You are on page 1of 11

1.

2 พีชคณิตของเมทริกซ์ (Matrix Algebra)

เมื่อพิจารณาสมบัติต่างๆ ของการดาเนินการของจานวนจริง จะพบว่าสมบัติบางข้อมีความสอดคล้ องกับ การ


ดาเนินการของเมทริกซ์ ขณะที่บางข้อไม่สอดคล้องกันตัวอย่างเช่นเมื่อพิจารณา a, b  แล้ว
a +b = b+a และ ab = ba

นั้นคือสาหรับจานวนจริง จะมีสมบัติการสลับที่การบวกและการสลับที่การคูณ เมื่อพิจารณาการบวกและการคูณ


ของเมทริกซ์จะพบว่า
A+ B = B + A แต่ AB  BA

ในบทนี้เราจะพิจารณาสมบัติต่างๆ ทางพีชคณิตของเมทริกซ์

กฎทางพีชคณิต
ทฤษฎีต่อไปนี้เป็นกฎที่มีประโยชน์มากในการพิจารณาพีชคณิตของเมทริกซ์
ทฤษฎี 1.2.1 กาหนดให้  ,  เป็นสเกลาร์ และ A, B, C เป็นเมทริกซ์ที่สามารถดาเนินการได้ จะได้ว่า

1) A+ B = B + A
2) ( A + B) + C = A + ( B + C )
3) ( AB)C = A( BC )
4) A( B + C ) = AB + AC
5) ( A + B)C = AC + BC
6) ( ) A =  (  A)
7)  ( AB) = ( A) B = A( B)
8) ( +  )A =  A +  A
9)  ( A + B) =  A +  B

โดยในเอกสารเล่มนี้จะพิสูจน์กฎข้อที่ 4 และกฎข้อที่ 3
พิสูจน์กฎข้อที่ 4 กาหนดให้ A = (aij ) เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ m n และเมทริกซ์ B = (bij ) และ C = (cij )
เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ n  r กาหนดให้ D = A( B + C ) และ E = AB + AC จะได้ว่า
n
dij =  aik (bkj + ckj )
k =1

และ
n n
eij =  aik bkj +  aik ckj
k =1 k =1
n
=  aik (bkj + ckj )
k =1

= dij

ดังนั้นจะได้ว่า E=D

พิสูจน์กฎข้อที่ 3 กาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ m n เมทริกซ์ B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ n  r เมทริกซ์


C เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ r  s และ เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ n  r ให้ D = AB และ E = BC จากนิยามการ
n r
คูณของเมทริกซ์จะได้ว่า dil =  aik bkl และ ekj =  bkl clj
k =1 l =1

ดังนั้นสมาชิกที่ตาแหน่ง (i, j) ของ DC คือ


r
 n 
   aik bkj  clj
l =1  k =1 

ดังนั้นสมาชิกที่ตาแหน่ง (i, j) ของ AE คือ


n
 r  r  n  r  n 

k =1
aik   kl lj 
 l =1
b c =    ik kl ij  =    aik bkj  clj
 l =1  k =1
a b c
 l =1  k =1 

ดังนั้นจะได้ว่า

( AB)C = DC = AE = A( BC )
ตัวอย่างที่ 1 ถ้ากาหนดให้
1 2   3 1  1 0
A= , B= , C= 
3 4   −2 4   −3 1 

จงแสดงว่า ( AB)C = A( BC ) และ A( B + C ) = AB + AC

วิธีทา
 −1 9   1 0  −28 9 
( AB)C =   = 
 1 19  −3 1   −56 19

1 2  0 1   −28 9 
A( BC ) =   = 
3 4  −14 4  −56 19

นั้นคือ ( AB)C = A( BC )
1 2  4 1  −6 11
A( B + C ) =   = 
3 4  −5 5  −8 23

 −1 9   −5 2  −6 11
AB + AC =  + = 
 1 19  −9 4  −8 23

นั้นคือ A( B + C ) = AB + AC

การยกกาลังของเมทริกซ์
เนื่องจาก ( AB)C = A( BC ) จึงนิยมเขียนโดยละโดยไม่เขียนวงเล็บเป็น ABC

เมื่อพิจารณาการคูณของเมทริกซ์ตั้งแต่ 4 เมทริกซ์ขึ้นไป ก็สามารถเขียนโดยละวงเล็บได้เช่นกัน ในกรณีที่เราทา


การคูณเมทริกซ์ A ซึ่งมีมิติเป็น n  n ด้วยตัวของเมทริกซ์ A เอง เป็นจานวน k ตัว จะสามารถเขียนเป็น
สัญลักษณ์ได้ว่า
Ak = AAA A
k −times

ตัวอย่างที่ 2 ถ้ากาหนดให้
1 1
A= ,
1 1

จะได้ว่า
1 1
A1 =  
1 1

1 1 1 1  2 2
A2 = AA =   = 
1 1 1 1  2 2

1 1  2 2  4 4
A3 = AA2 =   = 
1 1  2 2  4 4

และจะได้รูปทั่วไปคือ
 2n−1 2n−1 
An =  n−1 n−1 
2 2 

การประยุกต์ที่ 1 ตัวแบบพื้นฐานของการคานวณสถานะการสมรส
ในเมืองแห่งหนึ่ง ร้อยละ 30 ของผู้หญิงที่แต่งงานแล้วจะหย่าร้างทุกๆ ปี และ ร้อยละ 20 ของผู้หญิงที่เป็นโสด
(รวมคนที่หย่าร้าง) จะแต่งงานในทุกๆ ปี ถ้าเมืองแห่งนี้มีผู้หญิงที่สมรสแล้ว 8000 คน มีผู้หญิงที่เป็นโสด 2000 คน
สมมติให้จานวนประชากรคงที่ จงหาจานวนของผู้หญิงที่สมรสแล้ว และเป็นโสดในอีก 1 ปี และ 2 ปีข้างหน้า
วิธีทา
กาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ที่สมาชิกแถวแรกแสดงร้อยละของผู้หญิงที่สมรสแล้วใน 1 ปีให้หลัง จากผู้หญิงที่สมรส
แล้ว และผู้หญิงที่เป็นโสดตามลาดับ และสมาชิกแถวที่สองแสดงร้อยละของผู้หญิงที่เป็นโสดใน 1 ปีให้หลังจาก
ผู้หญิงที่สมรสแล้วและเป็นโสดตามลาดับ จะได้ว่า
0.70 0.20
A= 
0.30 0.80

8000 
ให้ x=  เป็นเวกเตอร์หลักที่แสดงถึงจานวนของผู้หญิงที่สมรสแล้ว และผู้หญิงที่เป็นโสด และเมื่อ
 2000
พิจารณา
0.70 0.20 8000  6000 
A x=   = 
0.30 0.80  2000  4000

ซึ่งจะได้เวกเตอร์หลักที่แสดงได้ว่าใน 1 ปีข้างหน้า เมืองนี้จะมีผู้หญิงที่สมรสแล้ว 6000 คน และผู้หญิงที่เป็น


โสด 4000 คน ด้วยวิธีเดียวกันจะได้ว่า
0.70 0.20  6000  5000
A2 x =   = 
0.30 0.80  4000 5000

ได้ว่าใน 2 ปีข้างหน้า เมืองนี้จะมีผู้หญิงที่สมรสแล้ว 5000 คน และผู้หญิงที่เป็นโสด 5000 คน


เมทริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix)
ในระบบจานวนจริง เราจะกล่าวว่า 1 เป็นเอกลักษณ์การคูณ (multiplicative identity) เนื่องจากเมื่อนา 1 ไปคูณ
ส าหรั บ จ านวนจริ ง a ใดๆ จะได้ผ ลลั พธ์เท่ากับ a เสมอ ส าหรับเมทริกซ์บางประเภทก็มีเอกลักษณ์การคูณ
ระหว่างเมทริกซ์เช่นกัน
นิ ย าม: ถ้า I = ( ij ) เป็ น เมทริ กซ์ ที่ มีมิ ติ คื อ n  n จะเรี ย กเมทริ ก ซ์ I ว่าเป็นเมทริ กซ์ เ อกลั ก ษณ์ (Identity
Matrix) เมื่อ
1 ,i = j
 ij = 
0 ,i  j

ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาผลคูณต่อไปนี้ จะพบว่าการคูณเมทริกซ์ใดๆ ด้วยเมทริกซ์เอกลักษณ์ จะได้ผลลัพธ์เป็นเมท


ริกซ์เดิมเสมอ
1 0 0   2 5 1   2 5 1 
0 1 0   3 4 8  =  3 4 8  ,
    
0 0 1  9 0 0 9 0 0

 2 5 1  1 0 0   2 5 1 
 3 4 8  0 1 0  =  3 4 8 
    
9 0 0 0 0 1  9 0 0

โดยทั่วไปแล้ว ถ้า B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ m n และ C เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติคือ n  r แล้วจะได้ว่า


BI = B และ IC = C
และสาหรับเวกเตอร์หลักของเมทริกซ์เอกลักษณ์ I จะเป็นเวกเตอร์มาตรฐาน (Standard Vector) ที่จะใช้
ในการนิยามปริภูมิแบบยูคลิด n มิติ (Euclidean n-space) โดยสากลแล้วสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเวกเตอร์หลักของ
หลักที่ j ของเมทริกซ์ I คือ e j นั้นคือ
I = ( e1, e2 , ..., en )

เมทริกซ์ผกผัน (Inverse Matrix)


ในระบบจ านวนจริ ง เราจะกล่ า วว่ า ส าหรั บ จ านวนจริ ง a ใดๆ ที่ ไ ม่ เ ท่ า กั บ 0 จะมี ตั ว ผกผั น การคู ณ
1
(multiplicative inverse) คือจานวนจริง b = ที่ ab = 1 จะเห็นว่าในระบบจานวนจริง บางจานวนมีตัวผกผัน
a
การคูณ และบางจานวนไม่ตัวตัวผกผันการคูณ สาหรับการคูณของเมทริกซ์ เราจะเรียกเมทริกซ์ที่มีตัวผกผันการ
คูณว่าเมทริกซ์ไม่เอกฐาน (non singular matrix) โดยตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์จะเรียกว่าเมทริกซ์ผกผันซึ่งมี
นิยามดังนี้
นิ ย าม: ถ้ า
เป็ น เมทริ ก ซ์ ที่ มี มิ ติ คื อ n  n และ A เป็ น เมทริ ก ซ์ ไ ม่ เ อกฐานแล้ ว จะเรี ย กเมทริ ก ซ์
A B ซึ่ ง
AB = BA = I ว่าเป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) ของเมทริกซ์ A

เมื่อกาหนดให้ทั้ง B และ C ต่างก็เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A จะได้ว่า

B = BI = BAC = IC = C

นั้นคือสาหรับเมทริกซ์ไม่เอกฐานใดๆ จะมีเมทริกซ์ผกผันได้เพียงเมทริกซ์เดียว ดังนั้นโดยทั่วไปเราจะใช้สัญลักษณ์


A−1 แทนเมทริกซ์ผกผันของเมทริกซ์ไม่เอกฐาน A

ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้
 2 −1
1 2
A= , B= 1 1 
1 4 −
 2 2

จะได้ว่า
 2 −1
1 2   1 0 
AB =   1 1  =  =I
1 4   − 0 1 
 2 2

 2 −1
1 2  1 0 
BA =  1 1   = =I
− 1 4  0 1 
 2 2

นั้นคือเมทริกซ์ A และเมทริกซ์ B ต่างก็เป็นเมทริกซ์ผกผันของกันและกัน

ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้
 2 −1 2 
A = 1 2 1 
0 0 0 

จะได้ว่าเมทริกซ์ผกผันของ A

เนื่องจากเมื่อพิจารณา B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 3 3 ใดๆ คือ


 b11 b12 b13 
B = b21 b22 b23 
b31 b32 b33 

จะได้ว่า
 2 −1 2  b11 b12 b13   2b11 − b21 + 2b31 2b12 − b22 + 2b32 2b13 − b23 + 2b33 
AB = 1 2 1  b21 b22 b23  =  b11 + 2b21 + b31 b12 + 2b22 + b32 b13 + 2b23 + b33 
0 0 0 b31 b32 b33   0 0 0 

เมื่อพิจารณาแถวสุดท้ายของ AB จะเห็นว่ามีสมาชิกเป็น 0 ทุกสมาชิก ดังนั้นจึงไม่มีทางหาเมทริกซ์ที่มาคูณกับ


เมทริกซ์ A แล้วได้เมทริกซ์เอกลักษณ์

ในกรณีที่เมทริกซ์ที่มีมิติ n  n ไม่มีเมทริกซ์ผกผัน เราจะกล่าวว่าเมทริกซ์ เป็นเมทริกซ์เอกฐาน (singular


matrix) นอกจากนี้จะเห็นว่าเมื่อเรากล่าวถึงเมทริกซ์ผกผัน เราจะพิจารณาเมทริกซ์ที่มีมิติคือ n  n คือจานวน
แถวและจานวนหลักของเมทริกซ์นั้นเท่ากัน ซึ่งเมทริกซ์ประเภทนี้จะเรียกว่าเมทริกซ์จัตุรัส (square matrix) โดย
เมทริกซ์ที่ไม่ใช่เมทริกซ์จัตุรัสจะไม่มีเมทริกซ์ผกผัน
สาหรับทฤษฎีต่อมา จะกล่าวว่าเมื่อนาเมทริกซ์ที่สามารถหาเมทริกซ์ผกผันได้และมีมิติเหมือนกัน มาคูณกัน
แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานเสมอ
ทฤษฎี 1.2.2 กาหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์เอกฐานที่มีมิติคือ n n แล้ว AB จะเป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน
โดยที่ (AB)−1 = B−1 A−1
พิสูจน์

( B−1 A−1 ) AB = B −1 ( A−1 A) B = B −1IB = B −1B = I

AB( B −1 A−1 ) = A( BB −1 ) A−1 = AIA−1 = AA−1 = I

และโดยการให้เหตุผลแบบอุปนัยเราจะได้ว่า ถ้า A1 , A2 , A3 ,..., Ak เป็นเมทริกซ์เอกฐานที่มีมิติคือ n n


แล้ว A1 A2 A3 Ak จะเป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานโดยที่ ( A1 A2 A3 Ak )−1 = Ak −1 A3−1 A2−1 A1−1
กฎทางพีชคณิตของเมทริกซ์สับเปลี่ยน (Algebraic Rules for Transpose)
สมบัติที่สาคัญของเมทริกซ์สับเปลี่ยนมีดังนี้
ทฤษฎี 1.2.3 กาหนดให้  เป็นสเกลาร์ และ A, B เป็นเมทริกซ์ใดๆ จะได้ว่า

1) ( At )t = A
2) ( A)t =  At
3) ( A + B)t = At + Bt
4) ( AB)t = Bt At

โดยในเอกสารเล่มนี้จะพิสูจน์กฎข้อที่ 4
พิสูจน์กฎข้อที่ 4 กาหนดให้ A = (aij ) เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ m n และ B = (bij ) เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n r
ดังนั้น AB เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ m  r กาหนดให้ A = (cij )

ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้
2 1 2 4 3 

A = 1 2 1  , … B = 5 −2

 2 1 2 1 4 

จะได้ว่า
 2 1 2  4 3  15 12
AB = 1 2 1  5 −2  =  15 3 
 2 1 2 1 4  15 12

ดังนั้น
15 15 15
ABt =  
12 3 12

พิจารณา
2 1 2
4 5 1   = 15 15 15
AB =
t t
  1 2 1   
 3 −2 4  2 1 2 12 3 12
 

จะเห็นว่าสอดคล้องกับกฎข้อที่ 4 ในทฤษฎี 1.2.3


แบบฝึกหัด 1.2
1. จงยกตัวอย่างเมทริกซ์ A และ B โดยเมทริกซ์ทั้งสองไม่ใช่เมทริกซ์ศูนย์ ที่ AB = O

2. จงยกตัวอย่างเมทริกซ์ A, B และ C โดยเมทริกซ์ทั้งหมดไม่ใช่เมทริกซ์ศูนย์ ที่ AC = BC และ A B

3. พิจารณา
 2 −2
A= 
 2 −2

มีสมบัติคือ A2 = O จงพิจารณาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่เมทริกซ์สมมาตรที่มีมิติ 2  2 และไม่ใช่เมทริกซ์ศูนย์ จะมี


สมบัตินี้
4. จงพิสูจน์ว่าสาหรับเมทริกซ์ที่มีมิติ 2 2 มีสมบัติเปลี่ยนกลุ่มสาหรับการคูณ
5. กาหนดให้
 1 1
 2 − 2
A= 
− 1 1 
 2 2 

จงหาค่าของ A2 , A3 และ An เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก


6. กาหนดให้
 1 1 1 1 
− 2 2 2 2 
 
 1 −
1 1 1 
 2 2 2 2 
A=
 1 1 1 1 

 2 2 2 2 
 1 1 1 1
 − 
 2 2 2 2

จงหาค่าของ A2 , A3 , A2 n และ A2 n +1 เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก


1 1  2n−1 2n−1 
6.จงพิสูจน์ว่าเมื่อกาหนดให้ A=  และ n เป็นจานวนเต็มบวก แล้ว An =  n−1 n−1  โดยใช้หลัก
1 1 2 2 
อุปนัยทางคณิตศาสตร์
7. กาหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์จัตุรัสที่มีมิติ n n และเป็นเมทริกซ์สมมาตร จงพิจารณาว่าสาหรับเมท
ริกซ์ต่อไปนี้เป็นเมทริกซ์สมมาตรหรือไม่

You might also like