You are on page 1of 12

วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และโครงสร้างเวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

โรงเรียนบ้านแม่กลองเก่า
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้ าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนิ น การของ
จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 5 1. เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบ ทศนิยม
ของ 10 หรือ 100 หรือ 1,000 ในรูป - ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม
ทศนิยม - ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง ที่
เป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม 1 ตำแหน่ง และ 2
ตำแหน่ง การใช้เครื่องหมาย ≈
2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา โดย จำนวนนับและ 0 การบวก การลบ การคูณ
ใช้บัญญัติไตรยางศ์ และการหาร
- การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์
3. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหาร
จำนวนคละ เศษส่วน
4. หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและ - การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละ
จำนวนคละ - การบวก การลบของเศษส่วนและจำนวนคละ
5. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญ ั หา การ - การคูณ การหารของเศษส่วนและจำนวนคละ
บวก การลบ การคูณ การหาร เศษส่วน 2 - การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน และ
ขั้นตอน จำนวนคละ
- การแก้โจทย์ปญั หาเศษส่วนและจำนวนคละ
6. หาผลคูณของทศนิยมที่ผลคูณ เป็น การคูณ การหารทศนิยม
ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง - การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การ
7. หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจำนวนนับหรือ คูณ การหารทศนิยม
ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง และตัวหาร เป็น - การคูณทศนิยม
จำนวนนับ ผลหารเป็นทศนิยม ไม่เกิน 3 - การหารทศนิยม
ตำแหน่ง - การแก้โจทย์ปญ ั หาเกี่ยวกับทศนิยม
8. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญ ั หา การ
บวก การลบ การคูณ การหาร ทศนิยม 2
ขั้นตอน
9. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญ ั หา ร้อย ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
ละไม่เกิน 2 ขั้นตอน - การอ่านและการเขียนร้อยละหรือ เปอร์เซ็นต์
- การแก้โจทย์ปญ ั หาร้อยละ
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 5 - -

สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 5 - -

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 5 1. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ความยาว
เกี่ยวกับความยาวที่มีการเปลี่ยนหน่วย และ - ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว
เขียนในรูปทศนิยม เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร
กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว โดยใช้
ความรู้เรื่องการเปลี่ยนหน่วย และทศนิยม
2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา น้ำหนัก
เกี่ยวกับน้ำหนักที่มีการเปลี่ยนหน่วย และ - ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำหนัก กิโลกรัมกับ
เขียนในรูปทศนิยม กรัม โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม
- การแก้โจทย์ปญ ั หาเกี่ยวกับน้ำหนัก โดยใช้
ความรู้เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม
3. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ปริมาตรและความจุ
เกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก - ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและ ความจุ
และความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- ความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์
เซนติเมตร และลูกบาศก์เมตร
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร ของทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุ ของภาชนะทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉาก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 4. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา รูปเรขาคณิตสองมิติ
เกี่ยวกับ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม - ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม
และพื้นที่ ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูป - พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและ รูปสี่เหลี่ยม
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ขนมเปียกปูน
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้าน
ขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 5 1. สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรง ให้ รูปเรขาคณิต
ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรง ที่ - เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉาก
กำหนดให้ - เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน
- การสร้างเส้นขนาน
- มุมแย้ง มุมภายใน และมุมภายนอก ที่อยู่บน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง (Transversal)
2. จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจาก รูปเรขาคณิตสองมิติ
สมบัติ ของรูป - ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม
3. สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนด - การสร้างรูปสี่เหลี่ยม
ความยาวของด้านและขนาดของมุม หรือ
เมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยงมุม
4. บอกลักษณะของปริซึม รูปเรขาคณิตสามมิติ
- ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 5 1. ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบ การนำเสนอข้อมูล
ของโจทย์ปญ ั หา - การอ่านกราฟเส้น
2. เขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็นจำนวน - การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง
นับ
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 5 - -
วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และโครงสร้างเวลาเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ จำนวน


สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ค 1.1 ป.5/3 เตรียมความพร้อม 1
เศษส่วน ค 1.1 ป.5/3 การเปรียบเทียบเศษส่วนโดยใช้ 1 เป็นเกณฑ์ 2
2
ค 1.1 ป.5/3 การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน 1
ค 1.1 ป.5/3 การเปรียบเทียบจำนวนคละ 2
ค 1.1 ป.5/3 การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน 1
ค 1.1 ป.5/3 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน 1
ค 1.1 ป.5/3 การบวกจำนวนคละ 1
ค 1.1 ป.5/3 การลบจำนวนคละ 1
ค 1.1 ป.5/4 เศษส่วนของจำนวนนับ 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณจำนวนนับกับเศษส่วน 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณเศษส่วนกับจำนวนนับ 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณจำนวนนับกับจำนวนคละ 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณจำนวนคละกับจำนวนนับ 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณเศษส่วนกับจำนวนคละ 1
ค 1.1 ป.5/4 การคูณจำนวนคละกับจำนวนคละ 1
ค 1.1 ป.5/4 ส่วนกลับของเศษส่วน 1
ค 1.1 ป.5/4 การหารจำนวนนับด้วยเศษส่วน 1
ค 1.1 ป.5/4 การหารเศษส่วนด้วยจำนวนนับ 1
ค 1.1 ป.5/4 การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน 1
ค 1.1 ป.5/4 การหารจำนวนคละ 1
ค 1.1 ป.5/4 ความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับการหารเศษส่วน 1
ค 1.1 ป.5/5 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนและจำนวนคละ 2
ค 1.1 ป.5/5 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ 2
ค 1.1 ป.5/5 โจทย์ปัญหาการคูณเศษส่วนและจำนวนคละ 2
ค 1.1 ป.5/5 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนและจำนวนคละ 2
ค 1.1 ป.5/5 การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ 2
ค 1.1 ป.5/5 โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ 3
จำนวนคละ
รวม 37
หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ จำนวน
สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ค 1.1 ป.5/1 เตรียมความพร้อม 1
ทศนิยม ค 1.1 ป.5/1 ตัวประกอบของจำนวนนับ 1
ค 1.1 ป.5/1 การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 1
100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม
ค 1.1 ป.5/1 การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เป็นตัวประกอบของ 10 1
100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม
ค 1.1 ป.5/1 การเขียนจำนวนคละในรูปทศนิยม 2
ค 1.1 ป.5/1 การหาค่าประมาณเป็นทศนิยม 1 ตำแหน่ง 1
ค 1.1 ป.5/1 การหาค่าประมาณเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง 1
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยมกับจำนวนนับโดยใช้ความหมาย 1
ของการคูณ
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยมกับจำนวนนับโดยใช้ความสัมพันธ์ 1
ระหว่างทศนิยมกับเศษส่วน
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่งด้วย 10 100 1
และ 1,000
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยม 1 ตำแหน่งกับทศนิยม 1 ตำแหน่ง 1
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยม 1 ตำแหน่งกับทศนิยม 2 ตำแหน่ง 1
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยม 1 ตำแหน่งกับทศนิยม 1 ตำแหน่ง 1
โดยการตั้งคูณ
ค 1.1 ป.5/6 การคูณทศนิยม 1 ตำแหน่งกับทศนิยม 2 ตำแหน่ง 1
โดยการตั้งคูณ
ค 1.1 ป.5/7 การหารทศนิยม 1 ตำแหน่งด้วยจำนวนนับโดย 1
การเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน
ค 1.1 ป.5/7 การหารทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งด้วยจำนวนนับ 1
โดยการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน
ค 1.1 ป.5/7 การหารทศนิยมด้วยจำนวนนับโดยการตั้งหาร 2
ค 1.1 ป.5/7 การหารจำนวนนับด้วยจำนวนนับที่ผลหารเป็นทศนิยม 1
ค 1.1 ป.5/7 การหารทศนิยมด้วย 10 100 และ 1,000 1
ค 1.1 ป.5/1 ทศนิยมกับความยาว 2
ค 1.1 ป.5/2 ทศนิยมกับน้ำหนัก 1
ค 1.1 ป.5/2 ทศนิยมกับปริมาตร 1
ค 1.1 ป.5/9 โจทย์ปัญหาการคูณทศนิยม 1
ค 1.1 ป.5/9 โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม 1
ค 1.1 ป.5/9 โจทย์ปัญหาการคูณทศนิยม 1
มาตรฐาน/ จำนวน
หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
ค 1.1 ป.5/9 โจทย์ปัญหาการหารทศนิยม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ค 1.1 ป.5/9 โจทย์ปัญหาการคูณ การหารทศนิยม 1
ทศนิยม
ค 1.1 ป.5/9 โจทย์ปญั หาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม
3
2 ขั้นตอน
รวม 33
ค 1.1 ป.5/2 เตรียมความพร้อม 1
ค 1.1 ป.5/2 การอ่านแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะ 1
ค 1.1 ป.5/2 การอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ 1
ค 1.1 ป.5/2 การเขียนแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ค 1.1 ป.5/2 การเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ 1
การนำเสนอข้อมูล
ค 1.1 ป.5/1 การอ่านกราฟเส้น 1
ค 1.1 ป.5/1 การเขียนกราฟเส้น 1
ค 1.1 ป.5/1 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับกราฟเส้น 1
ค 1.1 ป.5/1 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับแผนภูมิแท่ง 1
ค 1.1 ป.5/1 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ 1
รวม 10
รวม 80
วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และโครงสร้างเวลาเรียน
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ จำนวน


สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ค 1.1 ป.5/2 เตรียมความพร้อม 2
บัญญัติไตรยางศ์ ค 1.1 ป.5/2 โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 4
รวม 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ค 1.1 ป.5/9 เตรียมความพร้อม 2
ร้อยละ ค 1.1 ป.5/9 การอ่านและการเขียนร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ 2
ค 1.1 ป.5/9 ร้อยละของจำนวนนับ 3
ค 1.1 ป.5/9 การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละโดยเขียนร้อยละในรูปเศษส่วน 3
ของจำนวนนับ
ค 1.1 ป.5/9 การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ 2
ค 1.1 ป.5/9 การลดราคาและการหาส่วนลด 1
ค 1.1 ป.5/9 การลดราคาและการหาราคาขาย 1
ค 1.1 ป.5/9 ทุน ราคาขาย กำไร ขาดทุน และเท่าทุน 1
ค 1.1 ป.5/9 การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไรและราคาขาย 1
ค 1.1 ป.5/9 การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับขาดทุนและราคาขาย 1

รวม 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ค 1.1 ป.5/1 เตรียมความพร้อม 1
เส้นขนาน ค 1.1 ป.5/1 เส้นตั้งฉาก 1
ค 1.1 ป.5/1 ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง 1
ค 1.1 ป.5/1 เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน 1
ค 1.1 ป.5/1 เส้นตัดขวาง 1
ค 1.1 ป.5/1 มุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง 1
ค 1.1 ป.5/1 มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง 1
ค 1.1 ป.5/1 มุมแย้งภายในและมุมแย้งภายนอก 1
ค 1.1 ป.5/1 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง 1
ค 1.1 ป.5/1 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง 1
ค 1.1 ป.5/1 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่ 3
บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง
หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ จำนวน
สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ค 1.1 ป.5/1 การพิจารณาเส้นขนาน 1
เส้นขนาน ค 1.1 ป.5/1 การสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างตามที่กำหนด 1
ค 1.1 ป.5/1 การสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างเท่ากัน 1
ค 1.1 ป.5/1 การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน 1
ค 1.1 ป.5/1 การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่อยู่บนข้าง 1
เดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180˚
รวม 18
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ค 2.2 ป.5/2 เตรียมความพร้อม 1
รูปสี่เหลี่ยม ค 2.2 ป.5/2 ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม 1
ค 2.2 ป.5/2 เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม 1
ค 2.2 ป.5/2 สมบัติของรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ 1
ค 2.2 ป.5/3 การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกำหนดความยาวของด้านและ 1
ขนาดของมุม
ค 2.2 ป.5/3 การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกำหนดความยาวของด้านและ 1
ขนาดของมุมโดยใช้วงเวียน
ค 2.2 ป.5/3 การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกำหนดความยาวของด้านและ 1
ขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์
ค 2.2 ป.5/3 การสร้างรูปสี่เหลี่ยม เมื่อกำหนดความยาวของเส้น 3
ทแยงมุม
ค 2.2 ป.5/4 ความยาวของฐานและความสูงของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน 1
ค 2.2 ป.5/4 การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน 1
ค 2.2 ป.5/4 การหาพืน้ ที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน 1
ค 2.2 ป.5/4 การหาพืน้ ที่ของรูปหลายเหลี่ยม โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ 1
รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
ค 2.2 ป.5/4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม 1
ค 2.2 ป.5/4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน 2
ค 2.1 ป.5/4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่และความยาวรอบรูปของรูป 2
สี่เหลี่ยมด้านขนาน
รวม 19
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ค 2.1 ป.5/1 เตรียมความพร้อม 1
ปริมาตรและความจุ ค 2.2 ป.5/4 รูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเขาคณิตสามมิติ 1
ของทรงสี่เหลี่ยม ค 2.2 ป.5/4 รูปเรขาคณิตสามมิติ 1
มุมฉาก ค 2.2 ป.5/4 ลักษณะและส่วนต่างๆ ของปริซึม 1
หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ จำนวน
สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ค 2.2 ป.5/4 ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1
ปริมาตรและความจุ ค 2.2ป.5/3 หน่วยของปริมาตรและการหาปริมาตร 1
ของทรงสี่เหลี่ยม ค 2.2 ป.5/3 หน่วยของปริมาตรและการหาปริมาตรเป็นลูกบาศก์ 1
มุมฉาก เซนติเมตร
ค 2.2 ป.5/3 หน่วยของปริมาตรและการหาปริมาตรเป็นลูกบาศก์ 1
เมตร
ค 2.2 ป.5/3 ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2
ค 2.2 ป.5/3 ความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1
ค 2.2 ป.5/3 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยปริมาตรหรือหน่วยความจุ 1
ค 2.2 ป.5/3 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุ 8
รวม 20
รวม 80

You might also like