You are on page 1of 56

คณิตศาสตร์ ม.

5
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
(Trigonometry function)

รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์


2

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
อัตราส่ วนตรีโกณมิติ
B

(ด้านตรงข้ามมุมฉาก) c a (ด้านตรงข้ามมุม A)

a2  b2  c2
A C
b (ด้านประชิดมุม A)
a
sin A = ความยาวด้ านตรงข้ ามมุม A = ข้ าม =
c
ความยาวด้ านตรงข้ ามมุมฉาก ฉาก
b
cos A = ความยาวด้ านประชิ ดมุม A = ชิด =
c
ความยาวด้ านตรงข้ ามมุมฉาก ฉาก
a
tan A = ความยาวด้ านตรงข้ ามมุม A = ข้ าม = หรือ tan A  sin A
b cos A
ความยาวด้ านประชิ ดมุม A ชิด

1 c
cos ecA   หรือ sin A  cos ecA  1
sin A a
1 c
sec A   หรือ cos A  sec A  1
cos A b
1 b cos A
cot A   หรือ cot A  หรือ tan A  cot A  1
tan A a tan A

เนื่องจาก A  B  90  B  90  A จะได้


sin B  sin 90  A 
b
c
  
 cos A  sin 90  A  cos A

 a
 
cos B  cos 90  A   sin A  cos 90  A  sin A
c

 b
 
tan B  tan 90  A   cot A  tan 90  A  cot A
a

3

อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา

อัตราส่ วน/มุม 30 45 60


1
sin  2 3
2 2 2
1
cos 3 2
2 2 2
1
tan 1 3
3

หลักง่ ายๆ ในการจาตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา เพื่อนาไปใช้ ดังนี้


1. เขียนตารางดังกล่าว แต่ยงั ไม่มีค่าของตรี โกณมิติ
2. แถวบนสุ ด sin   ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็ นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็ นเลข
1,2,3 และตัวเลขที่เขียนลงไปเป็ นตัวส่ วน 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็ นเลข 2 ทุกตัว และใช้เครื่ องหมาย
1 2 3 1 2 3 1 2 3
รากที่สองของตัวเศษทุกตัว จะได้ , ,  , ,  , ,
2 2 2 2 2 2 2 2 2
3. แถวที่สอง cos  ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็ นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็ นเลข
3,2,1, และตัวเลขที่เขียนลงไปเป็ นตัวส่ วน 3 ช่องจากซ้ายไปขวาเป็ นเลข 2 ทุกตัว และใช้เครื่ องหมาย
3 2 1 3 2 1 3 2 1
รากที่สองของตัวเศษทุกตัว จะได้ , ,  , ,  , ,
2 2 2 2 2 2 2 2 2
4. แถวที่สาม tan  ตัวเลขที่เขียนลงไปเป็ นตัวเศษ 3 ช่องจากซ้ายไปขวา นาตัวเศษ
ของแถวบนสุ ดและแถวที่สองมาเขียนเป็ นเศษส่ วนตามลาดับในแต่ละช่อง จะได้
1 2 3 1
, ,  ,1 , 3
3 2 1 3

4
ตัวอย่าง 1 ถ้า cos  และ 0    90 แล้วจงหาค่าของ 5 tan  4 sec2 
5
4

ตัวอย่าง 2 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็ นมุมฉาก และ cot A  12 แล้วจงหาค่าของ


5
10 cos ecA  12sec A

ตัวอย่าง 3 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็ นมุมฉาก และ cos A  3 แล้วจงหาค่าของ


5
10 cosB  A

ตัวอย่าง 4 ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็ นมุมฉาก มีมุม A เท่ากับ 30 องศา และมีพ้นื ที่เท่ากับ
24 3 ตารางหน่วย จงหาความยาว AB
5

ตัวอย่าง 5 ถ้ารู ปสามเหลี่ยมด้านเท่ารู ปหนึ่งมีความสู งเท่ากับ 1 หน่วย จงหา เส้นรอบรู ปของ


สามเหลี่ยมรู ปนี้

ตัวอย่าง 6 ให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน มีพ้นื ที่เท่ากับ 20 ตารางหน่วย มุม BAD กาง
120 ถ้า AB ยาว 5 หน่วยแล้ว เส้นรอบรู ปของสี่ เหลี่ยมรู ปนี้มีความยาวเท่าใด

ตัวอย่าง 7 นักท่องเที่ยวคนหนึ่งยืนอยูบ่ นประภาคารสังเกตเห็นเรื อสองลาจอดอยูใ่ นทะเลทางทิศ


ตะวันออกของประภาคารในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทามุมก้ม 30 องศา และ 60 องศา กับแนวระดับ
ประภาคารแห่งนี้อยูส่ ู งจากระดับน้ าทะเลประมาณเท่าใด ถ้าเรื อทั้งสองลาอยูห่ ่างกัน 200 เมตร
6

ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
การกาหนดค่าของฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติ โดยใช้วงกลม 1 หน่ วย (The unit circle)คือวงกลมรัศมี
1 หน่ วยที่ มี จุดศู นย์ก ลางที่ จุด 0,0 เป็ นหลักในการกาหนดค่ าของฟั งก์ ชันตรี โกณมิติ วงกลม 1
หน่วยนี้ มีกราฟของความสัมพันธ์ x, y  R  R x2  y 2  1
กาหนดจานวนจริ ง  โดยเริ่ มวัดระยะจากจุด 1,0 ไปตามส่ วนโค้งของวงกลม 1 หน่ วยให้
ยาว  หน่วย ถึงจุด x, y  ที่ตอ้ งการบนวงกลม 1 หน่วย โดยมีขอ้ ตกลงดังนี้

ถ้า   0 จะเป็ นการวัดส่ วนโค้งจากจุด 1,0 ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา


ถ้า   0 จะเป็ นการวัดส่ วนโค้งจากจุด 1,0 ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
ถ้า   0 จุดปลายของส่ วนโค้งคือ จุด 0,0

0 1,0 0 1,0

 0  0
จากสู ตรเส้ นรอบวงหรื อส่ วนโค้งของวงกลม 1 รอบเท่ากับ 2r หน่ วย ดังนั้นความยาวของ
เส้ นรอบวงหรื อส่ วนโค้ งของวงกลม 1 หน่วย 1 รอบ ยาว 2 1  2 หน่ วย ถ้า   2 แสดงว่า
วัดส่ วนโค้งเกิน 1 รอบ
ตาแหน่ งของจุดปลายส่ วนโค้ งของวงกลม 1 หน่ วย ทีส่ าคัญ

 
  
2 2

    
0   0,2 0   0,2

3
 
2  
2
 0  0
7

กาหนดฟังก์ชนั f : R  R และ g : R  R สาหรับแต่ละจานวนจริ ง  ใดๆ ดังนี้


f    x , g    y เมื่อ x, y  เป็ นจุดปลายส่ วนโค้ งของวงกลม 1 หน่ วย ทีว่ ดั จากจุด 1,0 ยาว
 หน่วย ถึงจุด x, y  ที่ตอ้ งการบนวงกลม 1 หน่วย เรี ยก ฟังก์ชน ั g และ f ว่า ฟังก์ชนั ไซน์ (sine)
และฟังก์ชนั โคไซน์ (cosine) ตามลาดับ เขียน ฟังก์ชนั g ด้วย sin และฟังก์ชนั f ด้วย cos จะได้

y  sin , x  cos
(หลักง่ายๆ  หน้า คือค่า cos และหลัง คือค่า sin )

จากวงกลม 1 หน่วย เป็ นวงกลมรัศมี 1 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด 0,0 มีกราฟของ


ความสัมพันธ์ x, y  R  R x2  y 2  1 จะได้  1  y  1 ,  1  x  1 และจาก
y  sin , x  cos ความสัมพันธ์ดงั นี้
x2  y 2  1  cos 2  sin 2  1; cos2   cos 2 , sin 2   sin 2 นิยมเขียนเป็ น

cos2   sin 2   1
 1  sin  1 ,  1  cos  1

ค่ าของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์ ของจานวนจริงบางจานวน

0,1    0,1    3
2 2

  1,0    1,0
 1,0   0,2  1,0   0,2

3 
0,1  0,1  
2 2

ตัวอย่าง 8 จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


 3  3 7
 0  2     2 3 
2 2 2 2 2
sin  0
cos 1
8

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
นอกจากฟังก์ชนั ไซน์และโคไซน์ดงั กล่าวแล้ว ยังมีฟังก์ชนั ตรี โกณมิติที่สาคัญอีกหลาย
ฟังก์ชนั โดยอาศัยค่าของฟังก์ชนั ไซน์และโคไซน์ นิยามดังนี้

บทนิยาม สาหรับจานวนจริง  ใดๆ


sin  1
tan  ; cos  0 cos ec  ; sin   0
cos sin 
1 cos
sec  ; cos  0 cot  ; sin   0
cos sin 
ความสั มพันธ์ ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ
cos 1 1
cot   
sin sin  tan
cos
cos2  sin 2  1
cos2   sin 2   1     1  tan2   sec2 
cos  cos  cos 
2 2 2

cos2  sin 2  1
cos2   sin 2   1   2  2  1  cot 2   cos ec2
sin  sin  sin 
2

ตัวอย่าง 9 จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


 3 7 9 11 15
 0  2 10  15  
2 2 2 2 2 2
sin  0
cos 1
0
tan 0
1

ตัวอย่าง 10 จงบอกจานวนจริ ง  มา 5 จานวนที่ทาให้


1. sin   0

2. cos  0

3. sin  1

4. cos  1

5. sin  1
9

ค่ าของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์ ของจานวนจริง  เมื่อ  เป็ น  ,  , 


4 6 3

ค่ าของ sin  , cos  , tan 


4 4 4

B0,1
Px, y   2 2
R    2 2
,  P , 

 2 2 
 2 2 
A1,0
 2   2
S  
2
, 2 
 Q ,
 
2 
2 2
 2


ให้ Px, y  เป็ นจุดกึ่งกลางของส่ วนโค้ง AB ดังรู ป เนื่องจากส่ วนโค้ง AB ยาว หน่วย
2
จะได้ คอร์ด PB ยาวเท่ากับ คอร์ ด PA และจะได้ PB  PA ดังนั้น
x  02   y  12  x  12   y  02
x2   y  12  x  12  y 2  x2  y 2  2 y  1  x2  2x  1  y 2
x y
1 1 2
เนื่องจาก x2  y 2  1 x2  x2  1  2 x2  1  x 2  x 
2 2 2
ดังนั้น x
2
y
2
เนื่องจาก x, y  เป็ นจุดในควอดรันต์ที่ 1
2 2
 2 2  
จะได้ จุดปลายส่ วนโค้งที่ยาว  หน่วย คือ  , 
 นัน่ คือ sin  cos 
2
 0.7071
4  2 2  4 4 2

 sin
และ tan  4 1

ยังสามารถหาค่าเมื่อ  เป็ น 3 , 5 ,
7
,... ได้
4 cos 4 4 4
4
ตัวอย่าง 11 จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้
  3 5 3 7
 0  2
4 2 4 4 2 4
sin  0
cos 1
0
tan 0
1
10

ในทานองเดียวกันสามารถหาค่า เมื่อ  เป็ น  ,  สรุ ปได้ดงั นี้


6 3

ค่ าของ sin  , cos  , tan 


6 6 6

B0,1
 3 1
Px, y  P , 
 3 1
R  , 
 2 2  2 2
A1,0  3 1 
S   ,   3 1
 2 2 Q , 
 2 2

ค่ าของ sin  , cos  , tan 


3 3 3

B0,1 1 3 
Px, y   1 3
R  ,  P , 
 2 2  2 2 

A1,0
1 3 
 1 3  Q ,
S   ,  2 2 
 2 2 

ตัวอย่าง 12 จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


  2 5 7 4 5 11

6 3 3 6 6 3 3 6

sin 

cos

tan
11

ค่ าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจานวนจริงใดๆ

ค่ าของ sin   , cos  , tan  

Px, y  sin     sin 


cos    cos
tan     tan
A1,0
   1
i.e. sin     sin  
Qx, y   6 6 2

ค่ าของ sin 2n   , cos2n   , tan2n    เมื่อ n  I 


sin2n     sin 
cos2n     cos
Px, y  tan2n     tan
25  
i.e. sin  sin 6  
A1,0 4  4
 
 sin 3  2  
Qx, y   4
 2
 sin 
4 2

ตัวอย่าง 13 จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


1.  
sin   
 3
2.  
cos  
 6
3.  11 
tan 
 3 
4.  11 
cos  
 3 
5.  11 
sin   
 3 
12

เมื่อจุดปลายส่ วนโค้ งยาว  หน่ วยอยู่ในควอดรันต์ ที่ 2       


2 

sin     sin
cos      cos
P x, y  Px, y  tan      tan

A1,0  5   
i.e. cos   cos   
 6   6
 3
  cos 
6 2

 2   3 
ตัวอย่าง 14 จงหาค่าของ sin 2    tan 
 3   4 

เมื่อจุดปลายส่ วนโค้ งยาว  หน่ วยอยู่ในควอดรันต์ ที่ 3      3 


 2 

sin      sin 
cos      cos
Px, y 
tan     tan

A1,0  5   
i.e. sin   sin   
 4   4
P x, y 
 2
  sin 
4 2

 4   7 
ตัวอย่าง 15 จงหาค่าของ cos   sin 2  
 3   6 
13

เมื่อจุดปลายส่ วนโค้ งยาว  หน่ วยอยู่ในควอดรันต์ ที่ 4  3 


    2 
 2 

sin2      sin 
cos2     cos
Px, y 
tan2      tan

A1,0  11   
i.e. sin   sin 2  
 6   6
Px, y   1
  sin  
6 2

 7   5 
ตัวอย่าง 16 จงหาค่าของ tan   cos2  
 4   3 

สรุ ปฟังก์ ชันตรีโกณมิติทสี่ าคัญ


0,1
2
 1 
  , 3  2   1
,
3

 2 2  3 3  
   2 2 
 2 2  3   2 2 
  ,
 2 , 2  4 4  2 2 
 
 3 1  5   3 1 
  ,
 2 , 2 6 6  2 2 
 
  3 1 
,
 1,0  6  2 2 
0 1,0
  11  3 1
  3 , 1  7  
 2 , 2 
01,0
 2  6 6  
 2 

01,0
 
  2 , 2  5 7  2
 2 
 2
 2  4
  2 , 2 
4  
 1  5 1 
  , 3  4  , 3 
2 
 2  3 3  2 
 2 
3
0,1
2
14

วิธีลดั อย่างง่ ายในการหาค่ าฟังก์ชันตรีโกณมิติ

sin 
cos , tan 2 1 ALL

tan  3 4 cos 
sin , cos sin , tan

5
เมื่ อ จุ ด ปลายส่ วนโค้ ง ยาว  หน่ ว ยอยู่ ใ นควอดรั น ต์ ที่ 2 , 3 และ 4 เช่ น sin ,
6
15 5
cos , tan ดาเนินการวิธีลดั ดังนี้
4 3
1. ให้พิจารณาค่าฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติของความยาวส่ วนโค้ง  ในควอดรันต์ที่ 1 นามาเป็ น
คาตอบไว้ก่อน เช่น cos 2 พิจารณาค่าของ cos   1 ดังนั้นจะได้ cos 2  1
3 3 2 3 2
2. ให้พิจารณาว่าความยาวส่ วนโค้ง  ทั้งหมดอยู่ในควอดรันต์ใด แล้วพิจารณาว่า มีค่าเป็ น
บวก หรื อ ลบ แล้วนา บวก หรื อ ลบ ไปใส่ หน้าคาตอบที่ได้ตอบไว้ในข้อ 1 เช่น จากตัวอย่างข้อ 1 จะ
เห็นว่า 2 อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 2 มีค่าของ cos 2 เป็ น ลบ นัน่ คือ cos
2

1
3 3 3 2

ตัวอย่าง 17 จงหาค่าของ
 5   4   3   7 
1. sin    sin   cos   tan 
 6   3   4   6 

 5   11   7   5 
2. sin 2    cos2    sin   tan 
 6   6   6   4 
15

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
การวัดขนาดของมุมมี 2 แบบ คือ การวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา และตามเข็มนาฬิกาดังรู ป

ทวนเข็มนาฬิ กา ขนาดของมุมเป็ นจานวนบวก


A
ตามเข็มนาฬิ กา ขนาดของมุมเป็ นจานวนลบ

หน่ วยวัดมุมเป็ น เรเดียน (Radian) กาหนดดังนี้

r มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมซึ่ งรองรับด้วยส่ วนโค้งของวงกลม


0 r
ที่ยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมวงนั้น ถือว่าเป็ นมุมที่มีขนาด 1 เรเดียน

เนื่องจากวงกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย มีเส้นรอบวง 2r หน่วย ดังนั้นมุมที่จุดศูนย์กลางของ


วงกลมซึ่ งรองรับด้วยส่ วนโค้งของวงกลมที่ยาว 2r หน่วย จึงมีขนาด 2r  2 เรเดียน
r
จะได้มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีรัศมียาว r หน่วย ที่ได้จากการหมนุนรัศมีครบ 1 รอบ
มีขนาด 2 เรเดียน เมื่อวัดเป็ นองศาวัดได้ 360 องศา ดังนั้น

360 องศา  2 เรเดียน


180 องศา   เรเดียน

1 องศา  เรเดียน  0.01745เรเดียน
180
180
1 เรเดียน  องศา  57 18

หมายเหตุ ขนาดของมุมที่มีหน่วยเป็ น เรเดียน มักไม่เขียนหน่วยกากับไว้

ตัวอย่าง 18 จงหาค่าของ

1. 5  องศา 2. 11
 องศา 3. 
2
 องศา
6 5 3

4. 150  เรเดียน 5. 300  เรเดียน 6.  315  เรเดียน


16

เนื่ องจากการวัดมุ ม ของวงกลม 1 หน่ วย จะเห็ น ได้ว่า จุ ดที่ ด้านสิ้ น สุ ดของมุ ม ขนาด 
เรเดี ยน ตัดกับวงกลม 1 หน่ วยนั้น มีเพียงจุ ดเดี ยวและเป็ นจุ ดเดี ยวกันกับจุดปลายส่ วนโค้งที่ วดั จาก
จุด 1,0

ดังนั้นค่ าของฟังก์ ชันตรีโกณมิติในแง่ ของมุมหรือในแง่ ของความยาวส่ วนโค้ งมีค่าเท่ ากัน


  1   2
เช่น sin   sin 30  , cos 45  cos  
6 2 4 2

การหาค่ าของฟังก์ ชันตรีโกณมิติของมุมหน่ วยเป็ นองศา


เนื่องจากค่าของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติในแง่ของมุมหรื อในแง่ของความยาวส่ วนโค้งมีค่าเท่ากัน
ดังนั้นการหาค่าของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติของมุมหน่วยเป็ นองศา ดาเนินการได้ดงั นี้
1. อาจจะเปลี่ยนหน่วยเป็ นเรเดียนก่อน แล้วใช้การหาค่าของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติในแง่ของ
ความยาวส่ วนโค้ง
2. หากไม่เปลี่ยนหน่วยของมุมองศา สามารถใช้สูตรที่ปรับจากค่าของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติใน
แง่ของความยาวส่ วนโค้งดังนี้
เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ ที่ 2 90    180 
 

sin180     sin

cos180      cos tan180      tan
 

เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ ที่ 3 180    270 


 

sin180      sin

cos180      cos tan180     tan
 

เมื่อมุมอยู่ในควอดรันต์ ที่ 4 270    360 


 

sin360      sin

cos360     cos tan360      tan
 

ค่ าของ sinn  360   , cosn  360   , tann  360    เมื่อ n  I


   

sinn  360     sin  cosn  360     cos tann  360     tan


  

เช่ น  
cos120  cos 180  60   cos 60  
1
2

 
sin 225  sin 180  45   sin 45  
2
2

 
tan 330  tan 360  30   tan 30  
1
3


cos ec405  cos ec 360  45  cos ec45  2
2
 2
17

ตัวอย่าง 19 จงหาค่าของ
3 tan2 135  sec2 300
1.
2 sin 330

2.   
tan  480  sin  480 

cos  390 

ตัวอย่าง 20 กาหนดให้ cot  5 และ sin  0 แล้ว จงหาค่าของ cos

sin 2   cos2 
ตัวอย่าง 21 กาหนดให้ cot  3 จงหาค่าของ
sin 2   2 cos2 

ตัวอย่าง 22 กาหนดให้ cos  sin  k จงหาค่าของ 10sin  cos


18

กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
กราฟของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ โดยเฉพาะกราฟของฟังก์ชนั ไซน์และโคไซน์ เป็ นกราฟที่มี
ความสาคัญมากทั้งในวิชาคณิ ตศาสตร์ และวิชาฟิ สิ กส์ โดยมีวธิ ี การเขียนกราฟดังนี้
ฟังก์ชนั ไซน์ ถ้า x, y   Sine จะได้ y  sin x เขียนกราฟได้ดงั นี้

กราฟของ y  sin x เมื่อ 0  x  2


    2 3 5
x 0 
6 4 3 2 3 4 6

y  sin x 1 2
0
2 2

7 5 4 3 5 7 11
x  2
6 4 3 2 3 4 6

y  sin x 1 2
0  
2 2

 X
0  3 2
2 2

1

จากกราฟจะเห็นว่า เรนจ์ของฟังก์ชนั ไซน์คือ เซตของจานวนจริ งตั้งแต่ -1 ถึง 1 ดังนั้น


 1  sin x  1 และ ค่าของ sin x เมื่อ x  0,2  มีค่าเพิม
่ ขึ้นหรื อลดลงดังนี้
 
0 , 2  จะเห็นว่า sin x เพิ่มขึ้นจาก 0 ไป 1
 
 2 ,   จะเห็นว่า sin x ลดลงจาก 1 ไป 0
 3 
 , 2  จะเห็นว่า sin x ลดลงจาก 0 ไป -1
 3 
 2 , 2  จะเห็นว่า sin x เพิ่มขึ้นจาก -1 ไป 0
19

จาก sin 2n  x  sin x เมื่อ n  I ทาให้กราฟของฟังก์ชนั ไซน์มีลกษณะซ้ ากันเป็ นช่วงๆ ดังนี้
Y

 2 3   0   3 2
X
 
2 2 2 2
1

จากกราฟจะเห็นว่า โดเมนของฟังก์ชนั ไซน์คือ เซตของจานวนจริ ง และเรนจ์คือ  1,1

ในทานองเดียวกันกับการเขียนกราฟของ y  cos x เมื่อ 0  x  2 ดังนี้

 2 3     3 2
X
  0
2 2 2 2
1

เนื่องจากฟังก์ชนั ตรี โกณมิติทุกฟังก์ชนั เป็ น ฟัก์ชันที่เป็ นคาบ (periodic function) ซึ่งสามารถ


แบ่งกราฟแต่ละช่ วงย่อยมีลกั ษณะเหมือนกัน โดยความยาวของช่วงย่อยที่ส้ ันที่สุดที่มีสมบัติดงั กล่าว
เรี ย กว่ า คาบ (period) ของฟั ง ก์ ชัน เช่ น กราฟของ y  sin x และ y  cos x ในช่ ว ง  2 ,0
ในช่วง 0,2  ในช่ วง 2 ,4  ฯลฯ เป็ นช่ วงที่ส้ ันที่สุดที่ทาให้กราฟแต่ละช่ วงเหล่านั้นมีลกั ษณะ
เหมือนกัน

ดังนั้นคาบของ y  sin x และ y  cos x เท่ากับ 2


ฟังก์ชนั ที่เป็ นคาบซึ่ งมีค่าต่าสุ ดและสู งสุ ด จะเรี ยกค่าที่เท่ากับครึ่ งหนึ่งของค่า
สู งสุ ดลบด้วยค่าต่าสุ ดของฟังก์ชนั นั้นว่า แอมพลิจูด (Amplitude)
ดังนั้นฟังก์ชนั y  sin x และ y  cos x มีแอมพลิจูดเท่ากับ 1
20

ตัวอย่าง 23 จงเขียนกราฟ y  3sin x เมื่อ 0  x  2

ตัวอย่าง 24 จงเขียนกราฟ y  sin x เมื่อ 0  x  2

ตัวอย่าง 25 จงเขียนกราฟ y  2 cos x เมื่อ 0  x  2

ตัวอย่าง 26 จงเขียนกราฟ y  sin 2x เมื่อ 0  x  2


21

ตัวอย่าง 27 จงเขียนกราฟ y  3sin 2x เมื่อ 0  x  2

x
ตัวอย่าง 28 จงเขียนกราฟ y  3sin เมื่อ 0  x  4
2

สรุ ปกรณีทวั่ ไปดังนี้

f x   k sin nx , n, k  0 f x   k cosnx , n, k  0


คาบเท่ากับ 2 คาบเท่ากับ 2
n n
แอมพลิจูดเท่ากับ k แอมพลิจูดเท่ากับ k
เรนจ์เท่ากับ  k , k  เรนจ์เท่ากับ  k , k 
22

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่ างของจานวนจริงหรือมุม


สิ่ งแรกจะพิจารณาคือ ค่ าของฟังก์ชันโคไซน์ ของผลต่ างระหว่างจานวนจริงสองจานวนหรือ
มุมสองมุม นั่นคือพิจารณาค่ าของ cos A  B เมื่อ A, B เป็ นจานวนจริงหรือมุมใดๆ ดังนี้

P2 x2 , y2  P3 x3 , y3 
P1 x1 , y1 

0 P1,0

จากวงกลม 1 หน่ วย กาหนดให้ ส่วนโค้ ง PP1 ยาว A หน่ วย และส่ วนโค้ ง PP2 ยาว B
หน่ วย จะได้ ส่วนโค้ ง P1P2 ยาว A  B หน่ วย
ให้ P3 เป็ นจุดบนวงกลม 1 หน่ วยทีท่ าให้ ความยาวส่ วนโค้ ง PP3 เท่ากับส่ วนโค้ ง P1P2
ดังนั้นจะได้ ส่วนโค้ ง PP3 ยาว A  B หน่ วยด้ วย ดังรู ป
ทาให้ คอร์ ด PP3 เท่ากับคอร์ ด P1P2 นั่นคือ
PP3  P1P2
x3  12   y3  02  x2  x1 2   y2  y1 2
x3  12   y3  02  x2  x1 2   y2  y1 2
x3 2  2 x3  1  y3 2  x2 2  2 x2 x1  x12  y2 2  2 y2 y1  y12
    
 2 x3  1  x3 2  y3 2  2 x2 x1  2 y2 y1  x12  y12  x2 2  y2 2 
 2x3  1  1  2x2 x1  2 y2 y1  1  1
 2x3  2 x2 x1  2 y2 y1
x3  x2 x1  y2 y1 ...........1
เนื่องจาก จุด x1 , y1 , x2 , y2  และ x3 , y3  เป็ นจุดปลายส่ วนโค้ งทีย่ าว A, B และ A  B
ตามลาดับ ดังนั้นจะได้
x1  cos A , y1  sin A , x2  cos B , y2  sin B , x3  cos A  B แทนในสมการ 1 ได้

cos A  B  cos A cos B  sin Asin B

และสามารถนา cos A  B ไปหาฟังก์ชัน cos A  B , sin  A  B, sin  A  B ดังนี้


23

cos A  B  cos A   B


 cos A cos B  sin Asin  B

 cos A cos B  sin Asin B

ดังนั้น cos A  B  cos A cos B  sin Asin B

 
ตัวอย่าง 29 จงแสดงว่า cos  A   sin A
2 

และสามารถสรุ ปได้ดงั นี้


cos A  B  cos A cos B  sin Asin B

sin  A  B  sin A cos B  cos Asin B


tan A  tan B
tan A  B 
1  tan A tan B
cot A cot B  1
cot A  B  
cot B  cot A

 3   6 2
ตัวอย่าง 30 จงแสดงว่า cos   
 4 3 4

    1
ตัวอย่าง 31 จงแสดงว่า sin cos  cos sin 
9 18 9 18 2
24

ตัวอย่าง 32 จงหา ค่า cos15 , cos 7 , sin 75 , tan15 , tan 11
12 12

 
ตัวอย่าง 33 จงแสดงว่า tan A     cot A
 2
25

ตัวอย่าง 34 จงแสดงว่า cos A  Bcos A  B  cos2 A  sin 2 B

sin A  B sinB  C  sinC  A


ตัวอย่าง 35 จงหาค่าของ  
cos A cos B cos B cos C cos C cos A

ตัวอย่าง 36 จงหาค่าของ ก. sin17 cos13  cos17 sin13


ข. cos 43 cos17  sin 43 sin17
17 11 11 17
ค. sin cos  sin cos
36 36 36 36

ตัวอย่าง 37 ถ้า   A   ,  B 
3 4
, sin A  , sin B  
2
แล้ว cos s A  B มีค่าเท่าใด
2 2 5 5
26

 3
sinx  y   
3 5
ตัวอย่าง 38 กาหนดให้ sin x  ,0  x  และ ,  x  y 
5 2 13 2
จงหาค่าของ sin y และ tanx  y 

ตัวอย่าง 39 ถ้า A  B  45 จงหาค่า 1  tan A1  tan B

cos11  sin 11


ตัวอย่าง 40 จงแสดงว่า  tan 56
cos11  sin 11
 
27

A
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของ มุม 2 A มุม และมุม 3A
2
เมื่อทราบค่าของ sin A หรื อ cos A สามารถหาค่าฟังก์ชน
ั ตรี โกณมิติซ่ ึ งเป็ นจานวนสองเท่า
หรื อครึ่ งเท่าหรื อสามเท่าได้ ในที่น้ ีพิจารณาค่าของ sin 2 A ได้ดงั นี้
sin 2 A  sin  A  A  sin A cos A  cos A sin A  2 sin A cos A

ตัวอย่าง 41 จงแสดงว่า cos 2 A  2 cos2 A 1  1 2 sin 2 A

2 tan A
ตัวอย่าง 42 จงแสดงว่า tan 2 A 
1  tan2 A

A 1  cos A
ตัวอย่าง 43 จงแสดงว่า sin 
2 2

2 tan A
ตัวอย่าง 44 จงแสดงว่า sin 2 A 
1  tan2 A
28

ในทานองเดียวกันสามารถหาค่าของ sin 3A ในรู ป sin A ได้ดงั นี้


sin 3 A  sin 2 A  A  sin 2 A cos A  cos 2 A sin A
 2 sin A cos Acos A  1  2 sin 2 Asin A
 2 sin Acos2 A  sin A  2 sin 3 A
 
 2 sin A 1  sin 2 A  sin A  2 sin 3 A
 2 sin A  2 sin 3 A  sin A  2 sin 3 A
 3sin A  4 sin 3 A
ดังนั้น sin 3A  3sin A  4 sin 3 A

ตัวอย่ าง 45 จงแสดงว่า cos3A  4 cos3 A  3cos A

และสามารถสรุ ปฟังก์ชนั ตรี โกณมิติที่สาคัญได้ดงั นี้

2 tan A
sin 2 A  2 sin A cos A 
1  tan2 A
1  tan2 A
cos 2 A  cos2 A  sin 2 A  2 cos2 A 1  1  2 sin 2 A 
1  tan2 A
2 tan A
tan 2 A 
1  tan2 A
1  cos 2 A
cos2 A 
2
1  cos 2A
sin 2 A 
2
sin 3A  3sin A  4sin3 A
cos 3A  4 cos3 A  3cos A
3 tan A  tan3 A
tan 3 A 
1  3 tan2 A
29

4 
ตัวอย่าง 47 จงหาค่า cos 2 และ tan 2 ถ้า sin   ,    
5 2

sin   2 sin 3 
ตัวอย่าง 48 จงแสดงว่า  tan
2 cos3   cos

sin 2 A
ตัวอย่าง 49 จงแสดงว่า  tan A
1  cos 2 A

  
2

ตัวอย่าง 50 จงแสดงว่า  sin  cos   1  sin


 2 2
30

2 2
ตัวอย่าง 51 จงแสดงว่า cos 22.5 
2

1 3
ตัวอย่าง 52 จงหาค่าของ 

sin 10 cos10

sin 3 A cos 3 A
ตัวอย่าง 53 จงแสดงว่า  2
sin A cos A

cos3   cos 3 sin 3   sin 3


ตัวอย่าง 54 จงหาค่าของ 
cos sin 
31

สู ตรผลคูณเป็ นผลบวกหรือผลต่ าง
จากค่าของ sin  A  B, sin  A  B, cos A  B, cos A  B เมื่อนามาบวกหรื อลบกันจะ
ได้ความสัมพันธ์ที่สาคัญดังนี้
จาก cos A  B  cos A cos B  sin Asin B ..........1

cos A  B  cos A cos B  sin A sin B ..........2

1  2; cos A  B  cos A  B  2 cos A cos B

1  2; cos A  B  cos A  B  2 sin A sin B

จาก sin  A  B  sin A cos B  cos A sin B ..........3

sin  A  B  sin A cos B  cos A sin B ..........4

3  4; sin  A  B  sin  A  B  2 sin A cos B

3  4; sin  A  B  sin  A  B  2 cos A sin B

ดังนั้นสรุ ปได้วา่
2 cos A cos B  cos A  B  cos A  B
2 sin Asin B  cos A  B  cos A  B
2 sin A cos B  sin  A  B  sin  A  B
2 cos A sin B  sin  A  B  sin  A  B

วิธีจาง่าย ๆ 2 cos cos  cosDiff   cosSum


2 sin sin  cosDiff   cosSum
2 sin cos  sin Sum  sin Diff 
2 cos sin  sin Sum  sin Diff 

เช่น 2 cos 7 cos 5  cos7  5   cos7  5   cos 2  cos12


1  1 
sin 3 cos   sin3     sin3      sin 4  sin 2 
2  2 
ตัวอย่าง 55 จงหาค่าของ 2 sin 40 sin10  cos 50
32

ตัวอย่าง 56 จงหาค่าของ cos 20  2sin 20 sin 40

ตัวอย่าง 57 จงหาค่าของ cos 20 cos 40 cos 80

ตัวอย่าง 58 จงหาค่าของ sin 20 sin 40 sin 80


33

สู ตรผลบวกหรือผลต่ างให้ เป็ นผลคูณ


จากสู ตรผลคูณเป็ นผลบวกหรื อผลต่าง สามารถนามาหาความสัมพันธ์จากผลบวกหรื อผลต่าง
ให้เป็ นผลคูณได้ดงั นี้

จาก sin x  y   sin x  y   2 sin x cos y ..........1


ให้ x  y  A ..........2
x  y  B ..........3
A B
2 3; 2x  A  B  x 
2
A B
2 3; 2y  A B  y 
2
A B A B
แทนใน 1; sin A  sin B  2 sin cos
2 2
ดังนั้นสรุ ปได้วา่
A B A B
sin A  sin B  2 sin cos
2 2
A B A B
sin A  sin B  2 cos sin
2 2
A B A B
cos A  cos B  2 cos cos
2 2
A B A B
cos A  cos B  2 sin sin
2 2
วิธีจาง่าย ๆ sin A  sin B  2 sin half sumcoshalf diff 
sin A  sin B  2 coshalf sumsin half diff 
cos A  cos B  2 coshalf sumcoshalf diff 
cos A  cos B  2 sin half sumsin half diff 

8  4 8  4
เช่น sin 8  sin 4  2 sin cos  2 sin 6 cos 2
2 2
7  3 7  3
cos 7  cos 3  2 cos cos  2 cos 5 cos 2
2 2
ตัวอย่าง 59 จงแสดงว่า sin 75  sin 15  6
2
34

sin 80  sin 50


ตัวอย่าง 60 จงแสดงว่า  tan15
cos 80  cos 50
 

ตัวอย่าง 61 จงหาค่าของ cos 20  cos100  cos140

ตัวอย่าง 62 จงหาค่าของ cos2 A  cos2 60  A  cos2 60  A


35

A 3A
ตัวอย่าง 63 จงแสดงว่า 1  cos A  cos 2 A  cos 3 A  4 cos cos A cos
2 2

ถ้า A  B  C  180 จงแสดงว่า sin 2 A  sin 2B  sin 2C  4 sin Asin B sin C


จาก A  B  C  180 จะได้ 2 A  2B  2C  360  2C  360  2 A  B


sin 2 A  sin 2B  sin 2C  sin 2 A  sin 2B  sin 360  2 A  B
 sin 2 A  sin 2B  sin 2 A  B
 2 sin  A  Bcos A  B  2 sin  A  Bcos A  B
 2 sin  A  Bcos A  B  cos A  B
 2sin A cos B  cos A sin Bcos A cos B  sin A sin B  cos A cos B  sin A sin B
 2 sin A cos B  2 cos A sin B2 sin A sin B
 4 sin 2 Asin B cos B  4 sin Acos Asin 2 B
 4 sin A sin Bsin A cos B  cos A sin B
 4 sin A sin B sin  A  B

 4 sin Asin B sin 180  C 
 4 sin A sin B sin C
36

ตัวอย่าง 64 ถ้า A  B  C  180 จงแสดงว่า sin A  sin B  sin C  4 cos A cos B cos C
2 2 2

ตัวอย่าง 65 ถ้า A  B  C  180 จงแสดงว่า tan A  tan B  tanC  tan A tan B tanC
37

อินเวอร์ สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
พิจารณากราฟของ y  sin x โดยที่ x  R,1  y  1 และกราฟอินเวอร์ สฟังก์ชน
ั ไซน์ซ่ ึ ง
เป็ นความสัมพันธ์ x, y  x  sin yดังนี้
Y

 x  sin y

2

 2 3    0   3 2
X
 
2 2  2 2

2 y  sin x


พิจารณา 0,0, 0,  , 0,  จาก x, y  x  sin y จึงไม่เป็ นฟังก์ชนั แต่ถา้ กาหนด
  
โดเมนของฟังก์ชนั ไซน์ใหม่เป็ น x  x  ทาให้ x, y  x  sin y เป็ นฟังก์ชน
ั ดังนี้
 2 2
  
x, y  y  sin x,  x   เป็ นฟังก์ชน
ั 1 – 1 ซึ่งมีฟังก์ชนั อินเวอร์สเป็ น
 2 2
  
x, y  x  sin y,  y   เรี ยกฟังก์ชนั อินเวอร์สนี้วา่ arcsine เขียนได้เป็ น
 2 2
     
x, y  x  sin y,  y    x, y  y  arcsin x,  y  
 2 2  2 2

จะเห็นว่า โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชนั arcsine คือ 1 , 1 และ   ,   ตามลาดับ


 2 2
การหาฟังก์ชนั อินเวอร์สดังกล่าวนอกจากใช้กราฟแล้ว สามารถใช้ฟังก์ชนั ตรี โกณมิติน้ นั ๆ ดังนี้

การหาค่าของ arcsin x คือ การหา  ที่ อยูใ่ นเรนจ์คือ   ,   ที่ทาให้ sin   x
 2 2
เช่น ต้องการหาค่าของ arcsin1 ได้ดงั นี้
กาหนดให้ arcsin1    sin   1
จะพบว่าในช่วง   ,   จะมี    ค่าเดียวที่ทาให้ sin   1
 2 2 2

ดังนั้น arcsin1 
2
38

 3
ตัวอย่าง 66 จงหาค่าของ arcsin 
 และ arcsin  1 
 2   2

ในทานองเดียวกันจะได้ฟังก์ชนั อินเวอร์สของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติต่างๆ สรุ ปได้ดงั นี้

ฟังก์ชนั arcsine คือ เซตของคู่ลาดับ x, y  โดยที่ x  sin y และ    y



2 2
  
f 1  x, y  y  arcsin x,  y  
 2 2
ฟังก์ชนั arccosine คือ เซตของคู่ลาดับ x, y  โดยที่ x  cos y และ 0  y  
f 1  x, y  y  arccos x,0  y   
 
ฟังก์ชนั arctangent คือ เซตของคู่ลาดับ x, y  โดยที่ x  tan และ   y
2 2
  
f 1  x, y  y  arctan x,  y  
 2 2

โดเมนและเรนจ์ ของอินเวอร์ สฟังก์ชันตรีโกณมิติ

f 1 Dr 1 Rr 1
y  arcsin x  1,1   
 2 , 2 

y  arccos x  1,1 0, 


  
y  arctan x R  , 
 2 2
y  arccot x R 0,  
y  arc sec x  ,1  1,      
0, 2    2 ,  

y  arccosecx  ,1  1,      


 2 ,0    0, 2 
39

วิธีจาง่ ายๆ ของเรนจ์ y  arcsinx , y  arccos x และ y  arctan x จากiรู ปวงกลม 1 หน่วยดังนี้

 y  arctan x
2
y  arccos x y  arcsin x

 0



2

1. ครึ่งวงกลมด้ านขวา ช่ วงปิ ด   ,   เป็ นค่ าของเรนจ์ y  arcsin x


 2 2
2. ครึ่งวงกลมด้ านขวา ช่ วงเปิ ด    ,   เป็ นค่ าของเรนจ์ y  arctan x
 2 2
3. ครึ่งวงกลมด้ านบน ช่ วงปิ ด 0 ,   เป็ นค่ าของเรนจ์ y  arccos x
 

ตัวอย่าง 67 จงหาค่าของ
arctan 1
2 3
1. arcsin 2. arccos 3. arctan1 4.
2 2
 1        
5. arccos   6.
arcsin cos  7. arcsin sin  8. tan arcsin cos  
 2  4  3   6 

9.  1  1 
arcsin1  arcsin    arctan  10. arctan cot 17  
 2  3   3 
40

บางกรณี นอกจากการหาค่าตรี โกณมิติน้ นั ๆ แล้ว อาจต้องอาศัยฟังก์ชนั ตรี โกณมิติอื่นที่


เกี่ยวข้องด้วย หรื อใช้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากก็ได้ แต่ตอ้ งพิจารณาเรนจ์ของอินเวอร์ สฟังก์ชนั ด้วย เช่น
 
หาค่าของ cos arcsin  1   ได้ดงั นี้
  3 
กาหนดให้ arcsin  1     sin    1 โดยที่     ,  
 3 3  2 2
เนื่องจาก sin    1  0 ดังนั้นจะได้      ,0  (ควอดรันต์ที่ 4)
3  2 
 
จะได้ cos arcsin  1    cos
  3 
จาก      ,0  จะได้ค่าของ cos  0 หรื อในควอดรันต์ที่ 4 ได้ cos เป็ นบวก
 2 
หาค่า cos โดยใช้สูตรหรื อรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อทราบค่า sin    1
3
ในที่น้ ีเพื่อความสะดวกใช้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังนี้

3 จากรู ป cos  2 2
โดยที่ cos เป็ นบวก
1 3

82 2
  1  2 2
ดังนั้น cos arcsin    
  3  3

ตัวอย่าง 68 จงหาค่าของ

1. cos arcsin 5 3
 arccos  2. sin arccos 3  arcsin  3  
 13 5  5  5 
41

ตัวอย่าง 69 จงหาค่าของ
3. sinarctan2  arcsec 10
 2 1   1 
1. tan arctan  arctan  2. tan 2 arcsin   
 3 2   5 

5 12 
ตัวอย่าง 70 จงแสดงว่า arcsin  arcsin 
13 13 2
42

สมการตรีโกณมิติ
การแก้สมการตรี โกณมิติ คือ การหาค่าตัวแปรของสมการโดยอาศัยความรู ้ฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
ซึ่งคาตอบของตัวแปร แยกได้ดงั นี้
1. คาตอบแบบมีขอบเขตหรื อช่วงของค่ามุม
2. คาตอบแบบหาค่ามุมทัว่ ไป หรื อในกรณี ไม่ได้กาหนดขอบเขตหรื อช่วงของค่ามุม
ถ้า  เป็ นมุมที่เล็กที่สุดในการแก้สมการ 1 รอบแรกตามทิศทวนเข็มนาฬิกา และ n I
คาตอบของสมการอาจเขียนได้ดงั นี้
1. ถ้าคาตอบมาจากมุมที่อยูใ่ นรู ปฟังก์ชนั sin, cosec
 ทัว่ ไป = n   1n 
2. ถ้าคาตอบมาจากมุมที่อยูใ่ นรู ปฟังก์ชนั cos, sec
 ทัว่ ไป = 2n  
3. ถ้าคาตอบมาจากมุมที่อยูใ่ นรู ปฟังก์ชนั tan, cot
 ทัว่ ไป = n  

ตัวอย่าง 71 จงแก้สมการ 4sin 2   3  0 เมื่อ 0    2

ตัวอย่าง 72 จงแก้สมการ 2 cos2   3 cos  0 เมื่อ 0    2


43

ตัวอย่าง 73 จงแก้สมการ sin 2   cos  5  0 เมื่อ 0    2

ตัวอย่าง 74 จงแก้สมการ 3sec  cos  2  0 เมื่อ 0    2

ตัวอย่าง 75 จงแก้สมการ 2sin 2   3cos  3 เมื่อ 0    2

ตัวอย่าง 76 จงแก้สมการ cos 2  2 cos2  1 เมื่อ 0    2


2
44

ตัวอย่าง 77 จงแก้สมการ sin 2  cos เมื่อ 0    2

ตัวอย่าง 78 จงแก้สมการ 2 cos2   2 cos 2  1 เมื่อ 0    2

ตัวอย่าง 79 จงหาค่ามุมทัว่ ไปของ cos 2  3sin  2

ตัวอย่าง 80 จงแก้สมการ 2 cos  sin  30 


45

กฎของโคไซน์ (Law of cosine)


จากฟังก์ชนั ตรี โกณมิติเป็ นฟังก์ชนั ของจานวนจริ งหรื อมุม สมบัติของฟังก์ชนั เหล่านี้อาจ
นามาใช้หาความยาวของด้านและขนาดของมุมรู ปสามเหลี่ยมใดๆ ได้ดงั นี้
กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ a, b, c เป็ นด้านของสามเหลี่ยมซึ่ งตรงกัน
ข้ามกับมุม A, B, C ตามลาดับ จะได้วา่
C

b a

A c B
จงแสดงว่า a2  b2  c2  2bc cos A
ให้ มุม A ของรู ป ABC อยูใ่ นตาแหน่งมาตรฐาน ดังรู ป

Cb cos A, b sin A

b a

A0,0 c D Bc,0

จากรู ปจะได้ a  BC  b cos A  c2  b sin A  02


a 2  b cos A  c2  b 2 sin 2 A
 b2 cos2 A  2bc cos A  c 2  b2 sin 2 A
 
 b 2 cos2 A  sin 2 A  c 2  2bc cos A
 b2  c 2  2bc cos A
ในทานองเดียวกัน สรุ ปได้ กฎของโคไซน์ ดังนี้

กฎของโคไซน์ a2  b2  c2  2bc cos A


b2  a2  c2  2ac cos B
c2  a2  b2  2ab cos C
หลักควรจา การหาความยาวของด้ าน จะต้ องทราบความยาวด้ านอีก 2 ด้ าน
และมุมระหว่ างด้ านทั้งสองนั้น
46

และจะได้วา่

b2  c 2  a 2 a 2  c2  b2 a 2  b2  c 2
cos A  , cos B  , cos C 
2bc 2ac 2ab
หลักควรจา การหามุม จะต้ องทราบความยาวด้ านทั้ง 3 ด้ านของรู ปสามเหลีย่ ม

ตัวอย่าง 81 กาหนด a  2, c  2 3, C  120 จงหาความยาวด้าน b

ตัวอย่าง 82 กาหนด a  2, b  3 1, C  60 จงหา c

ตัวอย่าง 83 กาหนด a  15, b  7, c  13 จงหาขนาดของมุม C


47

ตัวอย่าง 84 กาหนด c  60 , a  2, c  6 จงหาขนาดของมุม B

ตัวอย่าง 85 รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานรู ปหนึ่ง มีขนาดของมุมๆ หนึ่งเท่ากับ 60 และด้านที่ประกอบมุม


นี้ยาว 5 และ 10 เซนติเมตร จงหาความยาวของเส้นทแยงมุมทั้งสองของรู ปสี่ เหลี่ยมนี้ 5 7 , 5 3 

ตัวอย่าง 86 รู ปสามเหลี่ยม ABC ให้ a, b, c เป็ นความยาวด้านของสามเหลี่ยมซึ่ งอยูต่ รงกันข้าม


กับมุม A, B, C ตามลาดับ ถ้า a  b  cb  c  a  3bc แล้ว จงหาขนาดของมุม A
48

กฎของไซน์ (Law of sine)


กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ a, b, c เป็ นด้านของสามเหลี่ยมซึ่ งตรงกัน
ข้ามกับมุม A, B, C ตามลาดับ
จงแสดงว่า พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ใด ๆ  1 bcsin A
2
ให้ มุม A ของรู ป ABC อยูใ่ นตาแหน่งมาตรฐาน ดังรู ป

Cb cos A, b sin A

b a

A0,0 c D Bc,0

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  1  ความสู ง  ความยาวของฐาน


2
 bsin Ac 
1
2
1
 bcsin A
2
ในทานองเดียวกัน ให้ มุม B และมุม C ของรู ป ABC อยูใ่ นตาแหน่งมาตรฐาน จะได้

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  1 ca sin B  1 absin C


2 2
สรุ ปพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC ใด ๆดังนี้

พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  1 bc sin A  1 ca sin B  1 absin C


2 2 2
หลักควรจา การหาพืน้ ที่ ทราบความยาวด้ าน 2 ด้ านและมุมระหว่ างด้ านทั้งสองนั้น

จาก พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  1 bc sin A  1 ca sin B  1 absin C


2 2 2
1
เมื่อ นา abc หารตลอดจะได้ กฎของไซน์ ดังนี้
2
1 1 1
bc sin A ca sin B ab sin C
2 2 2
1 1 1
abc abc abc
2 2 2

sin A sin B sin C


กฎของไซน์  
a b c
a b c
หรื อ  
sin A sin B sin C
49

ตัวอย่าง 87 รู ปสามเหลี่ยม ABC ให้มุม B  45 , b  2 2, c  2 3 จงหาขนาดของมุมที่เหลือ

ตัวอย่าง 88 ในสามเหลี่ยม ABC ให้ a, b, c เป็ นความยาวด้านของสามเหลี่ยมซึ่ งอยูต่ รงกันข้าม


กับมุม A, B, C ตามลาดับ ถ้า a  2b และ A  3B แล้ว จงหาขนาดของมุมทั้งสามของ
สามเหลี่ยนรู ปนี้

หมายเหตุ กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่ a, b, c เป็ นด้านของสามเหลี่ยมซึ่ง


ตรงกันข้ามกับมุม A, B, C ตามลาดับ จะได้สูตรอื่นๆ ดังนี้
ถ้า s  a  b  c แล้ว sin A 
2
ss  a s  bs  c 
2 bc
ss  a s  bs  c 
2
sin B 
ac
ss  a s  bs  c 
2
sin C 
ab
และจะได้ พื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC  ss  a s  bs  c 
50

การหาระยะทางและความสู ง
เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ เพื่อหาระยะทางและความสู งได้
ตัวอย่ าง 89 สมจิตยืนอยูบ่ นสนามแห่ งหนึ่ งมองเห็นยอดเสาธงเป็ นมุมเงย 15 องศา แต่เมื่อตรงเข้าไป
หาเสาธงอีก 60 เมตร เขามองเห็ นยอดเสาธงเป็ นมุมเงย 75 องศา ถ้าสมจิตสู ง 150 เซนติเมตร จงหา
ความสู งของเสาธง กาหนดให้ 3  1.732 18.82

ตัว อย่ าง 90 รุ่ งเรื องยืน อยู่บ นดาดฟ้ าของตึ ก ชมวิว 15 ชั้น หลัง หนึ่ ง เขามองเห็ น ป้ อมยามทางทิ ศ
ตะวันออกของตึกชมวิวเป็ นมุมก้ม 60 องศา และมองเห็นรถบรรทุกน้ ามันคันหนึ่ งจอดอยู่ทางทิศใต้
ของป้ อมยามนั้นเป็ นมุมก้ม 30 องศา อยากทราบว่ารถบรรทุกน้ ามันคันนั้นอยูห่ ่างจากป้ อมยามเท่าไร
ถ้าตึกชมวิวหนึ่งมีความสู งชั้นละ 4 เมตร
51

แนวข้ อสอบเรื่องฟังก์ ชันตรีโกณมิติ


1. ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีฐาน AB ยาว 6 หน่วย มุม CBA เท่ากับ 30 องศา และพื้นที่ของสามเหลี่ยม
ABC เท่ากับ 6 ตารางหน่วย แล้วด้าน BC ยาวเท่ากับข้อใด
1. 2.5 2. 3.0 3. 3.5 4. 4.0
2. กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมีมุม ABC เป็ นมุมฉาก และมุม CAB กาง 60
ถ้าผลบวกของความยาวของด้าน AB กับ AC เท่ากับ 6 หน่วยแล้ว ด้าน CB จะยาวเท่ากับข้อใด
1. 6 2  1 2. 2 3. 2 2 4. 2 3
3. ถ้าสามเหลี่ยมหน้าจัว่ ABC มีมุม C กาง 120 องศา ด้าน AC=BC ดังรู ป ถ้าลากเส้นตรงจากจุด A
มาตั้งฉากกับด้าน BC ที่ต่อออกไปที่จุด D และ AD ยาว 3 หน่วย จงหาความยาวเส้นรอบรู ป
สามเหลี่ยม ABC

120
C B
3 3
1. 3 3 2. 6  3 3 3. 4 3 4. 64 3
2 2
 sin 30 cos 30 
4. จงหาค่าของ  
 
 
 sin 10 cos10 
1. -2 2. -1 3. 2 4. 1
5
5. ถ้า cos A  sin A  แล้ว sin 2 A เท่ากับข้อใด
3
4 4 9
1. 2. 3. 4. 13
9 13 13 9

6. กาหนด sin A  3 , cos B  4 เมื่อ 0  A, B   จงหาค่าของ cos A  B


5 5 2
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
7. sin  A  Bsin  A  B มีค่าตรงกับข้อใด
1. sin 2 A 2. sin 2 B 3. sin 2 A  sin 2 B 4. sin 2 A  sin 2 B
8. กาหนด tan     3 , tan  1 จงหาค่าของ tan
4 2
2 3 2 3
1. 2. 3. 4.
11 11 5 5
52

9. จงหาค่าของ tan 30  tan15  tan 30 tan15


1. -2 2. -1 3. 0 4. 1
10. จงหาค่าของ 2cos 21 cos 51  cos 69 cos 39 
1. 3 2. 2 3 3.  1 4. 1
2 2
11. ถ้า tan A  1 และ sin B  1
เมื่อ A, B เป็ นมุมแหลมแล้ว tan A  2B เท่ากับข้อใด
7 10
1. 1 2. 2 3. 1 4. 3
3 2
12. ห้ cos A  B  3  4 3 , cos A  B  3  4 3 จงหาค่าของ sin 2 Asin 2B
10 10
1. 6 3 2. 12 3 3.  6 3 4.  12 3
25 25 25 25
13. ข้อใดต่อไปนี้ผดิ
1  cot 2 
1.  sec2  2. 1  cos  tan2 
cot 
2
1  cos 2
3. sin      cos     2 cos 4. sin  arcsin 1    1
 4  4  2 2
14. ถ้า cos A  3 แล้ว 2 sin A sin 5 A เท่ากับข้อใด
4 2 2
1. 11 2. 11 3. 9 4. 9
32 16 16 12
15. จงหาค่าของ cos10  cos110  cos130
  

1. 0 2. 1 3. 1 4. 2
2
16. ถ้า tan  1 จงหา sin 4
3
1. 23 2. 24 3. 21 4. 22
25 25 22 23
cos 5 A  cos 3 A
17. มีค่าตรงกับข้อใด
sin 5 A  sin 3 A
1. cos ecA 2. sec A 3. cot A 4. tan A
18. sin A  sin 3A  sin 5 A มีค่าตรงกับข้อใด
cos A  cos 3 A  cos 5 A
1. cos ec3A 2. sec 3A 3. cot 3A 4. tan3A
19. 8sin 20 sin 40 sin 80 มีค่าตรงกับข้อใด
1 1
1. 2. 3. 2 4. 3
3 2
53

1
20. sin 70 sin 50 sin10 มีค่าตรงกับข้อใด
8
1
1. 1 2. 1 3. 1 4.
8 16 32 64
    
21. จงหาค่าของ cosarccos  3   1 arcsin 3 
  2  2  2 
1.  1 2. 1 3. 1 4. 2
2
22. จงหาค่าของ tanarccos 4   arctan 4 
 5  3 
1. 6 2. 7 3. 16 4. 17
17 16 7 6
23. จงหาค่าของ arctan 5  arccos 5
12 13
1.  2.  3.  4. 
6 4 3 2
24. จงหาค่า  จากสมการ sin   3cos   0 เมื่อ 90    180
2 2  

1. 90 2. 120 3. 135 4. 180


1  cos
25. จงหาค่า  จากสมการ  3 เมื่อ 0    
sin 
1.  2. 2 3. 3 4. 5
3 3 4 6
26. cos 5  cos  มีค่าเท่ากับข้อใด
12 12
3 1 6 1
1. 2. 3. 4.
2 2 2 2
27. กาหนด a  5, b  5 3, c  5 จงหาขนาดของมุม B
1. 90 2. 120 3. 135 4. 160
28. กาหนด b  6, B  60 , C  15 จงหาความยาวด้าน c
1. 3 1 2. 3  1 3. 2 1 4. 2 1
29. กาหนด a  b  ca  b  c  3ab แล้ว จงหาขนาดของมุม C
1. 30 2. 45 3. 60 4. 90
sin A sin B sin C
30. ถ้า   แล้ว จงหาค่าของ cosC
7 6 5
3 3 8 5
1. 2. 3. 4.
8 5 15 7
54

 2 cos 2 
31. กาหนดให้ A  sin  tan 1  sin    ผลบวกของสมาชิกในเซต A เท่ากับข้อใด
 cos 
2
1. 2. 5 3.  1 4.  5
3 3 3 3
32. ถ้า sin15  sin 55  x และ cos15  cos 55  y แล้ว x  y  2xy เท่ากับข้อใด
    2

1. 4 cos2 20 2. 2 cos2 20 3. 4 cos2 40 4. 2 cos2 40


1  3 3  1  4 4 
33. sec  arcsin  arccos   tan  arcsin  arccos  มีค่าเท่ากับข้อใด
2  5 5  2  5 5 
1. 2 2. 3 3. 1 2 4. 2  3
34. ถ้าสามเหลี่ยม ABC มีมุม BAC = 45 มุม ACB = 60 และด้าน AC ยาว 20 นิ้ว แล้วพื้นที่ของ
สามเหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
300 2 300 3
1. ตารางหน่วย 2. ตารางหน่วย
3 1 3 1
200 2 200 3
3. ตารางหน่วย 4. ตารางหน่วย
3 1 3 1
35. รู ปสามเหลี่ยม ABC มีดา้ น a, b และ c เป็ นด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ตามลาดับ
ถ้า cos B 
1
และ a  b  ca  b  c  30 แล้ว ac มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4
20 40
1. 12 2. 20 3. 4.
5 3
36. จงหาค่าของ sec 2 arcsin 1 

 3
1 3
1. 1 2. 3 3. 4.
3 2
37. จงหาค่าของ cos 2 arcsin 3 
 5
7 8 5 8
1. 2. 3. 4.
25 25 27 27
 3
 arctan 
38. จงหาค่าของ sin 4
 2 
 
 

1. 3
2. 6 3. 10
4. 12
3 6 10 12
39. เซตคาตอบของสมการ arctan1  x  arctan1  x   เป็ นสับเซตของเซตในข้อใด
4
1.  4,0 2.  2,2 3.  3,1 4.  1,3
55

 11 
40. tan  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 12 
1.  1 2. 1  3 3. 1  3 4. 3
1 3 1 3 1 3 1 3
41. ถ้า f x  sin x และ g x  arcsin 2x  2 arcsin x
แล้วค่าของ  f  g  1  คือข้อใดต่อไปนี้
 3
1. 4
9
2. 2
9

1 8 
3. 4 2
10
12
4. 2
27

7  2 10 
42. กาหนดให้ f x    x  7  เมื่อ - 3 < x  3 และ f x  6  f x ทุก ๆ x  R
 24 
ถ้า g x  A  arcsin x โดยที่ A  0,  และ cos A  2
แล้วค่าของ g 1  f 5
5
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
10 5 5 10
1 1
43. ถ้า arctan x = arctan - 2arctan แล้ว sin (180  + arctan x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 2
13 16
1. 2. 3. 2 4. 3
5 17 5 17
44. สามเหลี่ยม ABC มีดา้ น a, b, c เป็ นด้านตรงข้ามมุม A, B, C ซึ่ งมีความยาวเป็ น 3, 2.5, 1 หน่วย
ตามลาดับ ค่าของ b cos C + c cos B เท่ากับเท่าใด
1. 1 2. 3 3. 4 4. 5
45. ให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมดังรู ป
A

5 7

C 8 B
ค่าของ sin 2 B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2
3 7 12 21
1. 2. 3. 4.
28 28 28 28
56

เฉลยแนวข้ อสอบฟังก์ ชันตรีโกณมิติ


1. ข้ อ 4 2. ข้ อ 4 3. ข้ อ 4 4. ข้ อ 3 5. ข้ อ 1
6. ข้ อ 2 7. ข้ อ 3 8. ข้ อ 1 9. ข้ อ 4 10. ข้ อ 1
11. ข้ อ 1 12. ข้ อ 2 13. ข้ อ 4 14. ข้ อ 2 15. ข้ อ 1
16. ข้ อ 2 17. ข้ อ 3 18. ข้ อ 4 19. ข้ อ 4 20. ข้ อ 4
21. ข้ อ 1 22. ข้ อ 4 23. ข้ อ 4 24. ข้ อ 2 25. ข้ อ 2
26. ข้ อ 3 27. ข้ อ 2 28. ข้ อ 1 29. ข้ อ 3 30. ข้ อ 4
31. ข้ อ 3 32. ข้ อ 1 33. ข้ อ 3 34. ข้ อ 4 35. ข้ อ 1
36. ข้ อ 2 37. ข้ อ 1 38. ข้ อ 3 39. ข้ อ 2 40. ข้ อ 2
41. ข้ อ 4 42. ข้ อ 1 43. ข้ อ 1 44. ข้ อ 2 45. ข้ อ 1

You might also like