You are on page 1of 52

คาชี้แจง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 31101


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต
เล่มที่ 2 เรื่อง สับเซต(SUBSETS)และเพาเวอร์เซต (POWER SET)
เล่มที่ 3 เรื่อง เอกภพสัมพัทธ์และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
เล่มที่ 4 เรื่อง การดาเนินการของเซต
เล่มที่ 5 เรื่อง สมบัติของเซต
เล่มที่ 6 เรื่อง สมาชิกของเซตกับการนาไปใช้
เล่มที่ 7 เรื่อง ฝึกโจทย์ O-NET
ซึ่งแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้ เป็นแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 1 เรื่อง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนรูแ้ บบ
สืบเสาะหาความรู้ (5E) จานวน 3 คาบ เพื่อให้นักเรียนมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต โดย
นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของเซต หาจานวนสมาชิกของเซต และเขียนเซตแบบการ
แจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไขได้ ระบุได้ว่าเซตใดเป็นเซตว่าง เซตจากัดและเซตอนันต์
เปรียบเทียบเซตที่เท่ากันได้ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 เรือ่ งดังนี้
1.1 ความหมายของเซต และหลักการเขียนเซต
1.2 เซตว่าง เซตจากัด และเซตอนันต์
1.3 เซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน
โดยแต่ละเรื่องจะประกอบไปด้วย กิจกรรมแนะแนวทาง ใบความรู้ และแบบฝึกความเข้าใจ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  1


มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด

สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ตัวชี้วัด ม.4-6/1 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการดาเนินการของเซต
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยง
ความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์
อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด ค 6.1 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
5. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของเซต สามารถหาสมาชิก และบอกจานวน


สมาชิกของเซตที่กาหนดให้ได้
2. นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกได้
3. นักเรียนสามารถจาแนกเซตว่าง เซตจากัดและเซตอนันต์ได้
4. นักเรียนบอกได้ว่าเซตที่กาหนดให้เท่ากัน หรือเทียบเท่ากันได้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  2


คาชี้แจงสาหรับครู

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต


รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ครูผู้สอน
ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 นี้ให้เข้าใจก่อนทาการสอน
2. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 นี้ใช้ประกอบการสอนด้วยวิธีการสอนแบบ
สืบเสาะหาความรู้(5E) ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกคิด ฝึกสังเกต สร้างองค์
ความรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้และเอกสารแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น
ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิด อยากรู้อยากเห็น และสืบเสาะหาความรู้จากการถามคาถาม และให้
คาปรึกษา ชี้แนะ ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ รวมทั้งการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของครูกับนักเรียน
และสร้างบรรยากาศการสืบเสาะหาความรู้ที่เอื้อให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ ดังนั้นครูผู้สอนต้อง
ศึกษาคู่มือการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์-แผนการจัดการเรียนรู้ ในแผนการจัดการเรียนรู้
ที่ 1 - 3 (จานวน 3 คาบ) ควบคู่ไปกับการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์นี้
3. ทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรียนแต่ละคน
4. ในระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของ
แบบฝึกหัดที่นักเรียนทา พร้อมทั้งอธิบายเพิ่มเติมเมื่อพบว่า นักเรียนทาผิดจากความเข้าใจที่
ไม่ถูกต้อง หรือมีข้อสงสัย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการทาแบบฝึกหัดหรือกิจกรรมการเรียน
การสอน
6. เมื่อกิจกรรมเสร็จสิ้นครบตามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 นี้ ให้นักเรียนทา
แบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
เซต
7. บันทึกคะแนนของนักเรียนแต่ละคน สรุปและประเมินผล ถ้าหากพบนักเรียนที่ไม่
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ครูผู้สอนควรทบทวนเนื้อหาและอธิบายแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
จนนักเรียนเข้าใจและสอบผ่านเกณฑ์

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  3


คาชี้แจงสาหรับนักเรียน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต เล่มนี้


เป็นเล่มที่ 1 จากทั้งหมด 7 เล่ม ที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้ เพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง เซต
โดยนักเรียนต้องปฏิบัติตน ดังนี้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 ก่อน
การทากิจกรรมใดด้วยตนเองอย่างซื่อสัตย์สุจริต ส่งให้ครูตรวจเพื่อประเมินพื้นฐานของ
นักเรียนก่อนเรียน
2. มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ในชั้นเรียนตาม
คาแนะนาและการอธิบายจากครูด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเท
3. นักเรียนต้องกล้าที่จะถามครูและเพื่อนในชั้นเรียนเมื่อมีข้อสงสัย
4. พยายามเชื่อมโยงความรู้กับพื้นฐานความรู้และชีวิตประจาวัน เพื่อให้
เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง ที่ไม่เกิดจากการท่องจา
5. เมื่อนักเรียนทากิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์นี้ครบแล้วให้
ทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 และส่งครูเพื่อตรวจให้คะแนน
สรุปและประเมินผล
6. เมื่อนักเรียนทราบผลการทดสอบหลังเรียนแล้วให้ปฏิบัติ ดังนี้
ถ้า ผ่าน ให้รอเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 2 ในคาบต่อไป
ถ้า ไม่ผ่าน ให้พบคุณครูเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมแล้วทดสอบใหม่จนผ่านแล้ว
จึงเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มที่ 2 ต่อไป

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  4


ขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1

นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมจากแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1
ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ควบคู่ไปกับการอธิบาย/แนะนา/ชี้แจง จากครู ตามเนื้อหาต่าง ๆ ดังนี้

1.1 ความหมายของเซต และหลักการเขียนเซต (1 คาบ)

ทากิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.1.1 ศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.1


ทาแบบฝึกความเข้าใจที่ 1.1
ทากิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.1.2 ศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.2

1.2 เซตว่าง เซตจากัด และเซตอนันต์ (1 คาบ)

ทากิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.2 ศึกษาใบความรู้ที่ 1.2 ทาแบบฝึกความเข้าใจที่ 1.2

1.3 เซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน (1 คาบ)

ทากิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.3 ศึกษาใบความรู้ที่ 1.3 ทาแบบฝึกความเข้าใจที่ 1.3

นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  5


แบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

ชื่อ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชั้น _ _ _ _ เลขที่ _ _ _ _

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. 2, 3, 5, 7 เป็นสมาชิกของเซตในข้อใด 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. เซตของจานวนคี่ตั้งแต่ 0 ถึง 7 ก. {4, 5}{4, 5, {4, 5}}
ข. เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 7 ข. ถ้า n(A) = n(B) แล้ว A = B
ค. เซตของจานวนนับตั้งแต่ 2 ขึ้นไป ค. {abcde} เทียบเท่ากับ {}
ง. เซตของจานวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 0 ถึง 9 ง. {} ไม่ใช่เซตว่าง
2. กาหนดให้ A = {1, 2, {3,4}, 5, 6} ข้อใดต่อไปนี้ 7. กาหนดให้ B = {x | x N; -3 < x ≤ 4}
ถูกต้อง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. 3A ข. {3,4} A ก. -1B ข. n(B) = 7
ค. n(A) = 6 ง. {5,6} A ค. 4B ง. เซต B เป็นเซตจากัด
3. เขียนเซต {-2, 0, 2, 4,...} แบบบอกเงื่อนไข 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตอนันต์
ได้ตรงกับข้อใด ก. {x  x = 1-n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5}
ก. {x  x เป็นจานวนคู่ที่มากกว่า -2} ข. {x  xR และ 3  x<4}
ข. {x  x เป็นจานวนคู่บวกที่ไม่น้อยกว่า -2} ค. {x  x = 3n เมื่อ n เป็นจานวนนับ
ค. {x  x เป็นจานวนคู่ที่ไม่น้อยกว่า -2} ตั้งแต่ 1 ถึง 10}
ง. {x  x = 2n เมื่อ n เป็นจานวนนับ} ง. {x  x = n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…,999}
4. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 9. เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตว่าง
ก. {1, 2, 3} = {123} ก. {x | xI- และ x>-1}
ข. {3}  {1,{3}} ข. {x | x เป็นจานวนคู่ที่หารด้วย 5 ลงตัว}
ค. {1, 2, 3,...,999} เป็นเซตอนันต์ ค. {x | x เป็นจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 3}
ง. {{ }} เป็นเซตจากัด ง. {x x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -1 กับ 1}
5. กาหนดเซต A = {x  N  2  x < 4} 10. เซตในตัวเลือกใดต่อไปนี้เท่ากัน
B = {x  I  x2- x = 6} ก. {x | x = จานวนเต็ม} กับ
ข้อใดต่อไปนี้สรุปได้ถูกต้อง {x | x เป็นจานวนเต็ม}
ก. A = B ข. {9, -9} กับ {x | x2 = 81}
ข. n(A) = 3 ค. {x | x แทนพยัญชนะในคาว่า“กรรมการ”}
ค. เซต A เป็นเซตอนันต์ กับ {x | x แทนพยัญชนะในคาว่า“มากกว่า”}
และเซต B เป็นเซตจากัด ง. {1, 3, 5, 7, 9} กับ
ง. เซต A เทียบเท่ากับ เซต B {x | x เป็นจานวนเต็มบวกคี่}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  6


กระดาษคาตอบ

แบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

ชื่อ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชั้น _ _ _ _ เลขที่ _ _ _ _

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนที่ได้
10

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  7


1.1 ความหมายเซต
และการเขียนเซต

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  8


กิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.1.11 เรื่อง ความหมายของเซต

คาชี้แจง : ครูกาหนดคนจานวน 12 คน โดยมีชื่อต่าง ๆ ดังภาพ


ให้นักเรียนช่วยกันหาสมาชิกในกลุ่ม จากคนทั้ง 12 คน ตามเงื่อนไข
ของกลุ่มแต่ละข้อต่อไปนี้

A B C D E F G H I J K L
ใครเป็นสมาชิก จานวน
กลุ่มที่ เงื่อนไข
ของกลุ่มบ้าง สมาชิกในกลุ่ม
(ตัวอย่าง) กลุ่มของคนที่ใส่แว่น A, G, I, K 4
1 กลุ่มของผู้ชาย _____________ ____
2 กลุ่มของผู้ชายหน้าตาดี _____________ ____
3 กลุ่มของผู้หญิง _____________ ____
4 กลุ่มของคนที่ใส่กางเกง _____________ ____
5 กลุ่มของผู้ชายใส่แว่น _____________ ____
6 กลุ่มผู้หญิงสวย _____________ ____
7 กลุ่มของคนเก่ง _____________ ____
8 กลุ่มของคนผูกเนคไท _____________ ____
9 _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ C, D, H, J ____
10 _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ I, K ____

ข้อสรุปจากกิจกรรม
มีบางกลุ่มไม่สามารถระบุสมาชิกของกลุ่มได้ ซึ่งได้แก่ กลุ่มที่ _ _ _ _ _ _ _ _ และ
มีบางกลุ่มสามารถระบุ_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ของกลุ่มได้ ซึ่งได้แก่กลุ่มที่_ _ _ _ _ _
โดยจะเรียกกลุ่มที่ทราบสมาชิกแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่หรือไม่อยู่ในกลุ่มนั้นว่า “เซต”
เช่น เซตของคนที่ใส่แว่น

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  9


ใบความรู้ที่ 1.1.1
เรื่อง ความหมายของเซต
คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในใบความรู้ เพื่อความเข้าใจก่อนการทา

ผู้ริเริ่มทฤษฎีเซตเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เกออร์ก คันทอร์


เป็นผู้ริเริ่มใช้คาว่า “เซต” ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จากนั้นนักคณิตศาสตร์
จึงใช้คานี้กันอย่างแพร่หลาย และมีการนาความรู้ในเรื่อง เซต มาใช้เชื่อมโยง
เนื้อหาในคณิตศาสตร์หลายเรื่อง เช่น ฟังก์ชัน ความน่าจะเป็น (Georg Cantor)
เซตในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นคาอนิยาม (Undefined Term) นั่นคือ ไม่มีนิยาม เป็ห นคาที่
ไม่ต้องให้คาจากัดความ ซึ่งคาว่า เซต จะหมายถึง กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ โดยเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใด
แล้วจะต้องทราบแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม หรือสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม

ให้นักเรียนพิจารณากลุ่มที่สนใจต่อไปนี้ว่าเกิดเซตหรือไม่
1) สนใจนักเรียนที่ใส่แว่นของนักเรียนห้องหนึ่ง โดยนักเรียนห้องนี้มี ด.ช.คีรี และ
ด.ญ.มาลัยที่ใส่แว่น
อย่างนี้เกิดเซต เพราะ สามารถระบุได้ว่าสิ่งใดเป็นสมาชิกในเซต โดยเซตที่สนใจคือ
เซตของนักเรียนที่ใส่แว่นของนักเรียนห้องหนึ่ง ซึ่งมีสมาชิกของเซตเป็น
ด.ช.คีรี และด.ญ.มาลัย
2) สนใจวันในหนึ่งสัปดาห์
อย่างนี้เกิดเซต เพราะ เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ มีสมาชิกเป็น วันจันทร์ วันอังคาร
วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์
3) สนใจผลไม้ที่อร่อยที่สุดของประเทศไทย
อย่างนีไ้ ม่เกิดเซตนะ เพราะ ความอร่อยเป็นปริมาณคุณภาพ ใช้ความรู้สึก โดยที่
ความคิดเห็นของแต่ละคนไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถระบุได้ว่าสิ่งใดเป็นสมาชิกในเซต

สรุปนะครับว่า เซต จะเกิดขึ้นเมื่อ เราสนใจที่จะศึกษากลุ่มของสิ่งต่าง ๆ


ซึ่งจะต้องชัดเจนด้วยนะว่า สิ่งใดอยู่ในกลุ่ม หรือสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม
ถ้านักเรียนเข้าใจดีแล้ว ลองตอบซิว่า แล้วถ้าสนใจรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และสนใจคนที่หน้าตาดีที่สุดในประเทศไทย กลุ่มไหนเกิดเซตกลุ่มไหน
ไม่เกิดเซตกลุ่มที่เกิดเซตให้บอกสมาชิกของเซตด้วย

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  10


1
กิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.1.2 เรื่อง หลักการเขียนเซต

คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาวิธีการเขียนเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้

ชื่อ การเขียนแบบ การเขียนแบบ


เงื่อนไขของเซต
เซต แจกแจงสมาชิก บอกเงื่อนไข
A A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ A = {a, e, i, o, u} A = {x  x เป็นสระในภาษาอังกฤษ}
B B = เซตของจังหวัดในประเทศไทย B = {จันทบุร}ี B = {x  x เป็นจังหวัดในประเทศไทย
ที่ขึ้นต้นด้วย “จ” ที่ขึ้นต้นด้วย“จ”}
C C = เซตของจานวนนับ C = {1, 2, 3,...} C = {x  x เป็นจานวนนับ} หรือ
C = {x  xN}
D D = เซตของจานวนนับที่นอ้ ยกว่า 5 D = {1, 2, 3, 4} D = {x  xN และ x<5}
E E = เซตของจานวนคีบ
่ วกทีไ่ ม่เกิน 99 E = {1, 3, 5,...,99} E = {x xเป็นจานวนคี่และ0<x100}

F F = เซตของคาตอบของสมการ x+1=5 F = {4} F = {x  x + 1 = 5}


G G = เซตของจานวนเต็มบวก G = {1, 2, 3,...} G = {x x เป็นจานวนเต็มบวก} หรือ
G = {x  xI+}
H H = เซตของจานวนเต็มที่สอดคล้อง H = {5, 6, 7,... } H = {x  xI และ x+1>5}
กับอสมการ x+1>5
J J = เซตของจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง J = {-7,-6,-5,...,39} J = เซตของจานวนเต็มและ-8<x<40}
-8 กับ 40 หรือ J = {x  xI และ -8<x<40}

ให้นักเรียนบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือข้อสังเกต จากการตัวอย่างเขียนเซตในตารางข้างต้น
(ก่อนการศึกษาจากใบความรู้ที่ 1.2) ซึ่งจะพบว่า
1. การเขียนชื่อเซตจะใช้ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
2. มีการเขียนเซตทั้งหมด _ _ _ _ แบบ
แบบที่ 1 คือ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ แบบที่ 2 คือ_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
โดยจะมีลักษณะดังนี้_ _ _ _ _ _ _ _ _ โดยจะมีลักษณะดังนี้ _ _ _ _ _ _ _ _ _
__________________ __________________
__________________ __________________
__________________ __________________
______________________________________

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  11


ใบความรูท
้ ่ี 1.1.2
เรื่อง หลักการเขียนเซต
คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในใบความรู้ พร้อมทั้งตอบคาถามและเติมคาในช่องว่าง
ให้สมบูรณ์เพื่อความเข้าใจก่อนการทาแบบฝึก

โดยทั่วไปจะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B, C แทนเซตชื่อเซตต่าง ๆ


และเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก (Element) และใช้สัญลักษณ์  แทน การเป็นสมาชิกของ
ซึ่งการเขียนเซตอาจเขียนได้ 2 แบบ คือ
1) การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกเป็นการเขียนสมาชิกทุกตัวของเซตนั้นลงใน
เครื่องหมายวงเล็บปีกกา“{ }”และคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัวด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) ดังนี้
1.1 ถ้าสมาชิกของเซตมีน้อย ให้เขียนสมาชิกครบทุกตัว
เช่น ให้ A เป็นเซตของเลขโดดซึ่งเป็นจานวนเฉพาะ
เขียนแทนเซต A แบบแจกแจงสมาชิกได้ ดังนี้ A = {2 ,3, 5, 7}
โดยจะเห็นว่า A มีสมาชิก 4 ตัว เขียนแทนด้วย n(A) = 4
ซึ่งมี 2A อ่านว่า 2 เป็นสมาชิกของ A
3A อ่านว่า 3 เป็นสมาชิกของ A
5A อ่านว่า 5 _ _ _ _ _ _ _ _
_ _ _อ่านว่า 7 เป็นสมาชิกของ A
และ 9  A อ่านว่า 9 ไม่เป็นสมาชิกของ A
1.2 ถ้าสมาชิกของเซตมีมาก และเป็นระเบียบจนสามารถบอกสมาชิกตัวต่อไปได้
สามารถเขียนละสมาชิกตัวที่เหลือ โดยใช้จุดสามจุด “...”
เช่น ให้ B เป็นเซตของจานวนนับ
เขียนแทนเซต B แบบแจกแจงสมาชิกได้ คือ B = {1, 2, 3, …}
1.3 ถ้าสมาชิกในเซตนั้นมีจานวนมาก และเป็นระเบียบจนสามารถบอกสมาชิกตัว
ต่อไปได้ อีกทั้งทราบจานวนสมาชิกที่แน่นอนเราสามารถเขียนละสมาชิกตัวที่เหลือโดยเขียน
เพียงสามตัวแรก แล้วตามด้วยจุด 3 จุด และเขียนสมาชิกตัวสุดท้ายไว้ด้วย
เช่น ให้ C เป็นเซตของอักษรในภาษาอังกฤษ
เขียนแทนเซต C แบบแจกแจงสมาชิกได้ คือ C = { a, b, c, ... , z}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  12


ตัวอย่างที่ 1
A = {a, b, c} มีความหมายดังนี้
A คือ กลุ่มอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กโดยมีสมาชิก 3 ตัว คือ a, b, c
เขียนแทน จานวนสมาชิกของ A ด้วย n(A) = 3

ตัวอย่างที่ 2
B = {คน} มีความหมายดังนี้
B คือ กลุ่มของคาในภาษาไทยว่า “คน” มีสมาชิกตัวเดียว
เขียนแทน จานวนสมาชิกของ B ด้วย n(B) = 1

ตัวอย่างที่ 3
C = {1, 2, 3} มีความหมายดังนี้
C คือ กลุ่มของตัวเลข มีสมาชิก 3 ตัว คือ 1, 2, 3
เขียนแทน จานวนสมาชิกของ C ด้วย n(B) = 3

ตัวอย่างที่ 4
D = {123} มีความหมายดังนี้
D คือ กลุ่มของตัวเลข “123” ซึ่งมีสมาชิกตัวเดียว
เขียนแทน จานวนสมาชิกของ D ด้วย n(B) = 1

หมายเหตุ 1. ในการเขียนเซตถ้าสมาชิกในเซตซ้ากันให้เขียนเพียงแค่ตัวเดียว
เช่น A = {a, b, c, c, c, d, d} ให้เขียนเป็น A = {a, b, c, d}
2. ในการเขียนเซตสมาชิกภายในเซตสามารถเขียนสลับที่กันได้
เช่น B = {5, 6, 7} สามารถเขียนได้เป็น B = {7, 5, 6}
2) การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก คือ การเขียนเซตโดยใช้ตัวแปร
เขียนแทนสมาชิกของเซต เช่น x, y, z และเขียนอธิบายเงื่อนไขที่เป็นคุณสมบัติของตัวแปร
โดยคั่นด้วยเครื่องหมาย “” ซึ่งแทนคาว่า “โดยที่” ภายในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา
ตัวอย่างที่ 5
ให้ E = {1, 3, 5, 7} เขียนแทนเซต A แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกได้ ดังนี้
E = {xx เป็นจานวนเต็มคี่บวกตั้งแต่ 1 ถึง 7}
(อ่านว่า E เป็นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก x โดยที่ x เป็นจานวนเต็มคี่บวกตั้งแต่ 1 ถึง 7)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  13


เราสามารถนาสัญลักษณ์แทนเซตต่อไปนี้ไปใช้ในการเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
R แทน เซตของจานวนจริง Q แทน เซตของจานวนตรรกยะ
R แทน เซตของจานวนจริงบวก Q+ แทน เซตของจานวนตรรกยะบวก
+

R- แทน เซตของจานวนจริงลบ Q- แทน เซตของจานวนตรรกยะลบ


I แทน เซตของจานวนเต็ม Q′ แทน เซตของจานวนอตรรกยะ
I+ แทน เซตของจานวนเต็มบวก N แทน เซตของจานวนนับ
I- แทน เซตของจานวนเต็มลบ P แทน เซตจานวนเฉพาะบวก

ตัวอย่างที่ 6
ให้ F = {1, 2, 3, 4, 5} เขียนแทนเซต F แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกได้ ดังนี้
F = {x  xN และ x < 6}
(อ่านว่า F เป็นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก x โดยที่ x เป็นจานวนนับ และ x < 6)
หรือ F = {x  xI และ 1  x  5}
(อ่านว่า F เป็นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก x โดยที่ x เป็นจานวนเต็ม และ 1  x  5)
เซตเดียวกันสามารถเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขได้หลายแบบ

ตัวอย่างที่ 7
ให้ G = {x  x = สัตว์} มีความหมายดังนี้
G มีสมาชิกเพียง 1 ตัว คือกลุ่มคาภาษาไทยว่า “สัตว์” n(G) = 1
อาจเขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้เป็น G = {สัตว์}

ตัวอย่างที่ 8
ให้ H = {x  x เป็นสัตว์} มีความหมายดังนี้
H คือ กลุ่มของสัตว์ทั้งหมด เช่น ช้าง ม้า นก เป็นต้น มีสมาชิกหลายตัว

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  14


แบบฝึกความเข้าใจที่ 1.1
1. จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก ถใถ
1) เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ “อ”

_ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ __ __ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ __ _ __ _ _ _ _
______
2) เซตของจานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 100

____________________________________________
______
3) เซตของจานวนเต็มคี่บวกที่น้อยกว่า 11

____________________________________________
______
4) เซตของจานวนเต็มลบที่มากกว่า -1000

____________________________________________
______
5) เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 50

____________________________________________
______
6) เซตของสระในภาษาอังกฤษ

____________________________________________
______
7) เซตของจานวนเต็มบวกที่มีหนึ่งหลัก
____________________________________________
______
8) เซตของจานวนคู่บวกที่น้อยกว่า 11

_ _ _ _ _ __ _ __ _ _ _ __ _ _ _ _ _ __ __ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ __ _ __ _ _ _ _
______
3
9) เซตคาตอบของสมการ x = -64

_________________________________________
_________

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  15


2. จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไขสมาชิก
1) {-3, -2, -1, 0 1, 2, 3}

________________________________________________
__
2) {กุมภาพันธ์}

________________________________________________
__
3) {2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19}

________________________________________________
__
4) {0, 2, 4, 6,... }

________________________________________________
__
5) {-2, 2}

________________________________________________
__
6) {2, 3, 4, 5, 6, 7,...}

________________________________________________
__
7) {1, 3, 5, 7,...}

________________________________________________
__
8) {100, 101, 102,...,999}

________________________________________________
__
9) {..., -2, -1, 0, 1, 2,...}

________________________________________________
__
10) {4, 8, 12, 16,...}

___________________________________________
_______

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  16


3. จงเติมเซตตามเงื่อนไขในแต่ละข้อในตารางให้สมบูรณ์

ข้อ การเขียนแบบแจกแจงสมาชิก การเขียนแบบบอกเงื่อนไข


1 A = {แดง, ขาว, น้าเงิน} A = {x | x เป็นเซตของสีธงชาติ}
2 B=_____________ B = {x | x เป็นจังหวัดที่ขึ้นต้นด้วย ย}
3 C = {1, 2, 3, 4, 5,…,55} C=_________________
4 D=_____________ D = {x | x  I+}
5 E = {ก, ข, ค, ง, จ,…,ฮ} E=_________________
6 F=_____________ F = {x | x  I+ ; หารด้วย 7 ลงตัว}
7 G=_____________ G = {x | x N; -5 < x ≤ 5}
8 H=_____________ H = {x | x เป็นจานวนคี่ ; x ≥ -1}
9 K = {2, 3, 5, 7} K=_________________
10 M = {a , o} M=_________________
11 N=_____________ N = {x | xI-; x เป็นเลข 2 หลัก}
12 O = _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ O = {x | xN ; x หารด้วย 9 ลงตัว}
13 P=_____________ P = {x | x เป็นสระของคาว่า expensive}
14 Q = {6, 12, 18, 24,…} Q=_________________
15 R = {0} R=_________________
16 S = {1, 8, 27,…} S=_________________

4. จงบอกจานวนสมาชิกของเซตต่อไปนี้
1) A = {3, 8, 4, 2, 6} _ _ _ _ ___ _
2) B = {-3, -9, -3, 19, -6, -9, -3} _ _ _ _ ___ _
3) C = {2165} _ _ _ _ ___ _
4) D = {x | x = คน} _ _ _ _ ___ _
5) E = {0} _ _ _ _ ___ _
6) F = {x | x2 = 49} _ _ _ _ ___ _
7) G = {x | x3 = 1,000} _ _ _ _ ___ _
8) H = {x | x = 3n เมื่อ n = 1, 2, 3,...,10} _ _ _ _ ___ _
9) I = {x | xN และ x = m-5 เมื่อ m = 1, 2, 3,...,10} _ _ _ _ _ _ _ _
10) J = { x | xN และ -7<x<4 } ________

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  17


5. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อว่าถูกหรือผิด

เมื่อกาหนดให้ A = {0 , {0}, } ใช้ตอบคาถามข้อ 1 - 6


_ _ _ _ 1) n(A) = 3 _ _ _ _ 2) 0A
_ _ _ _ 3) A _ _ _ _ 4) {0, {0}}A
_ _ _ _ 5) {0}A _ _ _ _ 6) {{0}}A

เมื่อกาหนดให้ B = {{1,2}, {{3}}} ใช้ตอบคาถามข้อ 7 - 12


_ _ _ _ 7) n(B) = 3 _ _ _ _ 8) 2A
_ _ _ _ 9) {1}A _ _ _ _ 10) {{3}}A
_ _ _ _ 11) {1,2}A _ _ _ _ 12) {{2}}A

6. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อว่าถูกหรือผิด

_ _ _ _ 1) ถ้า A = {a, b, c, d} แล้ว n(A) = 4


_ _ _ _ 2) 2  {1, {2, 3, 4}}
_ _ _ _ 3) {12345} เป็นเซตที่มีสมาชิก 5 ตัว
_ _ _ _ 4) {a, b, c}  {{a, b,}, a, {a, b, c}}
_ _ _ _ 5) {xx เป็นจานวนเต็มที่น้อยกว่า 5} เขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้เป็น {1,2,3,4}
_ _ _ _ 6) ถ้า B = {1, 0, 2, 3, 1, 0} แล้ว n(B) = 6
_ _ _ _ 7) ถ้า C = {{1, 2, 3}} แล้ว n(C) = 1
_ _ _ _ 8) 4.5  {x | x N; 3 ≤ x ≤ 5}
_ _ _ _ 9) -3  {x | xI และ x2 = 9}
_ _ _ _10) {1, 2}  {1, 2, 3}
_ _ _ _11) {1, 2}  {1, 2, {1, 2}, 3}
_ _ _ _12) {}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  18


1.2 เซตว่าง
เซตจากัด และเซตอนันต์

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  19


กิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.2 เรื่อง 1เซตว่าง เซตจากัด และเซตอนันต์

คาชี้แจง : ครูถาม นักเรียนตอบโดยเติมข้อความลงในตารางให้สมบูรณ์


เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเซตว่าง เซตจากัด และเซตอนันต์

คาถาม: ให้นักเรียนหา ตอบ: เขียนเซตในรูป จานวน ข้อสรุป ข้อสรุป


ข้อ จานวนสมาชิกของเซตต่อไปนี้ การแจกแจงสมาชิก สมาชิก (1) (2)
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง เซตของจานวนเฉพาะที่น้อยกว่า 10 {2, 3, 5, 7} 4
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง {x  xI และ x >10} {11, 12, 13,...} ระบุไม่ได้
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง {x I+ x + 2 = 2 } { } (ไม่มีสมาชิกในเซต) 0
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง เซตของพยัญชนะในภาษาไทย {ก, ข, ฃ,...,ฮ} 44
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
1 {x | x = แมว} ____________ ____
เซตอนันต์
ไม่เป็นเซตว่าง
เซตว่าง เซตจากัด
2 {x  xR และ x2 = -1} ____________ ____
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตของจานวนเต็มคู่บวกที่มี 5 เซตว่าง เซตจากัด
3 _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
อยู่ในหลักสิบ
เซตว่าง เซตจากัด
4 {x xI+ และ x < 4} ____________ ____
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
5 {xx =2n เมื่อ n เป็นจานวนนับ} ____________ ____
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
6 เซตของจานวนเต็มที่นาไปหาร 0 เซตว่าง เซตจากัด
_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
ได้ลงตัว

จากข้อสรุป(1) สรุปได้ว่า เซตว่าง คือ เซตที่ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _


จากข้อสรุป(2) สรุปได้ว่า เซตจากัด คือ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
_____________________
เซตอนันต์ คือ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
_____________________
และความสัมพันธ์ระหว่างข้อสรุป(1)และ(2) จะได้วา่ เซตว่าง เป็นเซต _ _ _ _ _ _ _
นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใด _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  20


ใบความรู้ที่ 1.2
เรื่อง เซตว่าง เซตจากัด และเซต
อนันต์้ พร้อมทั้งตอบคาถามและเติมคาในช่องว่าง
คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในใบความรู
ให้สมบูรณ์เพื่อความเข้าใจก่อนทาแบบฝึกหัด

เซตว่าง
เซตที่ไม่มีสมาชิก เรียกว่า เซตว่าง (empty set หรือ null set)

นั่นคือ เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิกหรือเซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากับศูนย์

เซตว่างเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ { } หรือ 
( เป็นอักษรกรีกตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า phi)

ตัวอย่าง A = เซตของเดือนที่มี 32 วัน ซึ่งจะได้ว่า A =  หรือ A = { }


ของเซตว่าง B = {x  xN และ x<1} ซึ่งจะได้ว่า B =  หรือ B = { }

เซตจากัด และ เซตอนันต์

เซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากับจานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย์ เรียกว่า เซตจากัด (finite set)

เซตที่ไม่ใช่เซตจากัด เรียกว่า เซตอนันต์ (infinite set)

ตัวอย่าง A = {1, 2, 3,...,30} จะได้ว่า A เป็นเซตจากัด เพราะ A มีสมาชิก 30 ตัว


ของเซตจากัด B = {x  xN และ 2<x<3} จะได้ว่า B เป็นเซตจากัด เพราะ B มีสมาชิก 0 ตัว

C = {1, 2, 3,...}
ตัวอย่าง
D = {x  xN และ x<4}
ของเซตอนันต์
เซตของจานวนเต็ม

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  21


แบบฝึกความเข้าใจที่ 1.2
1. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อว่าถูกหรือผิด ถใถ
_ _ _1) เซตของเส้นตรงที่ลากผ่านจุด O เป็นเซตจากัด
_ _ _2) {x | xR และ 0<x<3} เป็นเซตจากัด
_ _ _3) {x | xI และ 0<x<3} เป็นเซตจากัด
_ _ _4) {x | xI+ และ x<-3} เป็นเซตอนันต์
_ _ _5)  เป็นเซตจากัด
_ _ _6) {1, 2, 3,...,100} เป็นเซตอนันต์
_ _ _7) {x | x เป็นจานวนเต็ม} เป็นเซตอนันต์
_ _ _8) {x | x = เป็นจานวนเต็ม} เป็นเซตอนันต์
_ _ _9) {จานวนจริง} เป็นเซตอนันต์
_ _ _10) {x | x = 1 โดยที่ n เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 999} เป็นเซตอนันต์
n
=

2. จงพิจารณาว่าเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นเซตว่างหรือไม่เป็นเซตว่าง

ข้อ เซตที่กาหนดให้ เป็นเซตว่าง ไม่เป็นเซตว่าง


1 {}
2 เซตของจานวนเต็มที่เป็นจานวนนับ
3 {x | xI+ และ x<1}
4 {x | x เป็นจานวนคี่ที่หารด้วย 2 ลงตัว}
5 {x | xI และ 1<x<2}
6 {x | xI- และ x>-2}
7 {x | x  x}
8 {0}
9 {x | xเป็นจานวนเต็มบวก และ x+2=0}
10 {x | x เป็นจานวนเต็มบวกที่อยู่ระหว่าง 3 และ 4

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  22


3. ให้นักเรียนเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก พร้อมทั้ง ใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง
ที่ตรงกับชนิดของเซตที่กาหนดให้
ชนิดของเซต
เขียนเซตแบบ
ข้อ เซตที่กาหนดให้ เซต เซต เซต
แจกแจงสมาชิก
ว่าง จากัด อนันต์
1 {x  xN และ 3<x6 }
2 {x  x I และ x>10}
3 {x  x เป็นจานวนนับที่หารด้วย 2 ลงตัว}
4 {x x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง –2 กับ 1}
5 {x  xI และ x+1 = 1+x}
6 {x  x3 – x = 0}
7 {x  x เป็นจานวนคี่ตั้งแต่ 15 ถึง 25}
8 เซตของจานวนเต็มบวกทีม่ ีสองหลัก

9 {x  xI และ x = n + 1 ,nI+}


2

10 {x  x = n , nI+}
2
11 {x  x เป็นตัวเลขโดดในจานวน “411,001”}
12 {x  x เป็นจานวนเต็มคู่ที่เป็นคาตอบของ
2x2-9x -5 = 0}
13 เซตของจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 2
14 {x  x2 < 0}
15 {x  x เป็นจังหวัดในประเทศไทยทีข่ ึ้นต้น
ด้วย “ล”

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  23


1.3 เซตที่เท่ากัน
และเซตเทียบเท่ากัน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  24


กิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.3 เรื่อง 1เซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน

คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาความสัมพันธ์ของเซตที่กาหนดให้ต่อไปนี้
และสรุปแนวคิดของเซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน
ข้อ เซตที่กาหนดให้ ความสัมพันธ์ของเซต A และเซต B
เซต A เซต B เซตเท่ากัน เซตเทียบเท่ากัน
1 {1, 2, 3} {1, 2, 3}  
2 {1, 2, 3} {a, b, c} - 
3 {1, 2, 3, 4} {1, 2, 3} - -
4 {5, 6, 7, 8} {-5, -6, -7, -8} - 
5 {11} {1, 1} - -
6 {2} {{2}} - 
7 {1, 1, 2, 3} {1, 2, 3, 3}  
8 {1, 2, 3,...,10} {11, 12, 13,...,20} - 
9 {1, 2, 3,...,10} {1, 2, 3,...} - -
10 {1, {1,2}} {1, {2}} - 
11  {} - -
12 {2, 3, 4, 5} {5, 4, 3, 2} _____ _____
13 {0, 1, 2,...,9} {x | xI และ x<9} _____ _____
14 {x | x เป็นจานวนคี่ {1, 3, 5, 7, 9}
_____ _____
ระหว่าง 1 และ 12}
15 __________ _________  

จากกิจกรรมสรุปได้ว่า
เซต A เท่ากับ เซต B เมื่อ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
เซต A เทียบเท่ากับ เซต B เมื่อ_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  25


ใบความรูท
้ ่ี 1.3
เรื่อง เซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในใบความรู้ พร้อมทั้งตอบคาถามและเติมคาในช่องว่าง
ให้สมบูรณ์เพื่อความเข้าใจก่อนทาแบบฝึกหัด

เซตทีเ่ ท่ากัน
กาหนดให้เซต A และเซต B เป็นเซตใด ๆ
เซต A เท่ากับเซต B ก็ตอ่ เมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และ
สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต
สัญลักษณ์ เซต A เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A = B

ถ้าเซต A ไม่เท่ากับเซต B หมายความว่า มีสมาชิกย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่ใช่สมาชิก


ของเซต B หรือสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช่สมาชิกของเซต A
สัญลักษณ์ เซต A ไม่เท่ากับเซต B เขียนแทนด้วย A ≠ B

ตัวอย่างที่ 9 กาหนดให้ A = {0, 1, 2, 3, 4}


B = {1, 2, 3, 4, 0}
C = {1, 2, 3, 4}
จะเห็นว่า A = B, A ≠ C, B ≠ C

ตัวอย่างที่ 10 กาหนดให้ D = {x  x เป็นจานวนคี่บวกที่น้อยกว่า 10}


E = {1, 3, 5, 7, 9}
F = {2, 3, 5, 7}
จะเห็นว่า D = E, D ≠ F, E ≠ F

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  26


เซตเทียบเท่ากัน
กาหนดให้เซต A และเซต B เป็นเซตใด ๆ
เซต A และเซต B เป็นเซตเทียบเท่ากัน ก็ต่อเมื่อ จานวนสมาชิกของเซต A
เท่ากับจานวนสมาชิกของเซต B

ตัวอย่างที่ 11 กาหนดให้ A = {6, 7, 8, 9} B = (x, y, z, w)


จะได้ว่า เซต A เทียบเท่ากับ เซต B

ตัวอย่างที่ 12 กาหนดให้ A = {q, r, s, t}


B = {s, s, t, r, q, q}
C = {q, r, r, r, w, s, s}
จะได้ว่า เซต A เทียบเท่ากับ เซต B
เซต B เทียบเท่ากับ เซต C
เซต C เทียบเท่ากับ เซต A

ตัวอย่างที่ 13 กาหนดให้ A = {ก, ข, ค, ง}


B = {1, 1, 2, 3, 3}
C = {5, , 6}
และ D = {8, 7, 7, 9, 10}
จะได้ว่า เซต A เทียบเท่ากับ เซต D
เซต B เทียบเท่ากับ เซต C

ตัวอย่างที่ 14 กาหนดให้ A = {x  x N และ -2 x 3}


B = {x  x I และ -2  x 3}
C = {x  x เป็นจานวนคี่บวกที่อยู่ระหว่าง 1 กับ 9}
จะได้ว่า เซต A เทียบเท่ากับ เซต C

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  27


แบบฝึกความเข้าใจที่ 1.3
ถใถ
1. เซตคู่ใดต่อไปนี้เท่ากันหรือไม่เท่ากันโดยทาเครื่องหมาย = หรือ ≠ ระหว่างเซตที่กาหนด

1) {a, m, s} _ _ _ {s, a, m}
2) {D, E, A, R} _ _ _ {R, O, A, D}
3) {1, 2, 3, 3} _ _ _ {1, 1, 2, 2, 3}
4) {} _ _ _ 
5) {} _ _ _ {0}
6) {1, 2, 3} _ _ _ {x | xN และ x < 3}
7) {A, O} _ _ _ {x | x เป็นสระในคาว่า auction}
8) {5} _ _ _ {x | x เป็นจานวนเต็ม และ x2 = 25}
9) {x | x + 5 = 9 } _ _ _ {x | x2=16}
10) {สุนทรภู่} _ _ _ {กวีเอกของไทย}

2. จงพิจารณาเซตที่กาหนดให้ มีเซตใดบ้างเป็นเซตที่เท่ากัน

A = {x  x เป็นจานวนเต็มที่น้อยกว่า 10}
B = {x  x = 2n+1 เมื่อ n  I+}
C = {x  x เป็น ห.ร.ม.ของ 1012 และ 1292}
D = {x  I  x > 2 และ 2 หาร x ไม่ลงตัว}
E = {x  I  x  9}
F = {x  x  I และ x เป็นคาตอบของสมการ x = }
G = {x  x เป็นจานวนจริงที่มี 3 เป็นตัวประกอบ}
H = {x  x = 3n เมื่อ nI}
I = {x  x เป็นจานวนเต็มบวกคี่ที่มากกว่า 1}
J = {x  x  I และ 4x2 – 17x + 4 = 0}

_ _ _ _ _ _ _ _ _
_____________ _ _ _ ________
_ _ _ _ _ _ _ _ _
_____________ _ _ _ ________
_ _ _ _ _ _ _ _ _
_____________ _ _ _ ________
_ _ _ _ _ _ _
_ _ _ _ _ _ _
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  28
3. ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย ลงในตารางที่ตรงกับความสัมพันธ์ของเซต A และเซต B
ในแต่ละข้อต่อไปนี้

ข้อ เซต A เซต B เท่ากัน ไม่เท่ากัน เทียบเท่ากัน


1 {a, b, c} {c, b, a}
2 {a, a, b, c} {a, b, c, c}
3 {a, b, c} {1, 2, 3}
4 {7, 8, 9, 0} {p, q, r, s}
5 {m, n, o} {mno}
6 {0, 1, -1} {-1, 0, 1}
7 {1, 2, 3,…,99} {111, 112, 113,…,999}
8 {0, 1} {x | x2 –x = 0}
9 {2, 5, 4, 5} {2545}
10 {x | x2 -3x = -2} {2, 1}
11 {1, 2, 3, …, 9, 10} {x  xI+ และ 1 x 10}
12 {10, 15, 20} {10, 15, 25}
13 {xI  x2+ x – 12 = 0} {-3, 4}
14 {2} {xI+ x2 - 4 = 0}
15 {2, 4, 6, 8, 10} {xI  x เป็นจานวนคู่ที่
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10}
16 {-3, 3} {xI  x4 = 81}
17 {x xN และ -3x 3} {x  -3 x  3 }
18 {1, 12, 1} {1, 2}
19 {x  x เป็นพยัญชนะใน { x  x2-x = 12}
คาว่า “เซต”}
20 {xI  x2 < 1} {xI  4<x5}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  29


แบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

ชื่อ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชั้น _ _ _ _ เลขที่ _ _ _ _

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. 2, 3, 5, 7 เป็นสมาชิกของเซตในข้อใด 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. เซตของจานวนคี่ตั้งแต่ 0 ถึง 7 ก. ถ้า n(A) = n(B) แล้ว A = B
ข. เซตของจานวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 0 ถึง 9 ข. {4, 5}{4, 5, {4, 5}}
ค. เซตของจานวนนับตั้งแต่ 2 ขึ้นไป ค. {abcde} เทียบเท่ากับ {}
ง. เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 7 ง. {} ไม่ใช่เซตว่าง
2. กาหนดให้ A = {1, 2, {3,4}, 5, 6} ข้อใดต่อไปนี้ 7. กาหนดให้ B = {x | x N; -3 < x ≤ 4}
ถูกต้อง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. 3A ข. n(A) = 6 ก. -1B ข. n(B) = 7
ค. {3,4} A ง. {5,6} A ค. 4B ง. เซต B เป็นเซตจากัด
3. เขียนเซต {-2, 0, 2, 4,...} แบบบอกเงื่อนไข 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตอนันต์
ได้ตรงกับข้อใด ก. {x  x = 1-n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5}
ก. {x  x เป็นจานวนคู่ที่มากกว่า -2} ข. {x  x = n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…,999}
ข. {x  x เป็นจานวนคู่บวกที่ไม่น้อยกว่า -2} ค. {x  x = 3n เมื่อ n เป็นจานวนนับ
ค. {x  x = 2n เมื่อ n เป็นจานวนนับ} ตั้งแต่ 1 ถึง 10}
ง. {x  x เป็นจานวนคู่ที่ไม่น้อยกว่า -2} ง. {x  xR และ 3  x<4}
4. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 9. เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตว่าง
ก. {1, 2, 3} = {123} ก. {x x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง–1 กับ 1}
ข. {3}  {1,{3}} ข. {x | x เป็นจานวนคู่ที่หารด้วย 5 ลงตัว}
ค. {1, 2, 3,...,999} เป็นเซตอนันต์ ค. {x | x เป็นจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 3}
ง. {{ }} เป็นเซตจากัด ง. {x | xI- และ x>-1}
5. กาหนดเซต A = {x  N  2  x < 4} 10. เซตในตัวเลือกใดต่อไปนี้เท่ากัน
B = {x  I  x2- x = 6} ก. {x | x = จานวนเต็ม} กับ
ข้อใดต่อไปนี้สรุปได้ถูกต้อง {x | x เป็นจานวนเต็ม}
ก. A = B ข. {9, -9} กับ {x | x2 = 81}
ข. เซต A เทียบเท่ากับ เซต B ค. {x | x แทนพยัญชนะในคาว่า“กรรมการ”}
ค. เซต A เป็นเซตอนันต์ กับ {x | x แทนพยัญชนะในคาว่า“มากกว่า”}
และเซต B เป็นเซตจากัด ง. {1, 3, 5, 7, 9} กับ
ง. n(A) = 3 {x | x เป็นจานวนเต็มบวกคี่}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  30


กระดาษคาตอบ

แบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

ชื่อ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชั้น _ _ _ _ เลขที่ _ _ _ _

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนที่ได้
10
ผ่าน
ไม่ผา่ น

หมายเหตุ : ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน นักเรียนตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน


โดยนักเรียนจะผ่านเกณฑ์เมื่อได้คะแนนตั้งแต่ 6 คะแนนขึ้นไป

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  31


เฉลย
กิจกรรมแนะแนวทาง
แบบฝึกความเข้าใจ
แบบทดสอบ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  32


1
เฉลยกิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.1.1 เรื่อง ความหมายของเซต

คาชี้แจง : ครูกาหนดคนจานวน 12 คน โดยมีชื่อต่าง ๆ ดังภาพ


ให้นักเรียนช่วยกันหาสมาชิกในกลุ่ม จากคนทั้ง 12 คน ตามเงื่อนไข
ของกลุ่มแต่ละข้อต่อไปนี้

A B C D E F G H I J K L
ใครเป็นสมาชิก จานวน
กลุ่มที่ เงื่อนไข
ของกลุ่มบ้าง สมาชิกในกลุ่ม
(ตัวอย่าง) กลุ่มของคนที่ใส่แว่น A, G, I, K 4
1 กลุ่มของผู้ชาย A, B, E, F, G, L 6
2 กลุ่มของผู้ชายหน้าตาดี ไม่สามารถบอกสมาชิกได้ บอกไม่ได้
3 กลุ่มของผู้หญิง C, D, H, I, J, K 6
4 กลุ่มของคนที่ใส่กางเกง A, B, E, F, G, I, K, L 8
5 กลุ่มของผู้ชายใส่แว่น G 1
6 กลุ่มผู้หญิงสวย ไม่สามารถบอกสมาชิกได้ บอกไม่ได้
7 กลุ่มของคนเก่ง ไม่สามารถบอกสมาชิกได้ บอกไม่ได้
8 กลุ่มของคนผูกเนคไท A, E, F, G, L 5
9 กลุ่มของผู้หญิงที่ใส่กระโปรง C, D, H, J 4
10 กลุ่มของผู้หญิงใส่แว่น I, K 2

ข้อสรุปจากกิจกรรม
มีบางกลุ่มไม่สามารถระบุสมาชิกของกลุ่มได้ ซึ่งได้แก่ กลุ่มที่ 2, 6, 7 และ
มีบางกลุ่มสามารถระบุ สมาชิก ของกลุ่มได้ ซึ่งได้แก่กลุ่มที่ 1, 3, 4, 5, 8, 9, 10
โดยจะเรียกกลุ่มที่ทราบสมาชิกแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่หรือไม่อยู่ในกลุ่มนั้นว่า “เซต”
เช่น เซตของคนที่ใส่แว่น

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  33


เฉลยใบความรู้ที่ 1.1.1
คาถาม
เรื่อง ความหมายของเซต
คาถามในใบความรู้

สรุปนะครับว่า เซต จะเกิดขึ้นเมื่อ เราสนใจที่จะศึกษากลุ่มของสิ่งต่าง ๆ


ซึ่งจะต้องชัดเจนด้วยนะว่า สิ่งใดอยู่ในกลุ่ม หรือสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม
ถ้านักเรียนเข้าใจดีแล้ว ลองตอบซิว่า แล้วถ้าสนใจรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และสนใจคนที่หน้าตาดีที่สุดในประเทศไทย กลุ่มไหนเกิดเซตกลุ่มไหน
ไม่เกิดเซตกลุ่มที่เกิดเซตให้บอกสมาชิกของเซตด้วย

เฉลย 1) สนใจรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เกิดเป็นเซตนะ เพราะสามารถบอกได้ว่ามีอะไรเป็น


สมาชิกของกลุ่มบ้าง ซึ่งสามารถเรียกได้ว่า เซตของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยมี
สมาชิกของเซตเป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้า และสี่เหลี่ยมจัตุรัส
2) สนใจคนที่หน้าตาดีที่สุดในประเทศไทย อย่างนี้ไม่เกิดเซตนะ เพราะคนหน้าตาดี
ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถบอกได้ว่า ใครอยู่หรือไม่อยู่ในกลุ่มบ้าง

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  34


เฉลยกิจกรรมแนะแนวทางที1่ 1.2 เรื่อง หลักการเขียนเซต

คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาวิธีการเขียนเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้

ชื่อ การเขียนแบบ การเขียนแบบ


เงื่อนไขของเซต
เซต แจกแจงสมาชิก บอกเงื่อนไข
A A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ A = {a, e, i, o, u} A = {x  x เป็นสระในภาษาอังกฤษ}
B B = เซตของจังหวัดในประเทศไทย B = {จันทบุร}ี B = {x  x เป็นจังหวัดในประเทศไทย
ที่ขึ้นต้นด้วย “จ” ที่ขึ้นต้นด้วย“จ”}
C C = เซตของจานวนนับ C = {1, 2, 3,...} C = {x  x เป็นจานวนนับ} หรือ
C = {x  xN}
D D = เซตของจานวนนับที่นอ้ ยกว่า 5 D = {1, 2, 3, 4} D = {x  xN และ x<5}
E E = เซตของจานวนคีบ
่ วกทีไ่ ม่เกิน 99 E = {1, 3, 5,...,99} E = {x xเป็นจานวนคี่และ0<x100}

F F = เซตของคาตอบของสมการ x+1=5 F = {4} F = {x  x + 1 = 5}


G G = เซตของจานวนเต็มบวก G = {1, 2, 3,...} G = {x x เป็นจานวนเต็มบวก} หรือ
G = {x  xI+}
H H = เซตของจานวนเต็มที่สอดคล้อง H = {5, 6, 7,... } H = {x  xI และ x+1>5}
กับอสมการ x+1>5
J J = เซตของจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง J = {-7,-6,-5,...,39} J = เซตของจานวนเต็มและ-8<x<40}
-8 กับ 40 หรือ J = {x  xI และ -8<x<40}

ให้นักเรียนบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือข้อสังเกต จากการตัวอย่างเขียนเซตในตารางข้างต้น
(ก่อนการศึกษาจากใบความรู้ที่ 1.2) ซึ่งจะพบว่า
1. การเขียนชื่อเซตจะใช้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่
2. มีการเขียนเซตทั้งหมด 2 แบบ
แบบที่ 1 คือ แบบแจกแจงสมาชิก แบบที่ 2 คือ แบบบอกเงื่อนไข
โดยจะมีลักษณะดังนี้ โดยจะมีลักษณะดังนี้
มีวงเล็บปีกกาและเขียนสมาชิกไว้ภายใน มีวงเล็บปีกกา และใช้ตัวแปรแทนสมาชิก
วงเล็บปีกกาโดยมีลูกน้าคั่นระหว่างสมาชิก โดยเขียนอธิบายเงื่อนไขของสมาชิก
แต่ละตัว
-

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  35


เฉลยใบความรูท
้ ่ี 1.1.2
เรื่อง หลักการเขียนเซต
คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลในใบความรู้ พร้อมทั้งตอบคาถามและเติมคาในช่องว่าง
ให้สมบูรณ์เพื่อความเข้าใจก่อนการทาแบบฝึก

โดยทั่วไปจะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B, C แทนเซตชื่อเซตต่าง ๆ


และเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก (Element) และใช้สัญลักษณ์  แทน การเป็นสมาชิกของ
ซึ่งการเขียนเซตอาจเขียนได้ 2 แบบ คือ
1) การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกเป็นการเขียนสมาชิกทุกตัวของเซตนั้นลงใน
เครื่องหมายวงเล็บปีกกา“{ }”และคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัวด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) ดังนี้
1.1 ถ้าสมาชิกของเซตมีน้อย ให้เขียนสมาชิกครบทุกตัว
เช่น ให้ A เป็นเซตของเลขโดดซึ่งเป็นจานวนเฉพาะ
เขียนแทนเซต A แบบแจกแจงสมาชิกได้ ดังนี้ A = {2 ,3, 5, 7}
โดยจะเห็นว่า A มีสมาชิก 4 ตัว เขียนแทนด้วย n(A) = 4
ซึ่งมี 2A อ่านว่า 2 เป็นสมาชิกของ A
3A อ่านว่า 3 เป็นสมาชิกของ A
5A อ่านว่า 5 เป็นสมาชิกของ A
7A อ่านว่า 7 เป็นสมาชิกของ A
และ 9  A อ่านว่า 9 ไม่เป็นสมาชิกของ A
1.2 ถ้าสมาชิกของเซตมีมาก และเป็นระเบียบจนสามารถบอกสมาชิกตัวต่อไปได้
สามารถเขียนละสมาชิกตัวที่เหลือ โดยใช้จุดสามจุด “...”
เช่น ให้ B เป็นเซตของจานวนนับ
เขียนแทนเซต B แบบแจกแจงสมาชิกได้ คือ B = {1, 2, 3, …}
1.3 ถ้าสมาชิกในเซตนั้นมีจานวนมาก และเป็นระเบียบจนสามารถบอกสมาชิกตัว
ต่อไปได้ อีกทั้งทราบจานวนสมาชิกที่แน่นอนเราสามารถเขียนละสมาชิกตัวที่เหลือโดยเขียน
เพียงสามตัวแรก แล้วตามด้วยจุด 3 จุด และเขียนสมาชิกตัวสุดท้ายไว้ด้วย
เช่น ให้ C เป็นเซตของอักษรในภาษาอังกฤษ
เขียนแทนเซต C แบบแจกแจงสมาชิกได้ คือ C = { a, b, c, ... , z}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  36


เฉลยแบบฝึกความเข้าใจที่ 1.1
1. จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก ถใถ
1) เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ “อ”

{อังคาร, อาทิตย์}

2) เซตของจานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 100

{1, 2, 3, ... ,99}

3) เซตของจานวนเต็มคี่บวกที่น้อยกว่า 11

{1, 3, 5, 7, 9}
4) เซตของจานวนเต็มลบที่มากกว่า -1000

{-999, -998, -997, ... , -1}

5) เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 50

{51, 52, 53, ... }

6) เซตของสระในภาษาอังกฤษ

{a, e, i, o, u}

7) เซตของจานวนเต็มบวกที่มีหนึ่งหลัก

{1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}

8) เซตของจานวนคู่บวกที่น้อยกว่า 11

{2, 4, 6, 8, 10}

9) เซตคาตอบของสมการ x3 = -64

{-4}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  37


2. จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไขสมาชิก
(การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขสมาชิก สามารถเขียนได้หลายแบบซึ่งคาตอบของนักเรียน
อาจเขียนไม่ตรงกับเฉลยก็ได้ แต่จะถูกต้องเมื่อ เงื่อนไขของนักเรียนได้สมาชิกตรงตามโจทย์)
1) {-3, -2, -1, 0 1, 2, 3}

{x | x  I และ -3 x  3}
2) {กุมภาพันธ์}

{x | x เป็นชื่อเดือนที่มี 28 หรือ 29 วัน}

3) {2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19}

{x | x เป็นจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 20}
4) {0, 2, 4, 6,... }

{x | x เป็นจานวนคู่ที่มากกว่า -1}
5) {-2, 2}

{x | x2 = 4}
6) {2, 3, 4, 5, 6, 7,...}

{x | x  I และ x > 1}
7) {1, 3, 5, 7,...}

{x | x เป็นจานวนคี่บวก}
8) {100, 101, 102,...,999}

{x | x เป็นจานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก}
9) {..., -2, -1, 0, 1, 2,...}

{x | x เป็นจานวนเต็ม}
10) {4, 8, 12, 16,...}

{x | x = 4n เมื่อ n = 1, 2, 3, ...}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  38


3. จงเติมเซตตามเงื่อนไขในแต่ละข้อลงในตารางให้สมบูรณ์

ข้อ การเขียนแบบแจกแจงสมาชิก การเขียนแบบบอกเงื่อนไข


1 A = {แดง, ขาว, น้าเงิน} A = {x | x เป็นเซตของสีธงชาติ}
2 B = {ยะลา, ยโสธร} B = {x | x เป็นจังหวัดที่ขึ้นต้นด้วย ย}
3 C = {1, 2, 3, 4, 5,…,55} C = {x | x เป็นจานวนนับที่ไม่เกิน 55}
4 D = {1, 2, 3, ... } D = {x | x  I+}
5 E = {ก, ข, ค, ง, จ,…,ฮ} E = {x | x เป็นพยัญชนะในภาษาไทย}
6 F = {7, 14, 21, ... } F = {x | x  I+ ; หารด้วย 7 ลงตัว}
7 G = {1, 2, 3, 4, 5} G = {x | x N; -5 < x ≤ 5}
8 H = {1, 3, 5, ... } H = {x | x เป็นจานวนคี่ ; x ≥ -1}
9 K = {2, 3, 5, 7} K = {x | x เป็นจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า9}
10 M = {a , o} M = {x | x เป็นสระของคาว่า atom}
11 N = {-99,-98,-97, ... ,-10} N = {x | xI-; x เป็นเลข 2 หลัก}
12 O = {9, 18, 27, ... } O = {x | xN ; x หารด้วย 9 ลงตัว}
13 P = {e, i} P = {x | x เป็นสระของคาว่า expensive}
14 Q = {6, 12, 18, 24,…} Q = {x | xN ; x หารด้วย 6 ลงตัว}
15 R = {0} R = {x | x เป็นจานวนเต็มศูนย์}
16 S = {1, 8, 27,…} S = {x | x = n3 เมื่อ n = 1, 2, 3, ...}

4. จงบอกจานวนสมาชิกของเซตต่อไปนี้
1) A = {3, 8, 4, 2, 6} n(A) = 5
2) B = {-3, -9, -3, 19, -6, -9, -3} n(B) = 4
3) C = {2165} n(C) = 1
4) D = {x | x = คน} n(D) = 1
5) E = {0} n(E) = 1
6) F = {x | x2 = 49} n(F) = 2
7) G = {x | x3 = 1,000} n(G) = 1
8) H = {x | x = 3n เมื่อ n = 1, 2, 3,...,10} n(H) = 10
9) I = {x | xN และ x = m-5 เมื่อ m = 1, 2, 3,...,10} n(I) = 5
10) J = { x | xN และ -7<x<4 } n(J) = 4

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  39


5. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อว่าถูกหรือผิด
เมื่อกาหนดให้ A = {0 , {0}, } ใช้ตอบคาถามข้อ 1 - 6
ถูก 1) n(A) = 3 ถูก 2) 0A
ผิด 3) A ผิด 4) {0, {0}}A
ถูก 5) {0}A ผิด 6) {{0}}A
เมื่อกาหนดให้ B = {{1,2}, {{3}}} ใช้ตอบคาถามข้อ 7 - 12
ผิด 7) n(B) = 3 ผิด 8) 2A
ถูก 9) {1}A ถูก 10) {{3}}A
ถูก 11) {1,2}A ถูก 12) {{2}}A
6. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อว่าถูกหรือผิด
ถูก 1) ถ้า A = {a, b, c, d} แล้ว n(A) = 4
ผิด 2) 2  {1, {2, 3, 4}}
เพราะ {1, {2, 3, 4}} มีสมาชิก 2 ตัว คือ 1 และ {2, 3, 4}}
ดังนั้น 2  {1, {2, 3, 4}}
ผิด 3) {12345} เป็นเซตที่มีสมาชิก 5 ตัว
เพราะ {12345} มีสมาชิกเพียง 1 ตัว คือ 12345
ถูก 4) {a, b, c}  {{a, b,}, a, {a, b, c}}
ผิด 5) {xx เป็นจานวนเต็มที่น้อยกว่า 5} เขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้เป็น {1,2,3,4}
เพราะ เซตของจานวนเต็มที่น้อยกว่า 5 คือ {4, 3, 2, 1, 0, -1, -2, ...}
ผิด 6) ถ้า B = {1, 0, 2, 3, 1, 0} แล้ว n(B) = 6
เพราะ B = {1, 0, 2, 3, 1, 0} = {0, 1, 2, 3} ดังนั้น n(B) = 4
ถูก 7) ถ้า C = {{1, 2, 3}} แล้ว n(C) = 1
ผิด 8) 4.5  {x | x N; 3 ≤ x ≤ 5}
เพราะ {x | x N; 3 ≤ x ≤ 5} เขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้เป็น {3, 4, 5}
เนื่องจาก x เป็นจานวนนับ ดังนั้น 4.5  {x | x N; 3 ≤ x ≤ 5}
ถูก 9) -3  {x | xI และ x2 = 9}
ถูก 10) {1, 2}  {1, 2, 3}
ถูก 11) {1, 2}  {1, 2, {1, 2}, 3}
ถูก 12) {}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  40


เฉลยกิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.2 เรื่อ1ง เซตว่าง เซตจากัด และเซตอนันต์

คาชี้แจง : ครูถาม นักเรียนตอบโดยเติมข้อความลงในตารางให้สมบูรณ์


เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเซตว่าง เซตจากัด และเซตอนันต์

คาถาม: ให้นักเรียนหา ตอบ: เขียนเซตในรูป จานวน ข้อสรุป ข้อสรุป


ข้อ จานวนสมาชิกของเซตต่อไปนี้ การแจกแจงสมาชิก สมาชิก (1) (2)
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง เซตของจานวนเฉพาะที่น้อยกว่า 10 {2, 3, 5, 7} 4
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง {x  xI และ x >10} {11, 12, 13,...} ระบุไม่ได้
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง {x I+ x + 2 = 2 } { } (ไม่มีสมาชิกในเซต) 0
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
ตัวอย่าง เซตของพยัญชนะในภาษาไทย {ก, ข, ฃ,...,ฮ} 44
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
1 {x | x = แมว} {แมว} 1
เซตอนันต์
ไม่เป็นเซตว่าง
เซตว่าง เซตจากัด
2 {x  xR และ x2 = -1} { } (ไม่มีสมาชิกในเซต) 0
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตของจานวนเต็มคู่บวกที่มี 5 เซตว่าง เซตจากัด
3 {50,52,54,56,58,150,152,...} ระบุไม่ได้ ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
อยู่ในหลักสิบ
เซตว่าง เซตจากัด
4 {x xI+ และ x < 4} {1, 2, 3} 3
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
เซตว่าง เซตจากัด
5 {xx =2n เมื่อ n เป็นจานวนนับ} {2, 4, 6,...} ระบุไม่ได้
ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
6 เซตของจานวนเต็มที่นาไปหาร 0 เซตว่าง เซตจากัด
{...,-3,-2,-1, 1, 2, 3,...} ระบุไม่ได้ ไม่เป็นเซตว่าง เซตอนันต์
ได้ลงตัว

จากข้อสรุป(1) สรุปได้ว่า เซตว่าง คือ เซตที่ ไม่มีสมาชิกหรือมีจานวนสมาชิกเท่ากับศูนย์


จากข้อสรุป(2) สรุปได้ว่า เซตจากัด คือ เซตที่สามารถบอกจานวนสมาชิกของเซตในรูป
ของจานวนเต็มบวกหรือศูนย์ได้
เซตอนันต์ คือ เซตที่ไม่สามารถบอกจานวนสมาชิกของเซตได้
นั่นคือ เซตอนันต์คือเซตที่ไม่ใช่เซตจากัด
และความสัมพันธ์ระหว่างข้อสรุป(1)และ(2) จะได้วา่ เซตว่าง เป็นเซต จากัด
นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใด เพราะเซตว่างสามารถบอกจานวนสมาชิกได้ คือ ศูนย์

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  41


เฉลยแบบฝึกความเข้าใจที่ 1.2
1. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อว่าถูกหรือผิด ถใถ
ผิด 1) เซตของเส้นตรงที่ลากผ่านจุด O เป็นเซตจากัด
ผิด 2) {x | xR และ 0<x<3} เป็นเซตจากัด
ถูก 3) {x | xI และ 0<x<3} เป็นเซตจากัด
ผิด 4) {x | xI+ และ x<-3} เป็นเซตอนันต์
ถูก 
5) เป็นเซตจากัด
ผิด 6)
{1, 2, 3,...,100} เป็นเซตอนันต์
ถูก 7)
{x | x เป็นจานวนเต็ม} เป็นเซตอนันต์
ผิด 8)
{x | x = เป็นจานวนเต็ม} เป็นเซตอนันต์
ผิด 9)
{จานวนจริง} เป็นเซตอนันต์
ผิด {x | x = 1n โดยที่ n เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 999} เป็นเซตอนันต์
10)
=
2. จงพิจารณาว่าเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นเซตว่างหรือไม่เป็นเซตว่าง

ข้อ เซตที่กาหนดให้ เป็นเซตว่าง ไม่เป็นเซตว่าง


1 {} 
2 เซตของจานวนเต็มที่เป็นจานวนนับ 
3 {x | xI+ และ x<1} 
4 {x | x เป็นจานวนคี่ที่หารด้วย 2 ลงตัว} 
5 {x | xI และ 1<x<2} 
6 {x | xI- และ x>-2} 
7 {x | x  x} 
8 {0} 
9 {x | xเป็นจานวนเต็มบวก และ x+2=0} 
10 {x | x เป็นจานวนเต็มบวกที่อยู่ระหว่าง 3 และ 4 

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  42


3. ให้นักเรียนเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก พร้อมทั้ง ใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง
ที่ตรงกับชนิดของเซตที่กาหนดให้
ชนิดของเซต
เขียนเซตแบบ
ข้อ เซตที่กาหนดให้ เซต เซต เซต
แจกแจงสมาชิก
ว่าง จากัด อนันต์
1 {x  xN และ 3<x6 } {4, 5, 6} 
2 {x  x I และ x>10} {11, 12, 13,...} 
3 {x  x เป็นจานวนนับที่หารด้วย 2 ลงตัว} {2, 4, 6,...} 
4 {x x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง –2 กับ 1} {-1, 0} 
5 {x  xI และ x+1 = 1+x} {...,-3,-2,-1,0,1,2,3,...} 
6 {x  x3 – x = 0} {-1, 0, 1} 
7 {x  x เป็นจานวนคี่ตั้งแต่ 15 ถึง 25} {15, 17, 19, ... , 25} 
8 เซตของจานวนเต็มบวกทีม่ ีสองหลัก {10, 11, 12,...,99} 

9 {x  xI และ x = n + 1 ,nI+} {1, 2, 3,...}
2

10 {x  x = n , nI+} { 1 , 2 , 3 , 4 ,...} 
2 2 2
11 {x  x เป็นตัวเลขโดดในจานวน “411,001”} {0, 1, 4} 
12 {x  x เป็นจานวนเต็มคู่ที่เป็นคาตอบของ 
{}
2x2-9x -5 = 0}
13 เซตของจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 2 {} 
14 {x  x2 < 0} {} 
15 {x  x เป็นจังหวัดในประเทศไทยทีข่ ึ้นต้น {ลพบุรี, ลาปาง, 
ด้วย “ล” ลาพูน, เลย}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  43


เฉลยกิจกรรมแนะแนวทางที่ 1.3 เรื่อ1ง เซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน

คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาความสัมพันธ์ของเซตที่กาหนดให้ต่อไปนี้
และสรุปแนวคิดของเซตที่เท่ากัน และเซตเทียบเท่ากัน
เซตที่กาหนดให้ ความสัมพันธ์ของเซต A และเซต B
ข้อ
เซต A เซต B เซตเท่ากัน เซตเทียบเท่ากัน
1 {1, 2, 3} {1, 2, 3}  
2 {1, 2, 3} {a, b, c} - 
3 {1, 2, 3, 4} {1, 2, 3} - -
4 {5, 6, 7, 8} {-5, -6, -7, -8} - 
5 {11} {1, 1} - -
6 {2} {{2}} - 
7 {1, 1, 2, 3} {1, 2, 3, 3}  
8 {1, 2, 3,...,10} {11, 12, 13,...,20} - 
9 {1, 2, 3,...,10} {1, 2, 3,...} - -
10 {1, {1,2}} {1, {2}} - 
11  {} - -
12 {2, 3, 4, 5} {5, 4, 3, 2}  
13 {0, 1, 2,...,9} {x | xI และ x<9} - -
14 {x | x เป็นจานวนคี่ {1, 3, 5, 7, 9} - 
ระหว่าง 1 และ 12}
15 {3, -3} {x | x2 = 9}  
เฉลยข้อ 15 ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ที่ใส่ไว้เป็นเพียงตัวอย่าง นักเรียนสามารถ
ตอบแตกต่างกันได้
จากกิจกรรมสรุปได้ว่า
เซต A เท่ากับ เซต B เมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสมาชิก
ทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต
เซต A เทียบเท่ากับ เซต B เมื่อ n(A) = n(B)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  44


เฉลยแบบฝึกความเข้าใจที่ 1.3
ถใถ
1. เซตคู่ใดต่อไปนี้เท่ากันหรือไม่เท่ากันโดยทาเครื่องหมาย = หรือ ≠ ระหว่างเซตที่กาหนด
1) {a, m, s} = {s, a, m}
2) {D, E, A, R} ≠ {R, O, A, D}
3) {1, 2, 3, 3} = {1, 1, 2, 2, 3}
4) {} ≠ 
5) {} ≠ {0}
6) {1, 2, 3} ≠ {x | xN และ x < 3}
7) {A, O} ≠ {x | x เป็นสระในคาว่า auction}
8) {5} ≠ {x | x เป็นจานวนเต็ม และ x2 = 25}
9) {x | x + 5 = 9 } ≠ {x | x2=16}
10) {สุนทรภู่} ≠ {กวีเอกของไทย}
2. จงพิจารณาเซตที่กาหนดให้ มีเซตใดบ้างเป็นเซตที่เท่ากัน
A = {x  x เป็นจานวนเต็มที่น้อยกว่า 10} A = {9, 8, 7,...}
B = {x  x = 2n+1 เมื่อ n  I+} B = {3, 5, 7,...}
C = {x  x เป็น ห.ร.ม.ของ 1012 และ 1292} C = {4}
D = {x  I  x > 2 และ 2 หาร x ไม่ลงตัว} D = {3, 5, 7,...}
E = {x  I  x  9} E = {9, 8, 7,...}
F = {x  x  I และ x เป็นคาตอบของสมการ x = √ } F = {4}
G = {x  x เป็นจานวนจริงที่มี 3 เป็นตัวประกอบ} G = {...,-6,-3, 0, 3, 6,...}
H = {x  x = 3n เมื่อ nI} H = {...,-6,-3, 0, 3, 6,...}
I = {x  x เป็นจานวนเต็มบวกคี่ที่มากกว่า 1} I = {3, 5, 7,...}
J = {x  x  I และ 4x2 – 17x + 4 = 0} J = {4}
สรุป มีเซตที่เท่ากัน คือ A = E , B = D = I , C = F = J , G = H

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  45


3. ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย ลงในตารางที่ตรงกับความสัมพันธ์ของเซต A และเซต B
ในแต่ละข้อต่อไปนี้

ข้อ เซต A เซต B เท่ากัน ไม่เท่ากัน เทียบเท่ากัน


1 {a, b, c} {c, b, a} 
2 {a, a, b, c} {a, b, c, c} 
3 {a, b, c} {1, 2, 3} 
4 {7, 8, 9, 0} {p, q, r, s} 
5 {m, n, o} {mno} 
6 {0, 1, -1} {-1, 0, 1} 
7 {1, 2, 3,…,99} {111, 112, 113,…,999} 
8 {0, 1} {x | x2 –x = 0} 
9 {2, 5, 4, 5} {2545} 
10 {x | x2 -3x = -2} {2, 1} 
11 {1, 2, 3, …, 9, 10} {x  xI+ และ 1 x 10} 
12 {10, 15, 20} {10, 15, 25} 
13 {xI  x2+ x – 12 = 0} {-3, 4} 
14 {2} {xI+ x2 - 4 = 0} 
15 {2, 4, 6, 8, 10} {xI  x เป็นจานวนคู่ที่ 
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10}
16 {-3, 3} {xI  x4 = 81} 
17 {x xN และ -3x 3} {x  -3 x  3 } 
18 {1, 12, 1} {1, 2} 
19 {x  x เป็นพยัญชนะใน { x  x2-x = 12} 
คาว่า “เซต”}
20 {xI  x2 < 1} {xI  4<x5} 

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  46


กระดาษคาตอบเฉลย

แบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

ชื่อ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ชั้น _ _ _ _ เลขที่ _ _ _ _

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  47


เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เฉลยละเอียดแบบทดสอบหลังเรียน

1) 2, 3, 5, 7 เป็นสมาชิกของเซตในข้อใด
ก. เซตของจานวนคี่ตั้งแต่ 0 ถึง 7 ข. เซตของจานวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 0 ถึง 9
ค. เซตของจานวนนับตั้งแต่ 2 ขึ้นไป ง. เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 7
เฉลย ข้อ ข. เนื่องจาก
ก. เซตของจานวนคี่ตั้งแต่ 0 ถึง 7 เท่ากับ {1, 3, 5, 7}
ข. เซตของจานวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 0 ถึง 9 เท่ากับ {2, 3, 5, 7}
ค. เซตของจานวนนับตั้งแต่ 2 ขึ้นไป เท่ากับ {2, 3, 4,...}
ง. เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 7 เท่ากับ {2, 3, 4, 5, 6, 7}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  48


2) กาหนดให้ A = {1, 2, {3,4}, 5, 6} ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. 3A ข. n(A) = 6 ค. {3,4} A ง. {5,6} A
เฉลย ข้อ ค.
เนื่องจาก เซต A มีสมาชิก 5 ตัว คือ 1, 2, {3,4}, 5, 6 จึงเขียนได้ว่า
1A , 2A , {3,4}A , 5A , 6A
ดังนั้น ข้อ ค. {3,4} A จึงถูกต้อง

3) เขียนเซต {-2, 0, 2, 4,...} แบบบอกเงื่อนไขได้ตรงกับข้อใด


ก. {x  x เป็นจานวนคู่ที่มากกว่า -2}
ข. {x  x เป็นจานวนคู่บวกที่ไม่น้อยกว่า -2}
ค. {x  x = 2n เมื่อ n เป็นจานวนนับ}
ง. {x  x เป็นจานวนคู่ที่ไม่น้อยกว่า -2}
เฉลย ข้อ ง. เนื่องจาก
ก. {x  x เป็นจานวนคู่ที่มากกว่า -2} เท่ากับ {0, 2, 4,...}
ข. {x  x เป็นจานวนคู่บวกที่ไม่น้อยกว่า -2} เท่ากับ {2, 4, 6,...}
ค. {x  x = 2n เมื่อ n เป็นจานวนนับ} เท่ากับ {2, 4, 6,...}
ง. {x  x เป็นจานวนคู่ที่ไม่น้อยกว่า -2} เท่ากับ {-2, 0, 2, 4,...}

4) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. {1, 2, 3} = {123} ข. {3}  {1,{3}}
ค. {1, 2, 3,...,999} เป็นเซตอนันต์ ง. {{ }} เป็นเซตจากัด
เฉลย ข้อ ง. เนื่องจาก
ก. {1, 2, 3} มีสมาชิก 3 ตัว คือ 1, 2, 3 แต่ {123} มีสมาชิก 1 ตัว คือ 123
ดังนั้น {1, 2, 3}  {123}
ข. {1,{3}} มีสมาชิก 2 ตัว คือ 1, {3} ดังนั้น {3}  {1,{3}}
ค. {1, 2, 3,...,999} เป็นเซตจากัด
ง. {{ }} เป็นเซตจากัด

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  49


5) กาหนดเซต A = {x  N  2  x < 4}
B = {x  I  x2- x = 6}
ข้อใดต่อไปนี้สรุปได้ถูกต้อง
ก. A = B
ข. เซต A เทียบเท่ากับ เซต B
ค. เซต A เป็นเซตอนันต์ และเซต B เป็นเซตจากัด
ง. n(A) = 3
เฉลย ข้อ ข. เนื่องจาก A = {x  N  2  x < 4} = {2, 3} จะได้ว่า n(A) = 2
B = {x  I  x2- x = 6} = {-2, 3} จะได้ว่า n(B) = 2
จึงสรุปได้ว่า เซต A เทียบเท่ากับ เซต B เพราะ n(A) = n(B)

6) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. ถ้า n(A) = n(B) แล้ว A = B ข. {4, 5}{4, 5, {4, 5}}
ค. {abcde} เทียบเท่ากับ {} ง. {} ไม่ใช่เซตว่าง
เฉลย ข้อ ก. ไม่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น ถ้าให้ A = {1, 2} และ B = {a, b}
จะได้ว่า n(A) = n(B) แต่ A  B

7) กาหนดให้ B = {x | x N; -3 < x ≤ 4} ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง


ก. -1B ข. n(B) = 7
ค. 4B ง. เซต B เป็นเซตจากัด

เฉลย ข้อ ง. เนื่องจาก B = {x | x N; -3 < x ≤ 4}


เขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้คือ {1, 2, 3, 4} ; n(B) = 4
ข้อสรุปที่ถูกต้องคือ เซต B เป็นเซตจากัด

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  50


8) ข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตอนันต์
ก. {x  x = 1-n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5}
ข. {x  x = n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…,999}
ค. {x  x = 3n เมื่อ n เป็นจานวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 10}
ง. {x  xR และ 3  x<4}
เฉลย ข้อ ง. เนื่องจาก
ก. {x  x = 1-n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5} เท่ากับ {0,-1,-2,-3,-4} เป็นเซตจากัด
ข. {x  x = n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…,999} เท่ากับ {3, 4, 5,...,1,002} เป็นเซตจากัด
ค. {x  x = 3n เมื่อ n เป็นจานวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 10} เท่ากับ {3, 6, 9,...30}
เป็นเซตจากัด
ง. {x  xR และ 3  x<4} มีจานวนจริงมากมายที่ 3  x<4
เช่น 3, 3.1, 3.122, 3.2 จึงสรุปว่า {x  xR และ 3  x<4} เป็นเซตอนันต์

9) เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตว่าง
ก. {x x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง–1 กับ 1}
ข. {x | x เป็นจานวนคู่ที่หารด้วย 5 ลงตัว}
ค. {x | x เป็นจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 3}
ง. {x | xI- และ x>-1}
เฉลย ข้อ ง. เนื่องจาก
ก. {x x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง –1 กับ 1} = {0}
ข. {x | x เป็นจานวนคู่ที่หารด้วย 5 ลงตัว} = {10, 20, 30,...}
ค. {x | x เป็นจานวนเฉพาะบวกที่น้อยกว่า 3} = {2}
ง. {x | xI- และ x>-1} = { }
เพราะจานวนเต็มลบที่มากที่สุดคือ -1 จึงไม่มีจานวนเต็มลบใดที่มากกว่า -1

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  51


10) เซตคู่ใดในตัวเลือกต่อไปนี้เท่ากัน
ก. {x | x = จานวนเต็ม} ข. {9, -9}
{x | x เป็นจานวนเต็ม} {x | x2 = 81}
ค. {x | x แทนพยัญชนะในคาว่า “กรรมการ”} ง. {1, 3, 5, 7, 9}
{x | x แทนพยัญชนะในคาว่า “มากกว่า”} {x | x เป็นจานวนเต็มบวกคี่}
เฉลย ข้อ ข. เนื่องจาก
ก. {x | x = จานวนเต็ม} = {จานวนเต็ม}
{x | x เป็นจานวนเต็ม} = {...,-3,-2,-1, 0, 1, 2, 3,...}
ดังนั้น {จานวนเต็ม}  {...,-3,-2,-1, 0, 1, 2, 3,...}
ค. {x | x แทนพยัญชนะในคาว่า “กรรมการ”} = {ก, ร, ม}
{x | x แทนพยัญชนะในคาว่า “มากกว่า”} = {ก, ว, ม}
ดังนั้น {ก, ร, ม}  {ก, ว, ม}
ง. {x | x เป็นจานวนเต็มบวกคี่} = {1, 3, 5, 7, 9,...}
ดังนั้น {1, 3, 5, 7, 9,...}  {1, 3, 5, 7, 9}

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เล่มที่ 1 โดยครูสาธิต สกุลวงษ์ หน้า  52

You might also like