You are on page 1of 83

เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม

ดร.สุุภัทร สายรัตนอินทร
วิชาเรขาคณิตเบื้องตน

1
เส้นขนาน (parallel line)
เสนขนาน
• การขนานกันั
• มุุมที่เท่ากัน
• มุมรวมกันเท่ากับ 180o

2
เส้นขนาน (parallel line)
เสนขนาน
• บทนิิยาม เส้้นตรงสองเส้้นทีี่อยู่บนระนาบเดีียวกััน ขนานกันั ก็็ต่อเมืื่อ
เส้นตรงทั้งสองเส้นนั้น ไม่ตัดกัน

• เมื่อ AB และ CD ขนานกัน อาจกล่าวว่า AB ขนานกับ CD


หรือ CD ขนานกั
หรอ ขนานกบบ AB
• อาจเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ AB // CD หรือ CD // AB
3
เส้นขนาน (ตอ)
เสนขนาน (ต่อ)
• เราสามารถกล่่าวว่่าส่่วนของเส้้นตรงหรืือรัังสีีขนานกัันเมืือ่ ส่่วนของ
เส้นตรงหรือรังสีน้ันเป็นส่วนหนึ่งของเสนตรงที่ขนานกัน เช่น

4
เส้นขนาน (ตอ)
เสนขนาน (ต่อ)
• ใในการเขีียนรูปเส้้นตรง ส่่วนของเส้้นตรง หรืือรังั สีีที่ขนานกันั อาจใช้
ใ้
ลูกศรแสดงเส้นที่ขนานกัน ดังตัวอย่างในรูป

• แสดงว่า AB // CD และ BC // DE

5
เส้นขนาน (ตอ)
เสนขนาน (ต่อ)
• ใในกรณีีทัว่ ไป
ไ ถ้้าเส้้นตรงสองเส้้นขนานกันั แล้้วระยะห่่างระหว่่าง
เส้นตรงคู่น้นั จะเท่ากันเสมอ และในทางกลับกัน ถ้าเส้นตรงสองเส้นมี
ระยะห่างระหว่างเส้นตรงเท่ากันเสมอ แล้วเส้นตรงคู่น้นั จะขนานกัน

6
เส้นตัด (Transversal)
เสนตด

• จากรป
จากรูป เรยก
เรียก AB ว่วาา เสนตด
เส้นตัด AB
• เรียก x และ y ว่า มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด AB
และเรีียก u และ v ว่่า มุมภายในที
ใ ี่อยู่บนข้้างเดีียวกันั ของเส้้นตััด AB
ด้วย ในการเขียนรูปเส้นตัด AB อาจใช้ AB หรือ AB แทน AB ก็ได้
7
เส้นตัด (ตอ)
เสนตด (ต่อ)
• เมืื่อเส้้นขนานถูกตััดผ่่านด้้วย
เส้นตรงอีกเส้นหนึ่ง (เส้นตัด) เราจะ
เห็นว่ามีมุมอยู่หลายมุมที่มีขนาด
เท่ากัน ดังภาพ
• มุม 118o = มุม 118o
• และ มุม 62o = มุม 62o

8
มุมมค่
มคู (pair of angle)
E

A B

C D

• เมื่อเส้นตรง AB ขนานกับ เส้นตรง CD AB // CDและมี EF เป็น


เส้้นตััด(Transversal) จะทําํ ให้
ใ ้เกิิดมุมคู่ (Pairs of angles) ทีีม่ ีชื่อเรีียก
เฉพาะดังนี้
9
มุมมค่
มคู (ตอ)
(ต่อ)
• เรีียก a และ d ว่่ามุมตรงข้้าม
(vertical angle)
• เรียก a และ e ว่ามุมที่สมนัยกัน
(corresponding angle)
• เรียก c และ f ว่ามุมแย้งภายใน
(Alternate Interior Angles)
• เรยก
เรียก a และ h วามุ ว่ามมแย้
มแยงง
ภายนอก (Alternate Exterior Angles)

10
มุมมที
มทเทากน
เ่ ท่ากัน
• มุมตรงข้้าม มีีขนาดเท่่ากััน
– มุุม 1 กับ มุุม 3
– มุม 2 กับ มุม 4
– มุมมม 5 กบ
กับ มม
มุม 7
– มุม 6 กับ มุม 8

11
มุมมที
มทเทากน
เ่ ท่ากัน (ตอ)
(ต่อ)
• มุมแย้้ง มีีขนาดเท่่ากันั
• มุมุ แย้งภายใน
– มุม 3 กับ มุม 5
– มุม 4 กบั มุม 6
• มุมแย้งภายนอก
– มุม 1 กับ มุม 7
– มุมมม 2 กบ
กับ มม
มุม 8

12
มุมมที
มทเทากน
เ่ ท่ากัน (ตอ)
(ต่อ)
• มุมทีี่สมนัยั กันั มีีขนาดเท่่ากันั
• พิจารณาซีกซ้าย
– มุม 1 กับ มุม 5
มุมภายนอกทีีเ่ ทากบมุ
่ ั มภายในที
ใ ีอ่ ยู่บนซีีกซายเหมื
้ ือนกนั
– มุม 4 กับ มุม 8
• พิจารณาซีกขวา
– มุมมม 3 กบ
กับ มม
มุม 7
มุมภายในที่เท่ากับมุมภายนอกทีอ่ ยู่บนซีกขวาเหมือนกัน
– มุม 2 กับั มุม 6
13
มุมมรวมกั นเท่ากับ 180o
มรวมกนเทากบ
• มุมประชิดรวมกันั ไได้้ 180o
– มุุม 1 กับ มุุม 2 รวมกันได้ 180o
• มุมภายในบวกมุมภายใน
ั ไ ้ 180o
– มุม 3 กบั มุม 6 รวมกนได
– มุม 4 กับ มุม 5 รวมกันได้ 180o
• มุมภายนอกบวกมุมภายนอก
– มุมมม 2 กบ
กับ มม รวมกันได้ 180o
มุม 7 รวมกนได
– มุม 1 กับ มุม 8 รวมกันได้ 180o

14
ตัวอย่างที่ 1
ตวอยางท

15
ตัวอย่างที่ 1 (ตอ)
ตวอยางท (ต่อ)
• วิธีทํา

16
ตัวอย่างที่ 2
ตวอยางท

17
ตัวอย่างที่ 2 (ตอ)
ตวอยางท (ต่อ)
• กําํ หนดให้
ใ ้ PQ // RS และมีี PR เป็็นเส้้นตััด
• ต้องการพิสูจน์ว่า 1 = 3
• พิสจู น์ 1. 2 + 3 = 180○ เพราะ PQ // RS
2. 1 + 2 = 180○ เพราะ เป็น็ มุมประชิด
จะได้ 1 + 2 = 2 + 3 = 180○
3. จะได
4. ดังนั้น 1 = 3

18
ตัวอย่างที่ 4
ตวอยางท
• ให้
ใ ้หาค่่าของ x และ y

y = 180 − 72 = 108

x = 72

19
ตัวอย่างที่ 5
ตวอยางท
• ให้
ใ ้หาค่่าของ x

• ตอบ x = 40O

20
ตัวอย่างที่ 6
ตวอยางท
• ให้
ใ ้หาค่่าของ x และ y

• ตอบ x = 60O
y = 70O

21
ตัวอย่างที่ 7
ตวอยางท
• ให้
ใ ้หาค่่าของ x และ y

• ตอบ x = 75O
y = 75O

22
ตัวอย่างที่ 8
ตวอยางท

• ตอบ x = 31

23
ตัวอย่างที่ 9
ตวอยางท
• ให้
ใ ้หาค่่าของ x และ y

24
ตัวอย่างที่ 10
ตวอยางท

25
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยม
ย่ ม
• มุมภายในของรู
ใ ปสามเหลีี่ยม
• มุุมภายนอกของรููปสามเหลี่ยม
• ความเท่ากันทุกประการ ( Congruent )
• รูปสามเหลี่ยมแบบต่างๆ
• พื้นที่รปสามเหลี
พนทรู ปสามเหลยม
ย่ ม
• สามเหลี่ยมคล้าย
• ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

26
มุมมภายในของรปสามเหลี
มภายในของรูปสามเหลยม
ย่ ม
• พิิสูจน์ว์ ่า มุมภายในของรู
ใ ปสามเหลีีย่ มรวมกัันไได้้ 180o

27
1. ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ รูปหนึ่ง
2. ต่อด้านของ BC ออกไปไ ใให้เป็็น D
3. สร้าง CE ใหขนานกบ
สราง ให้ขนานกับ AB
4. เมื่อ AB // CE จะได้ B AC = ACE เพราะเป็นมุมแย้ง
5. และ ABC = ECD เพราะ เป็นมุมภายในและมุมภายนอกของ
ด้านเดียวกันของเส้นขนาน
28
6. จะได้ ACD = ACE + ECD
7. ดังนั้น ACD = B AC + ABC
8. บวก ACB เขาไปทงสองดานของสมการ
เข้าไปทั้งสองด้านของสมการ
9. จะได้ ACD + ACB = B AC + ABC + ACB = 180o

29
มุมมภายนอกของรปสามเหลี
มภายนอกของรูปสามเหลยม
ย่ ม

30
มุมมภายนอกของรปสามเหลี
มภายนอกของรูปสามเหลยม
ย่ ม (ตอ)
(ต่อ)
• ทฤษฎีีบท
ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรููปสามเหลี่ยมออกไป มุุมภายนอกที่เกิดขึ้น
จะมีขนาด เท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิด
ของมมภายนอกนั
ของมุ มภายนอกนน้น

3 = 1+ 2
31
การเท่ากันทกประการของรปสามเหลี
การเทากนทุ กประการของรูปสามเหลยม
ย่ ม
• รูปสามเหลีี่ยมเท่่ากัันทุกประการได้
ไ ้ 5 แบบ ดังั นีี้
1. เท่ากันทุุกประการแบบ ((ด.ม.ด.))
2. เท่ากันทุกประการแบบ (ม.ด.ม.)
3. เท่ากันทุกประการแบบ (ม.ม.ด.)
4. เทากนทุ
เท่ากันทกประการแบบ
กประการแบบ (ด.ด.ด.)
5. เท่ากันทุกประการแบบ (ฉ.ด.ด.)

32
บทนิยาม
บทนยาม
• รูปเรขาคณิตสองรูปเท่่ากัันทุกประการก็็ต่อเมืือ่ เคลืื่อนทีี่รูปหนึึ่งไปทั
ไ ับ
อีกรูปหนึ่งได้สนิท

ΔABC ≅ ΔDEF

• อ่านว่า รูปสามเหลี่ยมABC เท่ากันทุกประการกับรูปสามเหลี่ยม DEF


ใ ้สัญลักั ษณ์์ ≅ แทน “เท่่ากัันทุกประการ”
• ใช้

33
1 เทากนทุ
1. เท่ากันทกประการแบบ
กประการแบบ (ด.ม.ด.)
(ด ม ด )
• ถ้้ารูปสามเหลีีย่ มสองรูปใดๆ
ใ มีีด้านยาวเท่่ากัันสองคู่และมุมใน

ระหว่างด้านคู่ที่ยาวเท่ากันมีขนาดเท่ากันแล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูป
นั้นเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน-มุม-ด้าน (ด.ม.ด.) Side-Angle-Side

34
2 เทากนทุ
2. เท่ากันทกประการแบบ
กประการแบบ (ม.ด.ม.)
(ม ด ม )
• ถ้้ารูปสามเหลีีย่ มสองรูปใดๆ
ใ มีีมุมทีีม่ ีขนาดเท่่ากัันสองคู่และด้้านซึึง่
เป็นแขนร่วมของมุมทั้งสองยาวเท่ากันแล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้น
เท่ากันทุกประการแบบ มุม-ด้าน-มุม (ม.ด.ม.) Angle-Side-Angle

35
3 เทากนทุ
3. เท่ากันทกประการแบบ
กประการแบบ (ม.ม.ด.)
(ม ม ด )
• ถ้้ารูปสามเหลีีย่ มสองรูปใดๆ
ใ มีีมุมทีีม่ ีขนาดเท่่ากัันสองคู่ และมีีด้าน
ยาวเท่ากันหนึ่งคู่ (ด้านคู่ที่ยาวเท่ากันไม่ได้อยู่ระหว่างมุมสองคู่ ที่มี
ขนาดเท่ากัน ) แล้วรูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปจะเท่ากันทุกประการ
ุ ุ าน ((ม.ม.ด.)) Angle-Angle-Side
แบบ มม–มม–ด้ g g

36
4 เทากนทุ
4. เท่ากันทกประการแบบ
กประการแบบ (ด.ด.ด.)
(ด ด ด )
• ถ้้ารูปสามเหลีีย่ มสองรูปใดๆ
ใ มีีด้านยาวเท่่ากัันสามคู่ แล้้วรูป
สามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน (ด.
ด.ด.) Side-Side-Side

37
5 เทากนทุ
5. เท่ากันทกประการแบบ
กประการแบบ (ฉ.ด.ด.)
(ฉ ด ด )
• ถ้้ารูปสามเหลีีย่ มมุมฉากสองรูปใดๆ
ใ มีีด้านตรงข้้ามมุมฉากยาว
เท่ากันหนึ่งคู่ และด้านประกอบมุมฉากยาวเท่ากันหนึ่งคู่ แล้ว
สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะเท่ากันทุกประการแบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน
((ฉ.ด.ด.)) Hypotenuse-Leg
yp g Postulate

38
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ
• แบ่่งตามความยาวของด้้าน
– รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า (equilateral triangle)
– รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว (isosceles triangle)
– รููปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า (scalene triangle)
• แบ่งตามมุมภายใน
– รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมมุ
่ยมมมฉาก
มฉาก (right triangle,
triangle right-angled
right angled triangle)
– รูปสามเหลี่ยมมุมเฉียง (oblique triangle)
– รูปปสสามเหลยมมุ
ี่ มปานป้ (obtuse-angled
( bt l d triangle)
ti l )
– รูปสามเหลี่ยมมุมแหลม (acute-angled triangle)

39
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมด้า้ นเท่่า (equilateral triangle)
• รููปสามเหลี่ยมที่มีด้านทุุกด้านยาวเท่ากัน และรููปสามเหลี่ยมด้านเท่า
เป็นรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่าด้วย นั่นคือมุมภายในทุกมุมจะมีขนาด
เท่ากัน คืคออ 60
เทากน 60° และเปนรู
และเป็นรปหลายเหลี
ปหลายเหลยมปกต
ย่ มปกติ

40
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมหน้า้ จััว่ (isosceles triangle)
• รููปสามเหลี่ยมที่มีด้านสองด้านยาวเท่ากัน ((ตามความหมายเริ่มแรก
โดยยุคลิด ถึงแม้ว่ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจะสามารถจัดว่าเป็นรูป
สามเหลีย่ มหน้าจั่วได้ ด้ดวย
สามเหลยมหนาจวได วย เพราะมี
เพราะมดานทยาวเทากนอยางนอยสอง
ด้านทีย่ าวเท่ากันอย่างน้อยสอง
ด้าน) และมีมุมสองมุมขนาดเท่ากัน (มุมที่ฐาน) คือมุมที่ไม่ได้

ประกอบด้ ้วยด้้านทีี่เท่่ากัันทั้ังสอง

41
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมด้า้ นไม่
ไ เ่ ท่า่ (scalene triangle)
• รููปสามเหลี่ยมที่มีด้านทุุกด้านยาวแตกต่างกัน และมุมุ ภายในก็มี
ขนาดแตกต่างกันด้วย

42
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมมุมฉาก (right triangle, right-angled triangle)
• มีมุมภายในมุมุ หนึ่งมีขนาด 90° ((มุุมฉาก)) ด้านที่อยู่ตู รงข้ามกับมุุม
ฉากเรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก ซึ่งเป็นด้านที่ยาวที่สุดในรูป
สามเหลีย่ ม อีอกสองดานเรยกวา
สามเหลยม กสองด้านเรียกว่า ดานประกอบมุ
ด้านประกอบมมฉากมฉาก ความยาวด้
ความยาวดาน าน
ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสัมพันธ์กันตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส นั่นคือ
กําํ ลัังสองของความยาวของด้้านตรงข้้ามมุมฉาก c จะเท่่ากัับผลบวก
ของกําลังสองของด้านประกอบมุมฉาก a, b เขียนอย่างย่อเป็น
a 2 + b2 = c2 c
a

43
b
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมมุมเฉียี ง (oblique triangle)
• ไม่มีมุมใดเป็นมุุมฉาก ซึ่งอาจหมายถึงรููปสามเหลี่ยมมุมุ ป้านหรือรููป
สามเหลี่ยมมุมแหลม

44
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมมุมป้า้ น (obtuse-angled triangle)
• มีมุมภายในมุมุ หนึ่งมีขนาดใหญ่
ญกว่า 90°

45
รูรปสามเหลี
ปสามเหลยมแบบตางๆ
ย่ มแบบต่างๆ (ตอ)
(ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมมุมแหลม (acute-angled triangle)
• มุมุ ภายในทุุกมุมุ มีขนาดเล็กกว่า 90° ((มุุมแหลม)) รููปสามเหลี่ยมด้าน
เท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมแหลม แต่รูปสามเหลี่ยมมุมแหลมทุกรูป
ไม่ได้เป็นรปสามเหลี
ไมไดเปนรู ปสามเหลยมดานเทา
ย่ มด้านเท่า

46
การหาพื้นทีข่ องรปสามเหลี
การหาพนทของรู ปสามเหลยม
ย่ ม
• การคําํ นวณพืื้นทีีข่ องรูปสามเหลีี่ยมเป็็นปััญหาพืื้นฐานทีีม่ ักจะพบใน

สถานการณ์ที่แตกต่างกัน สูตรที่ง่ายและเป็นที่ร้จู ักมากที่สุดคือ
1
• พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = x สูง x ฐาน
2

47
การหาพื้นทีข่ องรปสามเหลี
การหาพนทของรู ปสามเหลยม
ย่ ม (ตอ)
(ต่อ)
• ถึึงแม้้ว่าสูตรนีี้จะง่่าย แต่่ก็ใช้้ประโยชน์
โ ์ได้้เฉพาะเมืื่อสามารถหาความ
สูงของรูปสามเหลี่ยมได้โดยง่าย ตัวอย่างเช่นการรังวัดที่ดินที่มี
ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม จะวัดความยาวของด้านทั้งสามแล้ว
สามารถคํานวณหาพื้นที่ได้โดยไม่ต้องวัดส่วน สงเป็ ู นต้น วิธีการที่
หลากหลายถูกใช้ในทางปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับว่าเรารู้อะไรเกี่ยวกับรูป
สามเหลีย่ มบ้าง วิวธตอไปนเปนสู
สามเหลยมบาง ธีต่อไปนี้เป็นสตรหาพื
ตรหาพนทของรู
้นทีข่ องรปสามเหลี
ปสามเหลยมทใชกน
ย่ มทีใ่ ช้กัน
บ่อยๆ

48
การหาพื้นทีข่ องรปสามเหลี
การหาพนทของรู ปสามเหลยม
ย่ ม (ตอ)
(ต่อ)
• ใใช้ต้ รีีโกณมิิติ
• ส่วนสููงของรููปสามเหลี่ยมหาได้ด้วยตรีโกณมิติ จากรูปู ทางซ้าย
ส่วนสูงจะเท่ากับ h = a sin γ นําไปแทนในสูตร S = ½hb ที่ได้จาก
ข้างต้น พืพนทของรู
ขางตน ้นที่ของรปสามเหลี
ปสามเหลยมจงแสดงไดเปน
ย่ มจึงแสดงได้เป็น
1
S = ab sin γ
2
1
= bc sin α
2
1
= ca sin β
2
49
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• ใให้้หาพืื้นทีีข่ องรูปสามเหลีีย่ ม ABC ทีีม่ ีด้านแต่่ละด้้านยาวเท่่ากััน
เท่ากับ 4 cm

50
1
• จาก S i γ
= abb sin
2
1
S = × 4 × 4 × sin 60
2
3
S = 2× 4×
2
S = 4 3 ตร.ซม.

51
การหาพื้นทีข่ องรปสามเหลี
การหาพนทของรู ปสามเหลยม
ย่ ม (ตอ)
(ต่อ)
• ใใช้ส้ ูตรของเฮรอน (Heron's formula)
• อีกวิธีที่ใช้คํานวณ S ได้คือใช้สูตรของเฮรอน
Area = s ( s − a )( s − b )( s − c )

เมอ่อ S = ( a + b + c ) / 2 คอครงหนงของเสนรอบรู
• เมื คือครึง่ หนึง่ ของเส้นรอบรปของรป
ปของรูป
สามเหลี่ยม นอกจากนี้ก็มีสูตรอื่นที่เทียบเคียงกับสูตรของเฮรอน

52
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• ใให้้หาพืื้นทีีข่ องรูปสามเหลีีย่ ม ABC ทีีม่ ีด้านแต่่ละด้้านยาวดัังนีี้ A=4
B=3 และ C=5
• จากสูตร พื้นที่สามเหลี่ยม = s ( s − a )( s − b )( s − c )
• และ S = ( a + b + c ) / 2
• จะได้ S = ( 4 + 3 + 5 ) / 2 = 6
• พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = 6 ( 6 − 4 )( 6 − 3)( 6 − 5 )
= 6 ( 2 )( 3)(1) = 36 = 6 ตร.หน่วย

53
การหาพื้นทีข่ องรปสามเหลี
การหาพนทของรู ปสามเหลยม
ย่ ม (ตอ)
(ต่อ)
• ใใช้พ
้ ิกัด
• กําหนดให้พิกัดของจุุดยอดทั้งสามอยู่ทู ี่
A = ( x A , y A ) , B = ( xB , yB ) , C = ( xC , yC )
• แล้วพื้นที่ S จะคํานวณได้
ไ จาก
Ax ( By − C y ) + Bx ( C y − Ay ) + C x ( Ay − By )
Area =
2

54
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• ใให้้หาพืื้นทีีข่ องรูปสามเหลีีย่ ม ABC ทีีแ่ ต่่ละมุมมีีค่าพิกัดดัังนี้ี A=(1,1)
B=(3,2) และ C=(2,8)
1( 2 − 8 ) + 3 ( 8 − 1) + 2 (1 − 2 )
• พื้นที่สามเหลี่ยม ABC =
2
1( −6 ) + 3 ( 7 ) + 2 ( −1)
=
2
−6 + 21 − 2 13
= = 6 5 ตร.หนวย
= 6.5 ตร.หน่วย
2 2

55
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• ใให้้หาพืื้นทีีข่ องรูปสามเหลีีย่ ม ABC ทีีแ่ ต่่ละมุมมีีค่าพิกัดดัังนี้ี (2,1)
(5,2) และ C=(3,-4)
2 ( 2 + 4 ) + 5 ( −4 − 1) + 3 (1 − 2 )
• พื้นที่สามเหลี่ยม ABC =
2
2 ( 6 ) + 5 ( −5 ) + 3 ( −1)
=
2
12 − 25 − 3 −16
= = = 8 ตร.หนวย
ตร หน่วย
2 2

56
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• ใให้้หาพืื้นทีีข่ องรูปสามเหลีีย่ ม ABC ทีีแ่ ต่่ละมุมมีีค่าพิกัดดัังนี้ี A=(2,1)
B=(8,1) และ C=(3,8)
2 (1 − 8 ) + 8 ( 8 − 1) + 3 (1 − 1)
• พื้นที่สามเหลี่ยม ABC =
2
2 ( −7 ) + 8 ( 7 ) + 3 ( 0 )
=
2
−14 + 56 + 0 42
= = = 21 ตร.หนวย
ตร หน่วย
2 2

57
เส้นมัธยฐานและเซนทรอยด์
เสนมธยฐานและเซนทรอยด
• เส้้นมัธั ยฐาน (median) ของรูปสามเหลีี่ยม คืือ เส้้นทีี่ลากจากจุดยอด
ไปยังจุดกึ่งกลางของด้านที่อยู่ตรงข้ามของรูปสามเหลี่ยม
• เซนทรอยด์ (centroid) คือ จุดที่เกิดจากเส้นมัธยฐานทั้งสามเส้นตัด
กัน และเซนทรอยด์
กน และเซนทรอยดจะแบงเสนมธยฐานออกเปนสองสวน
จะแบ่งเส้นมัธยฐานออกเป็นสองส่วน ทาใหระยะทําให้ระยะ
จากจุดยอดถึงเซนทรอยด์เป็นสองเท่าของความยาวอีกส่วนหนึ่ง
(2:1)

58
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• กําํ หนดสามเหลีีย่ ม ABC เป็น็ รูปสามเหลีีย่ มใดๆ
ใ ให้
ใ ้หาเซนทรอยด์์ของ
รูปสามเหลียม ABC

59
• พิจารณารููปสามเหลี่ยม ABC กําหนดให้ D เป็นจุุดกึ่งกลางของ AB
• E เป็นจุดกึ่งกลางของ BC และ F เป็นจุดกึ่งกลางของ AC และ
จุด O คืือ เซนทรอยด์์
• จะได้ AD = DB,, BE = EC,, AF = FC
• เพราะฉะนั้น
[ ADO] = [ BDO] , [ BEO] = [CEO] , [CFO] = [ AFO]
60
• และ [ ABE ] = [ ACE ]
• จะได้ [ ABO] = [ ABE ] − [ BEO]
[ ACO] = [ ACE ] − [CEO]
ดังนั้น [ ABO] = [ ACO]
• ดงนน
• และ [ ADO] = [ DBO] , [ ADO] = 1 [ ABO]
2
61
• จะได้
1 1
[ AFO] = [ FCO] , [ AFO] = [ ACO] = [ ABO] = [ ADO]
2 2
• ดังนั้น [ AFO] = [ FCO] = [ DBO] = [ ADO]
• สุสดท้
ดทายจะได
ายจะได้
[ AFO] = [ FCO] = [ DBO] = [ ADO] = [ BEO] = [CEO]
62
ทฤษฎีพอลโลเนียส (Apollonius
ทฤษฎพอลโลเนยส (Apollonius' theorem)

(
AB 2 + AC 2 = 2 AD 2 + BD 2 )
63
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• กําํ หนดให้
ใ ้ ABC เป็็นรูปสามเหลีี่ยมทีีม่ ี BD เป็น็ เส้้นมัธั ยฐาน ถ้้า
AB = 5 cm, BC = 4.5 cm และ AC = 8 cm ให้หาความยาว BD

64
ตัวอย่าง
ตวอยาง
• วิธีทํา
• จากทฤษฎีฤ ฎพอลโลเนียส
• จะได้ ( ) ( )
5
2
+ 4.5
2
= 2 ( 4 2
+ BD 2
)
25 + 20.25
= 16 + BD 2
2
22.625 − 16 = BD 2
BD 2 = 6.625
6 625
BD = 2.57cm

65
สามเหลีย่ มคล้าย
สามเหลยมคลาย
• ความคล้า้ ย ( Similarity )

A B C D

E F G H
66
เราอาจจะตอบรปสามเหลี
เราอาจจะตอบรู ปสามเหลยมทคลายกนได
ย่ มทีค่ ล้ายกันได้
ถาเรายายรููปได

B C
A D

FH
E G
แต่ถ้าเราย้ายรปไม่
แตถาเรายายรู ปไมไดได้ จะต้
จะตองมนยาม
องมีนิยาม อะไร
67
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
• นิยาม รูปสามเหลีี่ยมสองรูปจะคล้้ายกัันก็็ต่อเมืื่อ มีีมุมเท่่ากัันทั้ัง 3 คู่
• เช่น
C F

A B D E

รูปสามเหลีี่ยม ABC คลา ยกับั รูปสามเหลีย่ี ม DEF

68
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)

Y P
Q
Z X
R

รูรปสามเหลี
ปสามเหลยม่ยม ABC คลายกบ
คลายกับ รูรปสามเหลี
ปสามเหลยม่ยม DEF

69
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
• พิจารณารูปสามเหลีีย่ มคล้้ายกััน R
C

A P Q
B
 =

BB̂ =
QQ̂
Ĉ R̂ =

ได ΔABC คลายกับ ΔPQR


สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
• ด้้านตรงข้้ามมุมทีี่เท่่ากััน เป็็นด้้านสมนััยกััน R
CC

A BB PP Q

 =
P̂ ดานตรงขามมุมที่เทากัน BC กับ QR
B̂ =
Q̂ ดานตรงขามมุมที่เทากัน AC กับ PR

Ĉ =
R̂ ดา นตรงขามมุมทีีเ่ ทา กันั AB กับ PQ
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
R
C

P Q
A B

ÂA =
P̂P ดาน
ดาน BC กบั QR
B̂ =
QQ̂ คูคสมนั
มนยย AC กบ
กับ PR
Ĉ =
R̂ กัน AB กับ PQQ
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ) R
C
P Q
A B
BC
Aˆ = Pˆ ดาน QR
BC กับ QR อัตราสวน
AC
B̂ˆ = Q̂ˆ คูสมนัย AC กับ PR ของ
ดานสมนัยกัน PR
Ĉ =
R̂ กนั AB กับ PQ เทากัน AB
PQ
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมคล้้ายกัันอััตราส่่วนของความยาวของด้้านคู่ทีส่ มนัยั กันั
เท่ากัน R
C P
Q
A B
BC = AC = AB
A C ∼ ΔPQR
ΔABC ΔQ ได
ได
QR PR PQ
BC = AC
= AB หรือ BC = AB
AC
หรือ
QR PR PR PQ QR PQ
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
• รูปสามเหลีี่ยมคล้้ายกัันอััตราส่่วนของความยาวของด้้านคู่ทีส่ มนัยั กันั
R
เท่ากัน (เขียนอัตราส่วนอีกแบบ)
C P
Q
A B

ABC ∼ ΔPQR QR = PR = PQ
ได BC
Δ
AC AB

จัดแยกได QR = PR หรือ PR =
AC AB
PQ หรือ QR = PQ
BC AB
BC AC
สามเหลีย่ มคล้าย (ตอ)
สามเหลยมคลาย (ต่อ)
• บทนิิยาม
• รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นมี
ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ ๆ สามคู่

• สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน
• รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นมี
อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ทู ี่สมนัยกันทุกุ คูู่เป็น อัตราส่วนที่
เท่ากัน
ตัวอย่างที่ 1
ตวอยางท
ใ ้ ΔTSV ∼ ΔQPR ให้
• กําํ หนดให้ ใ ้หาค่่าของ x, y และ P

77
ตัวอย่างที่ 2
ตวอยางท
• กําํ หนดให้
ใ ้ ST // QR ให้
ใ ้หาค่่าของ PT และ PR

78
ตัวอย่างที่ 3
ตวอยางท
• ให้
ใ ้หาค่่าของ x

79
ตัวอย่างที่ 4
ตวอยางท
• ใให้้หาค่่าความสูงของ h จากรูปด้้านล่่าง ทีี่นักเทนนิสตีีลูกบอลแล้้วลูก
จะผ่านเน็ทพอดีและไปตกลงบนพื้นซึ่งห่างจากเน็ท 6 เมตร

80
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎบทพทาโกรส
• สิิง่ ทีี่กําหนดให้
ใ ้ สามเหลีี่ยม ABC มีีมุม BAC เป็น็ มุมฉาก
• สิ่งที่ต้องพิสูจน์ BC = BA + AC
2 2 2

81
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอ)
ทฤษฎบทพทาโกรส (ต่อ)
• พิสูจน์์ สร้้างรูปสีีเหลีีย่ มจััตุรัสบนด้้านทั้ังสาม
• ลาก AL ขนานกับ BD ลาก AD, BK, FC
• เพราะว่า BAC=BAG= 1 มุมฉาก
• ดังนั้น CA เป็็นเส้นตรงเดียวกับ AG
• ในทํานองเดียวกันจะได้ว่า BA เปนเสนตรงเดยวกบ
ในทานองเดยวกนจะไดวา เป็นเส้นตรงเดียวกับ AH
• เพราะ DBC=FBA จะได้ DBC+ABC=FBA+ABC
• ดังนั้น DBA=FBC และเนื่องจาก DB = BC และ FB = BA
• ดังนั้นรปสามเหลี
ดงนนรู ปสามเหลยม ่ยม ABD กบกับ FBC มดานและมุ
มีด้านและมมที
มทเหลอเทากน
่เหลือเท่ากัน
82
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตอ)
ทฤษฎบทพทาโกรส (ต่อ)
• พิสูจน์์ แต่่ BMLD=2ΔABD และ ABFG=2ΔFBC
• ดังนั้นจะได้ BMLD= ABFG
• พิสูจน์ในทํานองเดียวกันจะได้ MLEC= AHKC
• ดังนั้น BMLD + MLEC= ABFG+ AHKC
• จะได้ BDEC= ABFG+ AHKC
จะได
• นั่นคือ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉากของรูป
• สามเหลี่ยมมุมฉากเท่ากับ ผลบวกของจัตุรัสบนด้านประกอบ
• มุมฉาก
มมฉาก
83

You might also like