You are on page 1of 7

แบบทดสอบก่อน-หลังการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ๓๐๑๒๑-๒๑๑๑
วิชาการสารวจเพื่อการก่อสร้างงานโยธา
(Civil Construction Surveying)

สร้างโดย
ครูนราวุธ สีหะวงษ์

สาขาวิชาช่างก่อสร้าง –โยธา
วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร

วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ รหัสวิชา ๓๐๑๒๑-๒๑๑๑ วิชาการสารวจเพื่อการก่อสร้างงานโยธา
ชั้น ปวส.๑ คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน เวลา ๒ ชั่วโมง
ตอนที่ ๑ ให้เลือกตอบเพียงคาตอบเดียวที่ถูกต้องที่สุด แล้วทาเครื่องหมาย กากบาท “” ลงในกระดาษ
คาตอบที่กาหนดให้เท่านั้น
1. สิ่งที่ขาดไม่ได้ในการเขียนแผนที่สังเขปหรือรูปภาพร่างแผนที่ คืออะไร
ก. ขอบเขตบริเวณที่ทาการสารวจ ข. หมุดหลักฐานการระดับ ค. รายละเอียดภูมิประเทศ
ง. เส้นชั้นความสูง จ. ค่าระดับอ้างอิง
2. ช่างสารวจจะเริ่มทาการสารวจ ควรทาสิ่งใดก่อน จากสิ่งที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ก. ทาการถ่ายระดับจากหมุดหลักฐาน ข. กาหนดหมุดวงรอบสารวจ ค. เดินดูสภาพพื้นที่สารวจ
ง. วัดระยะรอบพื้นที่ จ. วัดมุมวงรอบ
3. ในการปรับระดับฟองยาวของกล้องวัดมุม จากภาพที่กาหนดให้ ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องที่สุด
ก. หมุนควง B และ C พร้อมกัน โดยหมุน B ตามเข็มนาฬิกา และหมุน C ตามเข็มนาฬิกา
ข. หมุนควง B และ C พร้อมกัน โดยหมุน B ทวนเข็มนาฬิกา และหมุน C ทวนเข็มนาฬิกา
ค. หมุนควง B และ C พร้อมกัน โดยหมุน B ตามเข็มนาฬิกา และหมุน C ทวนเข็มนาฬิกา
ง. หมุนควง B และ C พร้อมกัน โดยหมุน B ทวนเข็มนาฬิกา และหมุน C ตามเข็มนาฬิกา
จ. หมุนควง B ทวนเข็มนาฬิกา แล้วหมุน C ตามเข็มนาฬิกา
4. ภายหลังจากการใช้งานเทปวัดระยะ ควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้อง
ก. ให้เช็ดทาความสะอาดด้วยน้ามันแล้วม้วนเก็บเข้าตลับให้เรียบร้อย
ข. ให้เช็ดทาความสะอาดด้วยน้าก่อนเก็บเข้าตลับให้เรียบร้อย
ค. ให้เช็ดทาความสะอาดด้วยน้าสบู่ก่อนเก็บเข้าตลับให้เรียบร้อย
ง. ไม่ต้องม้วนเก็บเข้าตลับ ให้นาไปเก็บเข้าที่เดิมได้ทันที่
จ. ต้องเช็ดทาความสะอาดด้วยผ้าที่สะอาดในขณะม้วนเก็บเข้าตลับ
5. หลังจากที่ติดตั้งกล้องสารวจบนขาตั้งกล้องเรียบร้อยแล้ว กล่องกล้องควรเก็บไว้ที่ใด
ก. ไว้ข้างผู้ส่องกล้อง ข. ไว้ข้างผู้จดสมุดสนาม ค. ไว้ข้างผู้วัดระยะทาง
ง. ไว้ข้างผู้ตรวจสอบ จ. ไว้ในรถทีใ่ ช้เป็นพาหนะ
6. การรังวัดหาความสูงด้วยกล้องวัดมุมตามภาพความสูงของจุด ง จะหาได้จากสมการในข้อใด

ก. คจ + (กค x cot α)
ข ก α ค ข. คจ + (กค x cos α)
ค. คจ + (กค x sin α)
จ ง. คจ + (กค x tan α)
BM. จ. คจ + (กค x sec α)

7. การเล็งกล้องสารวจไปยังที่หมาย ให้สังเกตจากส่วนใดเป็นหลักเสมอ
ก. Optical Collimation ข. Optical Plummet ค. Optical Sight
ง. Optical Target จ. Sight Target
8. การรังวัดมุมสูงของกล้องวัดมุม ค่าที่อ่านได้จากกล้องวัดมุมคือมุมใด
ก. มุมกระดก ข. มุมก้ม ค. มุมดิ่ง ง. มุมกด จ. มุมราบ
จากการรังวัดด้วยกล้องวัดมุม ไปยังจุด ข ได้ข้อมูลตามภาพ ใช้ตอบต่อไปนี้ตอบคาถามในข้อ 9 – 12
ก. 0.150 เมตร ข. 1.780 เมตร ค. 1.855 เมตร ง. 2.050 เมตร จ. 100.000 เมตร
1.855
2.050 1.780

H'
H ข 1.705
∆H
ก D
BM.
Elev. = 100.000
9. จากภาพข้างต้น ค่ากาหนดสูงของหมุดหลักฐานการระดับ มีค่าตรงกับข้อใด
10. จากภาพข้างต้น ค่าไม้หลัง (BS.) มีค่าตรงกับข้อใด
11. จากภาพข้างต้น ค่าไม้หน้า (FS.) มีค่าตรงกับข้อใด
12. จากภาพข้างต้น ค่า มีค่าตรงกับข้อใด
ใช้ตอบต่อไปนี้ตอบคาถามในข้อ 13 – 16
ก. 0.270 เมตร ข. 1.780 เมตร ค. 2.050 เมตร ง. 15.00 เมตร จ. 100.000 เมตร
13. จากภาพข้างต้น ค่า H มีค่าตรงกับข้อใด
14. จากภาพข้างต้น ค่า มีค่าตรงกับข้อใด
15. จากภาพข้างต้น ค่า △H มีค่าตรงกับข้อใด
16. จากภาพข้างต้น ค่าระยะทาง หรือ D มีค่าตรงกับข้อใด
17. จากภาพข้างต้น ค่า Elev. ของหมุด ข. มีค่าตรงกับข้อใด
ก. 1.780 เมตร ข. 15.000 เมตร ค. 100.000 เมตร ง. 100.270 เมตร จ. 102.050 เมตร
18. จากภาพที่แสดง ต้องการหาความยาวของด้าน ต้องใช้สมการในข้อใด
ก. ความยาวด้าน 𝑎 = 𝑏 2 + 𝑐 2 − 2𝑏𝑐 𝑐𝑜𝑠𝛼
ข. ความยาวด้าน 𝑎 = 𝑏 2 + 𝑐 2 − 2𝑏𝑐 𝑐𝑜𝑠γ
ค. ความยาวด้าน 𝑎 = 𝑏 2 + 𝑐 2 − 2𝑏𝑐 𝑐𝑜𝑠𝛽
𝑏 2 +𝑐 2
ง. ความยาวด้าน 𝑎 = 2
𝑎2 +𝑏 2 +𝑐 2
จ. ความยาวด้าน 𝑎 = 2

19. จากการสารวจได้มุม α = 90°00'00" มีระยะ b = 4.00 และ ระยะ c = 3.00 ความยาวของด้าน จะมี
ค่าตรงกับข้อใด
ก. 3.00 เมตร ข. 4.00 เมตร ค. 5.00 เมตร ง. 7.00 เมตร จ. 100.000 เมตร
20. ในงานรังวัดสามเหลี่ยมด้วยเทปวัดระยะรูปหนึ่ง ช่างสารวจสามารถคานวณหาพื้นที่ของรูปที่รังวัดมาได้ด้วย
สมการใด
ก. พื้นที่ = ฐาน ×สูง ข. พื้นที่ = s(s  a)(s  b)(s  c) เมื่อ s  a2bc
ค. พื้นที่ = 12 ×ฐาน ×สูง ง. พื้นที่ = s(s  a)(s  b)(s  c) เมื่อ s  a2bc
จ. พื้นที่ = 12 ×ผลบวกของสามด้าน
จากภาพต่อไปนี้ ให้ใช้ตอบคาถามข้อ 21- 22
1 2 Base Line 𝑦
B หมุด Base Line
หมุดตาแหน่งเสาอาคาร
8.00
สมการคานวณ
A 𝑦
𝜃 = tan−1
3.00 𝑥
Base Line 𝑥 4.00 4.00 𝑟= 𝑥2 + 𝑦2
POT
ภาพแสดงการวางผังหลุมเสาอาคารด้วยกล้องวัดมุม
21. ตาแหน่งหลุมเสา A1 ของอาคารจะต้องวัดระยะจากจุด POT (ค่า 𝑟 ) ยาวเท่ากับข้อใด
ก. 4.00 เมตร ข. 5.000 เมตร ค. 8.544 เมตร ง. 11.705 เมตร จ. 13.601 เมตร
22. ตาแหน่งหลุมเสา B2 ของอาคารจะต้องรังวัดมุมราบจาก Base Line 𝑥 เท่ากับข้อใด
ก. ข. ค. 4 00 00 ง. จ.
23. เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทางระดับกาหนดไม่เกิน  12 K ค่า K หมายถึงค่าใด
ก. ค่าคงที่ทางระดับ มีหน่วยเป็นกิโลเมตร ข. ค่าคงที่ทางระดับ มีหน่วยเป็นเมตร
ค. ค่าระยะห่างระหว่างหมุดทางระดับ มีหน่วยเป็นกิโลเมตร ง. ค่าระยะทาง มีหน่วยเป็นเมตร
จ. ค่าระยะห่างระหว่างหมุดทางระดับ มีหน่วยเป็นเมตร
24. ค่า B.M. ของงานก่อสร้าง คือค่าอะไร
ก. ค่าระดับหมุดอ้างอิงของงานก่อสร้าง ข. ค่าระดับของแนวอ้างอิงในงานก่อสร้าง
ค. ค่าที่หมุดอ้างอิงในการวางแนวงานก่อสร้าง ง. ค่ามุมอ้างอิงของแนวงานก่อสร้าง
จ. ค่าที่ระดับน้าทะเลปานกลาง
25. ความหมายของ H.I. (Height of Instrument) ในงานระดับทั่วไปคือข้อใด
ก. ระยะดิ่งที่วัดจากพื้นดินกับแนวเล็ง ข. ระยะดิ่งที่วัดจากหลอดระดับถึงแนวเล็ง
ค. ระยะดิ่งที่วัดจากหลอดระดับจากพื้นดิน ง. ระยะดิ่งที่วัดจาก M.S.L ถึง แนวเล็งของกล้องระดับ
จ. ระยะดิ่งที่วัดจากระดับสายตาผู้รังวัด ถึง แนวเล็งของกล้องระดับ
26. สมการหาความสูงของแนวแกนกล้องระดับ หรือ H.I. คือค่าในข้อใด
ก. B.S. + F.S ข. .F.S. – Elev. ค. B.S. – Elev. ง. F.S. + Elev. จ. B.S. + Elev.

27. ค่า F.S. คือค่าอะไร


ก. ค่าความยาวของ Staff ข. ค่าปรับความชัดของกล้องระดับ ค. ค่าความสูงของผิวดิน
ง. ค่าอัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety) จ. ค่าที่ได้จากการอ่านไม้ Staff ที่จุดหน้า
28. การตั้งกล้องระดับให้อยู่กึ่งกลางระหว่างไม้ระดับในขั้นตอนการถ่ายค่าระดับเพื่อจุดประสงค์ในข้อใด
ก. ขจัดค่าคลาดเคลื่อนเนื่องจากสายใยราบของกล้องระดับ
ข. ขจัดค่าความคลาดเคลื่อนเนื่องจากความโค้งของผิวโลก
ค. ขจัดค่าความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการหักเหของแสง
ง. ขจัดค่าคลาดเคลื่อนเนื่องจากอุณหภูมิ
จ. เฉลี่ยค่าที่อ่านได้บนไม้วัดระดับ
จากภาพร่างแสดงการทาระดับตามแนวยาวของถนนต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 29-40
จากแบบแปลนก่อสร้างเส้นทางที่ Sta. 1+000 ถึง Sta. 1+075 กาหนดค่าระดับก่อสร้างจาก Sta. 1+000
มีค่าระดับก่อสร้างเป็น G = + 1% โดย ณ Sta. 1+000 มีค่าระดับก่อสร้าง (Con. Elev.) = 100.250 เมตร
1.500 1.250 0.900 1.100 0.850 0.890
BM.1/1
BM.1/0 L1 1+000 1+025 1+050 1+075 Elev.=100.600
Elev.=100.00
29. 0ค่าไม้หลัง (BS.) ตรงกับข้อใด
ก. 0.890 เมตร ข. 1.250 เมตร ค. 1.500 เมตร ง. 100.000 เมตร จ. 101.500 เมตร
30. ค่าไม้หน้า (FS.) ตรงกับข้อใด (ใช้คาตอบจากข้อ 29.)
31. ค่าความสูงของแนวแกนกล้อง (HI.) ตรงกับข้อใด (ใช้คาตอบจากข้อ 29.)
32. ค่าไม้กลาง (IFS.) ตรงกับข้อใด (ใช้คาตอบจากข้อ 29.)
33. Sta. 1+000 มีค่ากาหนดสูง (Elev.) ที่ระดับดินเดิม ตรงกับข้อใด
ก. 100.000 เมตร ข. 100.250 เมตร ค. 100.500 เมตร ง. 100.600 เมตร จ. 101.250 เมตร
34. Sta. 1+000 มีค่าระดับก่อสร้าง (Con. Elev.) ตรงกับข้อใด (ใช้คาตอบจากข้อ 33.)
35. Sta. 1+000 มีค่าระดับดินขุดดินถม (Cut/Fill) ตรงกับข้อใด
ก. 0.000 ข. 0.10 F ค. 0.10 C ง. 0.25 F จ. 0.25 C
36. ในการสารวจให้ค่าระดับตามแนวยาวของถนนครั้งนี้ มีความผิดพลาด (Error) ที่ BM.1/1 ตรงกับข้อใด
ก. +0.600 ข. +0.100 ค. -0.100 ง. +0.010 จ. -0.010
37. Sta. 1+025 มีค่ากาหนดสูง (Elev.) ที่ระดับดินเดิม ตรงกับข้อใด
ก. 100.600 เมตร ข. 100.500 เมตร ค. 100.250 เมตร ง. 100.025 เมตร จ. 100.000 เมตร
38. Sta. 1+025 มีค่าระดับก่อสร้าง (Con. Elev.) ตรงกับข้อใด (ใช้คาตอบจากข้อ 37.)
39. Sta. 1+025 มีค่าระดับดินขุดดินถม (Cut/Fill) ตรงกับข้อใด
ก. 0.000 ข. 0.10 F ค. 0.10 C ง. 0.25 F จ. 0.25 C
40. ในการตรวจสอบระดับ ค่า Staff ตรวจสอบ ณ หมุด 1+025 มีค่าตรงกับข้อใด
ก. 0.890 ข. 0.900 ค. 1.000 ง. 1.050 จ. 1.250

วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร
แบบคาตอบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ รหัสวิชา ๓๐๑๒๑-๒๑๑๑ วิชาการสารวจเพื่อการก่อสร้างงานโยธา
ชั้น ปวส.๑ คะแนนเต็ม ๘๐ คะแนน เวลา ๒ ชั่วโมง
ชื่อ,สกุล................................................................. เลขที่..........
ตอนที่ ๑
ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ
1 11 21 31
2 12 22 32
3 13 23 33
4 14 24 34
5 15 25 35
6 16 26 36
7 17 27 37
8 18 28 38
9 19 29 39
10 20 30 40
ตอนที่ ๒. จากการอ่านค่าระดับดินเดิมในการสารวจวางผังแนววางท่อระบายน้า ดังภาพร่างต่อไปนี้
คาสั่ง ให้คานวณหาข้อมูลการก่อสร้างในสมุดสนามให้ถูกต้อง (๑๕ คะแนน)
กาหนดให้ โดย BL. sta. แรก = Elev. – ความลึกที่ขุด
๑) ความลาดเทของคูส่งน้า (SLOPE) = –0.5% BL. sta. อื่น ๆ = BL sta. แรก + หรือ – ค่า slope
๒) ไม้ที (TRAVELLER) = 1.00 เมตร PL. = BL + ระยะไม้ที, CUT/FILL = Elev. – BL.
๓) ความลึกของร่องคูส่งน้าที่ Sta.0+000 = 0.60 เมตร
๔) ให้ใช้กล้องที่ L1 เป็นกล้องตรวจสอบค่าระดับบนเคร่าผังหรือบาร์ผังสาหรับการวางผัง
1.300 1.550 1.850
1.320 0+000 0+010 0+020 1.821

L1
BM.1 Elev. = 10.000 ภาพแสดงการทาระดับวางแนวท่อระบายน้า BM.2
Elev. = 9.500
สมุดสนามการสารวจวางผังแนววางท่อระบายน้า
Line STA. B.S. H.I. I.F.S. F.S. ELEV. CUT/FILL BL. PL. Staff. Remark
L1 BM.1 ………… ………… ………… SLOPE)
………… ………… ………… ………… ………… ………… ………… = -0.5%
………… ………… ………… ………… ………… ………… ………… ทุกๆ 10 ม.
………… ………… ………… ………… ………… ………… ………… = …………
………… ………… Elev.=……...
 BS.  …………  FS.  ………… ………… Error=………
 FS.  ………… …………
h = ………… Check

ตอนที่ ๓. กาหนดค่า a = 5 เมตร ยกเว้น a' a" a'" Sta. – Sta. = 25 เมตร PI. Sta. 4+540.000 ดังรูป
แสดงการคานวณค่าสาหรับวางโค้ง ได้ดงั นี้ PI. Sta. 4+540.000
๑. หาค่า Sta. PC. = Sta. 4+540.000 – 10.018 = Sta. 4+529.982 ∆ 11˚23' 00" RT
๒. หาค่า Sta. PT. = Sta. 4+529.982 + 19.971 เมตร = Sta. 4+549.953
๓. หาระยะที่กลางโค้ง (Middle curve) = L  2 = 9.986 เมตร L PT.
ดังนั้น a' = 9.986 – 5.00 = 4.986 เมตร 19.971 เมตร ใ.
a" = 10.00 – 9.986 = 0.014 เมตร PC. R = 100.519
และ a'" = 19.971 – 15.00 = 4.971 เมตร D
57˚00' 00"
Mid. L Peg. 0+009.986 PT. Sta. 4+549.953
PC. Sta. 4+529.982 Peg. 0+005 Peg. 0+015

Sta. 4+525.000 Sta. 4+550.000


a' = 4.986 ม. a = 5.000 ม.
a = 5.000 ม. a" = 0.014 ม. a"' = 4.971 ม.
ภาพแสดง “Sta. Peg” และระยะ “a” ในการวางโค้ง
๔. หาค่า d2 = 0.3aD ลิปดา
แทนค่า d2 = 0.35.00 ' "= ลิปดา = 85.500 ลิปดา  601 องศา
ลิปดา
=
ดังนั้น ค่า d2 = ค่า d2 = ค่า d2 =
๕. หาค่า c = 2R sin d2 แทนค่า = 2  100.519  sin = 5.000 เมตร
ดังนั้น ค่า c' = 4.985 เมตร ค่า c" = 0.014 เมตร ค่า c"' = 4.971 เมตร
คาสั่ง ให้บันทึกข้อมูลในสมุดสนามการวางโค้ง ให้ถูกต้อง (๒๕ คะแนน)
สมุดสนามการวางโค้งถนนหมายเลข....................-..........................PI. STA. .. 4+540.000.....
ตั้งกล้องที่.... PC. .... STA. …. 4+529.982....
ความยาว Arc. ความยาวคอร์ด มุม d (องศา) หมายเหตุ
ส่องไปที่ 2
หรือ a (เมตร) หรือ c (เมตร)
PI. STA. 4+540.000 - 10.018 00˚00' 00"
Peg. 0 + 005 5.00 …………… …… …… …… …
…… …… …… … Peg. ๑
Peg Mid. L 0+009.986 …………… …………… …… …… …… …
…… …… …… … Peg. ๒
Peg. 0 + 010 …………… …………… …… …… …… …
…… …… …… … Peg. ๓
Peg. 0 + 015 …………… …………… …… …… …… …
…… …… …… … Peg. ๔
Peg. 0 + 019.971 …………… …………… …… …… …… …
PT. Sta. 4+549.953 …… …… …… … Peg. ๕
จาก 2 =… …... ……
Error = … … ……
ตรวจสอบ ค่า LC จากการคานวณค่า LC = 2R sin 2 แทนค่า LC = …  ……………  sin … … ..…
= ……………… เมตร

You might also like