You are on page 1of 34

บทที่ 4 ทศนิยมและเศษส่วน

4.1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
• ทศนิยม (Decimal) คือ การเขียนจานวนเต็มและที่ไม่เป็ นจานวนเต็มรูปแบบหนึ่ง โดยส่วนที่ไม่เต็ม
หน่วยจะถูกเขียนอยู่หลังจุดทศนิยม

23 . 135

1. ทศนิยมซา้ : จานวนที่มีเลขหลังจุดทศนิยมซา้ กันทุกตัวหรือเป็ นชุดและเขียนได้ไม่รูจ้ บ ในรูปย่อจะใช้


̇ เป็ นการบอกตาแหน่งที่เริ่มและสิน้ สุดชุดของการซา้ ถ้ามีตวั เดียวก็จะใช้จุดเดียว

1) จงเขียนจานวนต่อไปนีใ้ นรู ปย่อ

1.1.

1.2.

1.3.

1.4.
• ค่าประจาหลักของทศนิยม

ค่าประจาหลัก
จานวนเต็ม ทศนิยม
… หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย ตาแหน่งที่ 1 ตาแหน่งที่ 2 ตาแหน่งที่ 3 …
… …

2) จงเขียน 528.4327 ให้อยู่ในรูปของการกระจาย

3) จงเขียน ให้อยู่ในรูปของทศนิยม

4) พิจารณาทศนิยม 15.675 อยากทราบว่าค่าของ 6 กับ 7 มีค่าต่างกันเท่าไหร่


5) ค่าของ 7 ใน 47.38 กับ 756.0089 ต่างกันอยู่เท่าใด

• การเปรียบเทียบทศนิยม: จานวนที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่าจานวนที่อยู่ทางซ้ายของเส้นจานวน
เสมอ โดยให้เปรียบเทียบส่วนที่เป็ นจานวนเต็มก่อน ถ้าเท่ากันให้เปรียบเทียบส่วนที่เป็ นทศนิยมต่อ

6) จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ลงในช่องว่างเพื่อแสดงการเปรียบเทียบค่าของจานวนต่อไปนี ้

6.1.

6.2.

6.3.

6.4.

6.5.

4.2 การบวกและการลบทศนิยม: ใช้หลักการเดียวกับการบวกและการลบบวกจานวนเต็ม แต่ตอ้ งตัง้ จุด


ทศนิยมของแต่ละจานวนให้ตรงกัน
7) จงหาผลลัพธ์ของ
7.1. =

7.2. =

7.3. =

7.4. =

7.5. =
8) จะต้องนาจานวนใดมาเพิ่มขึน้ จาก เพื่อให้ได้จานวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สดุ

4.3 การคูณและการหารทศนิยม
• การคูณทศนิยม: ใช้หลักการเรื่องเครื่องหมายเดียวกับการคูณจานวนเต็ม แต่ผลลัพธ์ท่ไี ด้จะมีจานวน
ตาแหน่งทศนิยมตามจานวนตาแหน่งทศนิยมของตัวตัง้ และตัวคูณรวมกัน

9) จงหาผลลัพธ์ของ
9.1. =

9.2. =

9.3. =

9.4. =
9.5. =

10) ในการคูณทศนิยมที่มีตวั ตัง้ เป็ นทศนิยม a ตาแหน่งกับตัวคูณที่เป็ นทศนิยม b ตาแหน่ง ผลลัพธ์ท่ไี ด้


จะมีทศนิยมกี่ตาแหน่ง

• การหารทศนิยม: ใช้หลักการเรื่องเครื่องหมายเดียวกับการหารจานวนเต็ม แต่ตอ้ งเลื่อนจุดทศนิยม


ของตัวหารให้เป็ นจานวนเต็มแล้วเลื่อนจุดทศนิยมของตัวตัง้ ตามจานวนตาแหน่งจุดทศนิยมที่เลื่อนไป
ของตัวหาร ผลลัพธ์จะมีตาแหน่งทศนิยมเท่ากับตัวตัง้ ที่เลื่อนจุดแล้ว

11) จงหาผลลัพธ์ของ
11.1. =

11.2. =
11.3. =

11.4. =

11.5. =

12) ณ ที่แห่งหนึ่งในเวลา 7.00 น. วัดอุณหภูมิได้ 19.6 องศาเซลเซียส เมื่อวัดอีกครัง้ ในเวลา 13.00 น.


มีอณ
ุ หภูมิเป็ น 34.9 องศาเซลเซียส โดยเฉลี่ยแต่ละชั่วโมงมีอณ
ุ หภูมิเพิ่มขึน้ กี่องศา
4.4 เศษส่วนและการเปรียบเทียบเศษส่วน
• เศษส่วน (Fraction) คือ การเขียนจานวนเต็มและที่ไม่เป็ นจานวนเต็ม รู ปแบบหนึ่งในรูปของการ
หาร
𝑎
𝑏
• จานวนคละ (Mixed Number) คือ การเขียนจานวนที่ไม่เป็ นจานวนเต็มในรู ปแบบของจานวนเต็ม
แล้วตามด้วยเศษส่วนแท้ ซึ่งมีค่าเท่ากับจานวนเต็มตัวนัน้ บวกกับเศษส่วน เช่น

= + = =

= + = =

• การเปรียบเทียบเศษส่วน: จานวนที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่าจานวนที่อยู่ทางซ้ายของเส้นจานวน
เสมอ
− เศษเท่ากัน : ดูท่ีตวั ส่วน ยิ่งส่วนมีค่ามาก ค่ายิ่งน้อย
− ส่วนเท่ากัน : ดูท่ีตวั เศษ ยิ่งเศษมีค่ามาก ค่ามากตาม
− เศษและส่วนไม่เท่ากัน : ให้เปรียบเทียบด้วยการคูณไขว้เศษและส่วนของกันและกัน
− หลายจานวน : ทาส่วนแต่ละตัวให้เท่ากับ ค.ร.น. ของทุกตัวแล้วเปรียบเทียบเศษ
− จานวนคละ : เปรียบเทียบจานวนเต็มก่อน ถ้าเท่ากันให้เปรียบเทียบเฉพาะเศษส่วน

13) จงเรียงลาดับจานวนต่อไปนีจ้ ากมากไปน้อย


13.1.
13.2.

13.3.

4.5 การบวกและการลบเศษส่วน
• การบวกและการลบเศษส่วน
− ส่วนเท่ากัน: บวกหรือลบกันเฉพาะตัวเศษแต่ส่วนเท่าเดิม
− ส่วนไม่เท่ากัน: ทาส่วนแต่ละตัวให้เท่ากับ ค.ร.น. ของทุกตัว
• การบวกและการลบจานวนคละ: บวกหรือลบเฉพาะส่วนจานวนเต็มก่อนแล้วค่อยบวกหรือลบ
เศษส่วนต่อ

14) จงหาผลลัพธ์ของ
15) จงหาค่าสาเร็จของ

16) จงหาค่าของ
4.6 การคูณและการหารเศษส่วน
• การคูณเศษส่วน
− เศษส่วนคูณกัน: แยกกันคิด คูณเศษกับเศษ คูณส่วนกับส่วน
− เศษส่วนคูณกับจานวนเต็ม: มองจานวนเต็มว่ามีสว่ นเป็ น 1 แล้วคูณ
− จานวนคละ: ทาจานวนคละเป็ นเศษส่วนก่อนแล้วค่อยคูณ
• การหารเศษส่วน: เปลี่ยนเครื่องหมายหารเป็ นคูณ ตัวหารกลับเศษเป็ นส่วน

17) มีค่าเท่ากับเท่าใด

18) มีค่าเท่ากับเท่าใด
• เศษส่วนซ้อน: เขียนส่วนทัง้ หมดจากรู ปเศษส่วนให้รูปในรู ปตัง้ หารถ้าซ้อมกันหลายชัน้ ให้ทาจากล่าง
ขึน้ บน

19) จงหาค่าของ

20) ถ้า แล้ว 𝑥 มีค่าเท่ากับเท่าใด

• ห.ร.ม.และค.ร.น.ของเศษส่วน
− ห.ร.ม.ของเศษส่วน: หาได้จาก ห.ร.ม.ของเศษ หารด้วย ค.ร.น.ของส่วน
− ค.ร.น.ของเศษส่วน: หาได้จาก ค.ร.น.ของเศษ หารด้วย ห.ร.ม.ของส่วน
21) ผลคูณของ ค.ร.น.ของ กับ ห.ร.ม.ของ มีค่าเท่ากับเท่าใด

4.7 ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน
• การเขียนทศนิยมให้อยู่ในรู ปเศษส่วน: เลขหน้าจุดทศนิยมเขียนเป็ นจานวนเต็มของจานวนคละได้เลย
ส่วนเขียนเลขหลังจุดทศนิยมเป็ นเศษแล้วเขียนส่วนเป็ นเลข 1 แล้วตามด้วย 0 ตามจานวนตาแหน่ง
ทศนิยม

22) จงเขียนจานวนต่อไปนีใ้ ห้เป็ นเศษส่วน


22.1.

22.2.
22.3.

22.4.

• การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรู ปทศนิยม: ทาให้สว่ นเป็ นเลขยกกาลังของ 10 นาเลขที่เป็ นเศษมาเขียน


แล้วเติมจุดทศนิยมให้ได้ตาแหน่งตามจานวน 0 ของตัวส่วน

23) จงเขียนจานวนต่อไปนีใ้ ห้เป็ นทศนิยม


23.1.

23.2.
23.3.

23.4.

23.5.

• การเขียนทศนิยมซา้ ให้อยู่ในรูปเศษส่วน: เขียนเศษด้วยการนาตัวเลขหลังจุดทศนิยมทัง้ หมดลบกับ


ตัวเลขที่ไม่ซา้ และเขียนส่วนเป็ นเลข 9 ให้มีจานวนเท่ากับจานวนตาแหน่งของชุดการซา้ ของทศนิยม
และเติม 0 ต่อตามจานวนเลขที่ไม่ซา้
PROOF: สูตรแปลงทศนิยมซ้ำเป็นเศษส่วน

24) จงเขียนจานวนต่อไปนีใ้ ห้อยู่ในรูปเศษส่วน


24.1.

24.2.
24.3.

24.4.

24.5.
บทที่ 5 รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
5.1 รูปเรขาคณิต (Geometric Figure): รูปที่ประกอบด้วย จุด เส้นตรง เส้นโค้ง ระนาบ ฯลฯ อย่างน้อย
หนึ่งอย่าง
• ศูนย์มิติ/ไม่มีมิติ: จุด
• หนึ่งมิติ: เส้นต่างๆ
• สองมิต:ิ รูปสามเหลี่ยม, สี่เหลี่ยม, ห้าเหลี่ยม, รู ปหลายเล่มต่างๆ, วงกลม, วงรี
• สามมิติ: รู ปเรขาคณิตสองมิติท่มี ีความหนา,สูง,ลึก, นูน, หรือ หนาด้วย

− ปริซมึ คือ รูปเรขาคณิตสามมิติท่ีมีฐานทัง้ สองเป็ นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทัง้ สอง


อยู่คนละระนาบที่ขนานกัน การเรียกชื่อจะเรียกตามฐานของปริซมึ

− ลูกบากศ์ คือ ปริซมึ ที่มีหน้าตัดเป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ สั และมีความสูงเท่ากับความยาวด้านของฐาน


− ทรงกระบอก คือ รูปเรขาคณิตสามมิติท่มี ีฐานทัง้ สองเป็ นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการ และ
อยู่บนระนาบที่ขนานกัน

− พีระมิด คือ รู ปเรขาคณิตสามมิติท่มี ีฐานเป็ นรูปเหลี่ยมใดๆ แต่มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบ


เดียวกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็ นรูปสามเหลี่ยม ที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนัน้ การ
เรียกชื่อจะเรียกตามฐานของพีระมิด

− กรวย คือ รูปเรขาคณิตสามมิติท่มี ีฐานเป็ นวงกลม แต่มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกัน


กับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็ นส่วนของเส้นตรง
− ทรงกลม คือ รู ปเรขาคณิตที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดคงที่จดุ หนึ่ง
เป็ นระยะที่เท่ากัน

* ทรงกระบอก ≈ ___________ ที่มฐี านเป็ นวงกลม

กรวย ≈ ___________ ที่มฐี านเป็ นวงกลม

5.2 รูปคลี่ของรูปสามมิติ: การเขียนรู ปที่แสดงพืน้ ผิวทัง้ หมดของรู ปเรขาคณิตสามมิติ

25) จงวาดรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนี ้ * สังเกตส่วน _____ เป็ นหลัก


25.1. ปริซมึ สี่เหลี่ยมจัตรุ สั
25.2. ลูกบากศ์

25.3. ปริซมึ ห้าเหลี่ยมด้านเท่า


25.4. ทรงกระบอก

25.5. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตรุ สั
25.6. พีระมิดฐานหกเหลี่ยม

25.7. กรวย
5.3 หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ: รูปเรขาคณิตสองมิติท่เี กิดจากการนาระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ ซึ่ง
เกิดขึน้ ได้หลากหลายรูปแบบตามองศาระนาบที่นามาตัดกับรูปเรขาคณิต

• ระนาบตัดขนานกับฐาน (ตัดยอด,ตามขวาง)
− ปริซมึ ,ลูกบากศ์,ทรงกระบอก: จะได้หน้าตัดเหมือนกับฐาน
− พีรมิด,กรวย: จะได้หน้าตัดเหมือนกับฐานแต่ขนาดเล็กกว่า
− ทรงอื่นๆ: ให้สงั เกตฐานกับผิวของรูปเรขาคณิตนัน้ ๆ

• ระนาบตัดตัง้ ฉากกับฐาน (ตัดตามยาว)


− ปริซมึ ,ลูกบากศ์,ทรงกระบอก: จะได้หน้าตัดเป็ นสี่เหลี่ยมมุมฉาก
− กรวย: จะได้หน้าตัดเป็ นรู ปสามเหลี่ยม
− ทรงอื่นๆ: ให้สงั เกตฐานกับผิวของรูปเรขาคณิตนัน้ ๆ

• ระนาบตัดเฉียงกับระนาบตัดมุม: ให้สงั เกตฐานกับผิวของรูปเรขาคณิตนัน้ ๆ

* ทรงกลมใช้ระนาบตัดแนวไหนก็ได้หน้าตัดเป็ น _________
แต่ขนาดขึน้ กับระยะห่างของระนาบกับจุดศูนย์กลางทรงกลม

26) จงเขียนหน้าตัดที่ได้จากการตัดขวางรูปต่อไปนี ้
26.1. ปริซมึ ฐานสี่เหลี่ยมคางหมู
26.2. กรวย

26.3. ทรงกลม
26.4. พีระมิดฐานหกเหลี่ยม

27) จงเขียนหน้าตัดที่ได้จากการตัดตามยาวรูปต่อไปนี ้
27.1. กรวย
27.2. ทรงกระบอก

27.3. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมมุมฉาก
27.4. ทรงกลม

EXTRA: ระนาบตัดเฉียงและตัดมุม
EXTRA: ภาคตัดกรวย

5.4 ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรู ปเรขาคณิตสามมิติ: ภาพที่ได้จากการมองรูป


เรขาคณิตสามมิติ จากด้านใดด้านหนึ่งจะเห็นเป็ นภาพสองมิติ

* กาหนดทิศทางด้านที่กาลังพิจารณาให้ถกู ต้อง
แล้วเขียนเฉพาะพืน้ ผิวที่ไม่ถกู บังจากพืน้ ผิวอื่น
28) จงพิจารณาภาพที่ได้จากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนีจ้ ากการมองทางด้านหน้า, ด้านข้าง,
และด้านบน
28.1.
28.2.

28.3.

28.4.
5.5 รูปเรขาคณิตที่ประกอบขึน้ จากลูกบาศก์: ลูกบากศ์ขนาดหนึ่งหน่วย เมื่อนามาประกอบกันให้เป็ นรูป
เรขาคณิตลักษณะต่างๆ

29) จงเขียนจานวนลูกบากศ์กากับในตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ สั เพื่อแสดงภาพด้านบน ด้านหน้า และ


ด้านข้างของรูปเรขาคณิตสามมิติในแต่ละข้อให้ถกู ต้อง
29.1.
29.2.

29.3.
29.4.

29.5.

You might also like