢̅ = (𝑤
̅ × 𝑢̅) ∙ 𝑣̅
𝑢̅
แบบทวนเข็ม
𝑤
̅ 𝑣̅ 𝑢̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑣̅ ) = 𝑤
̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑢̅) = 𝑣̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑤
̅ ) = (𝑢̅ × 𝑤
̅ ) ∙ 𝑣̅ = (𝑣̅ × 𝑢̅ ) ∙ 𝑤
̅ = (𝑤
̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑢̅

โดย แบบตามเข็ม = −แบบทวนเข็ม นั่นคือ 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤


̅ ) = −𝑢̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑣̅ )

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ส่เี หลี่ยมด้านขนาน ABCD ซึ่งมีพิกดั A(2, 3) , B(−1, 2) , C(1, −1)
วิธีทา จากสูตร จะได้ พืน้ ที่ส่เี หลี่ยมด้านขนาน ABCD = |BA
⃗⃗⃗⃗⃗ × BC
⃗⃗⃗⃗⃗ |
A(2, 3)
B(−1, 2)
3
⃗⃗⃗⃗⃗ = [2 − (−1)] = [3] เติม 0 ให้เป็ นสามมิติได้เป็ น [1]
BA
3−2 1
0
C(1, −1) 1 − ( −1 ) 2
2
⃗⃗⃗⃗⃗
BC = [ ] = [ ] เติม 0 ให้เป็ นสามมิติได้เป็ น [−3]
(−1) − 2 −3
0
3 2 (1)( 0 ) − ( 0 )(−3 ) 0
จะได้ ⃗⃗⃗⃗⃗
BA × ⃗⃗⃗⃗⃗BC = [1] × [−3] = [ (0)(2) − (3)(0) ] = [ 0 ]
0 0 (3)(−3) − (1)(2) −11
ดังนัน้ พืน้ ที่ส่เี หลี่ยมด้านขนาน ABCD = |BA ⃗⃗⃗⃗⃗ × BC
⃗⃗⃗⃗⃗ | = √0 + 02 + (−11)2 = 11
2 #
เวกเตอร์ 33

ตัวอย่าง จงหาปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจาก 𝑢̅ = 𝑖̅ − 𝑗̅ − 𝑘̅ , 𝑣̅ = 𝑖̅ + 2𝑘̅ และ ̅ = 𝑗̅ − 𝑘̅


𝑤
1 1 0
วิธีทา ปริมาตร = |𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅)| = |[−1] ∙ ([0] × [ 1 ])|
−1 2 −1
1 (0)(−1) − (2)(1) 1 −2
= |[−1] ∙ [(2)(0) − (1)(−1)]| = |[−1] ∙ [ 1 ]|
−1 (1)(1) − (0)(0) −1 1
= |(1)(−2) + (−1)(1) + (−1)(1)|
= |−4| = 4 #

นอกจากนี ้ ปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน ยังสามารถนาไปใช้ตรวจสอบ “ระนาบ” ของเวกเตอร์ได้ดว้ ย


จะเห็นว่า ถ้า 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ อยู่บนระนาบเดียวกัน แล้ว รูปทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ จะ
กลายเป็ นแผ่นแบนราบ ซึ่งทาให้ปริมาตรของรูปทรง = 0

𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ อยู่บนระนาบเดียวกัน ก็ต่อเมื่อ 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤


̅) = 0

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า 𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅ , 2𝑖̅ + 𝑗̅ + 2𝑘̅ และ 3𝑖̅ + 4𝑗̅ + 3𝑘̅ อยู่บนระนาบเดียวกันหรือไม่


1 2 3
วิธีทา 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤
̅) = [1] ∙ ([1] × [4])
1 2 3
1 (1)(3) − (2)(4)
= [1] ∙ [(2)(3) − (2)(3)]
1 (2)(4) − (1)(3)
1 −5
= [1] ∙ [ 0 ] = (1)(−5) + (1)(0) + (1)(5) = 0
1 5
ดังนัน้ 𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅ , 2𝑖̅ + 𝑗̅ + 2𝑘̅ และ 3𝑖̅ + 4𝑗̅ + 3𝑘̅ อยู่บนระนาบเดียวกัน #

แบบฝึกหัด
1. จงหาพืน้ ที่ของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ต่อไปนี ้
1 2
1. [−1] และ [1] 2. 𝑖̅ + 𝑗̅ และ 𝑖̅ − 𝑗̅
2 −1
34 เวกเตอร์

2. จงหาปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานที่เกิดจากเวกเตอร์ต่อไปนี ้
0 1 2
1. [ 1 ] , [−1] และ [0] 2. 𝑖̅ + 𝑗̅ , 𝑗̅ + 𝑘̅ และ 𝑖̅ + 𝑘̅
−2 1 −1

3. เวกเตอร์ในข้อใดต่อไปนี ้ อยู่บนระนาบเดียวกัน
2 −3 0
1. [0] , [ 1 ] และ [1] 2. 𝑖̅ − 𝑗̅ + 𝑘̅ , 𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅ และ −𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅
6 −1 8

4. กาหนดให้ A(1, 0, −2) , B(0, −1, 0) , C(2, 1, −1) จงหาพืน้ ที่ส่เี หลี่ยมด้านขนานที่เกิดจาก ⃗⃗⃗⃗⃗
AB และ ⃗⃗⃗⃗⃗
AC
เวกเตอร์ 35

5. กาหนดให้ A(−2, 1, 1) , B(2, 2, −1) , C(1, 1, 0) จงหาพืน้ ที่สามเหลี่ยม ABC

1 2 3
6. ถ้ารูปทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนานที่เกิดจาก [−1] , [ 𝑥 ] และ [2] มีปริมาตรเท่ากับ 3 แล้ว จงหาค่า 𝑥
2 −1 −1

7. กาหนดให้ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆในสามมิติ ข้อใดต่อไปนีถ้ ูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 57)/13]


1. 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅) = 𝑤̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑣̅ )
2. ถ้า |𝑢̅| = |𝑤̅| , |𝑢̅ − 𝑣̅ | = |𝑣̅ + 𝑤̅| และเวกเตอร์ 𝑢̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑣̅
แล้วเวกเตอร์ 𝑣̅ ตัง้ ฉากกับเวกเตอร์ 𝑤̅
36 เวกเตอร์

8. กาหนดให้ 𝑢̅ = 𝑖̅ + 3𝑘̅
𝑣̅ = 2𝑗̅ + 𝑥𝑘̅ เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
และ ̅ = −3𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅
𝑤
ถ้า 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤̅ อยู่บนระนาบเดียวกัน แล้ว 𝑥 มีค่าเท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-13]

9. กาหนดทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนาน มีจดุ ยอดอยู่ท่ีจดุ O(0, 0, 0), A(1, 5, 7), B(2𝑎, − 𝑏, − 1) และ


C(𝑎, 3𝑏, 2) โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม ถ้า OA ⃗⃗⃗⃗⃗ ตัง้ ฉากกับฐานที่ประกอบด้วย 𝑂B
⃗⃗⃗⃗⃗ และ OC
⃗⃗⃗⃗⃗
และ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑂B ⃗⃗⃗⃗⃗ และ OC
⃗⃗⃗⃗⃗ แล้ว ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [A-NET 51/1-15]
5
1. sin 𝜃 = 3√7
2. |𝑂B
⃗⃗⃗⃗⃗ | |𝑂C
⃗⃗⃗⃗⃗ | = √21

3. พืน้ ที่ฐานของทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนาน เท่ากับ 5√3


2
ตารางหน่วย
4. ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนาน เท่ากับ 75 ลูกบาศก์หน่วย
เวกเตอร์ 37

ปริมาณเวกเตอร์
1 1 3
1. 1. 2
𝑢̅ 2. 4
𝑣̅ 3. 4
𝑣̅ 4. −𝑣̅
1 1 2
5. − 2 𝑢̅ 6. −𝑢̅ + 𝑣̅ 7. 3
(−𝑢̅ + 𝑣̅ ) 8. 3
(𝑢̅ − 𝑣̅ )
1 1 1 2 1 2 1
9. −𝑣̅ + 2 𝑢̅ 10. − 2 𝑢̅ + 4 𝑣̅ 11. 3
𝑢̅ + 3 𝑣̅ 12. 3
𝑢̅ + 12 𝑣̅
1
2. 1. 𝑣̅ 2. 𝑢̅ + 𝑣̅ 3. −𝑣̅ + 𝑢̅ 4. 𝑣̅ + 4 𝑢̅
1 1 1 3 1 5
5. 𝑣̅ − 4 𝑢̅ 6. − 2 𝑣̅ + 8 𝑢̅ 7. 8
𝑢̅ + 2 𝑣̅ 8. 8
𝑢̅
2
3. 1 4. 9 5. 15
6. 93
7. 4

เวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉาก

−2 −1
2 −2
1. 1. [ ] 2. [ ] 3. [−1] 4. [0]
6 2
3 1
2. 1. 𝑎 = −1 , 𝑏 = 1 2. 𝑎 = 0 , 𝑏 = −1 , 𝑐 = 2 3. 𝑎 = −2
4. 𝑎 = 1 , 𝑏 = −8
3. 1. 5 2. 5 3. 13 4. √5
4. (−2, 11)

เวกเตอร์หนึ่งหน่วย

1. 1. 5𝑖̅ + 𝑗̅ 2. 𝑖̅ − 3𝑗̅ − 𝑘̅ 3. −2𝑖̅ + 2𝑘̅ 4. −√2𝑖̅ + 2𝑗̅


1
5. 5
(−4𝑖̅ + 3𝑗̅) 6. −
√2
2
(𝑖̅ + 𝑗̅) 7. √6
3
(𝑖̅ − 𝑗̅ + 2𝑘̅) 8. ±(𝑖̅ + 2𝑗̅)
2. (−2, −8) 3. −2𝑖 − 𝑗 4. 14 5. 3

ผลคูณเชิงสเกลาร์

1. 1. 9 2. 1 3. −4 4. −1
2. 2, 3, 4
3. 1. 9
𝑥 −2
ตัง้ ฉากกัน แสดงว่า ดอทกัน ได้ 0 → จะได้ [ ]∙[ ] = 0
6 3
(𝑥)(−2) + (6)(3) = 0
−2𝑥 = −18
𝑥 = 9

2. 1,3
4. 1. √19 2. √7 3. 2√13 4. 6
13 4
5. √
7
6. √10 7. −5 8. 4√2
9. 3 10. 2 11. 2, 3 12. 1, 2
38 เวกเตอร์

13. 2 14. 6 15. 2 16. 200


7
17. - 18. 124 19. − 25 (3𝑖̅ + 4𝑗̅) 20. 2
5
21. −
2
22. 1, 2 23. 3 24. 22
2
25. − 11 26. 192

ผลคูณเชิงเวกเตอร์

3 −3
1. 1. [−1] 2. [4] 3. 2𝑗̅ + 2𝑘̅ 4. ̅
0
5 5
2. √11
6
3. 8 4. 6𝑖̅ + 8𝑗̅ − 10𝑘̅

พืน้ ที่และปริมาตร

1. 1. √35 2. 2
2. 1. 1 2. 2
8
3. 1 4. 3√2 5. √14
2
6. 2,7
7. 1, 2 8. 16 9. 4

เครดิต
ขอบคุณ คุณ POaty Destiny
และ คุณ Gunta Serikijcharoen
และ คุณ Pawarit Karusuporn
และ คุณ ชัยพฤกษ์ สมใจเพ็ง
และ คุณ Prangsai Tiangtrong ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like