You are on page 1of 23

โครงงาน

เซตกับทฤษฎีน่ารู้

Set with interesting theory

คณะผู้จัดทำโครงงาน

1. นางสาว กิตติยานันท์ ตาทอง ชัน


้ ม.6 / 3 เลขที่ 13
2. นางสาว ชุติกาญจน์ มงคลชาติ ชัน
้ ม.6 / 3 เลขที่ 5
3. นางสาว ดลฤดี เชี่ยวนาวิน ชัน
้ ม.6 / 3 เลขที่ 10
4. นางสาว กนกพร ตันตมณีรัตน์ ชัน
้ ม.6 / 3 เลขที่ 19
5. นางสาว ขนิษฐา สุ่มงาน ชัน
้ ม.6 / 3 เลขที่ / 23

ครูที่ปรึกษาโครงงาน

นางพิมพาภรณ์ จันทรชัยศร
รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้รายวิชา
คณิตศาสตร์ 6 (ค 33106)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565
โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย นครราชสีมา
สำนักงานเขตพื้นทีก
่ ารศึกษามัธยมศึกษา นครราชสีมา

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานนีส
้ ำเร็จได้ด้วยความกรุณาจากคุณครู พิมพาภรณ์ จันทร
ชัยศร คุณครูที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจน
แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนีเ้ สร็จสมบูรณ์ ผู้
ศึกษาจึงขอ กราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง

ขอขอบพระคุณบิดา คุณมารดา และผู้ปกครอง ที่ให้คำปรึกษาใน


เรื่องต่างๆ รวมทัง้ เป็ นกำลังใจที่ดีเสมอมาและขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยใหคำ
แนะนำดีๆเกี่ยวกับโครงงานชิน
้ นี ้

คณะผู้จัดทำ
โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เซตกับทฤษฎีน่ารู้

(Set with interesting theory )

ชื่อผู้จัดทำ 1. นางสาว กิตติยานันท์ ตาทอง เลขที่ 13


2. นางสาว ชุติกาญจน์ มงคลชาติ เลขที่ 5
3. นางสาว ดลฤดี เชี่ยวนาวิน เลขที่ 10
4. นางสาว กนกพร ตันตมณีรัตน์ เลขที่ 19
5. นางสาว ขนิษฐา สุ่มงาน เลขที่ / 23
ระดับชัน
้ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/3

ครูที่ปรึกษาโครงงาน นางพิมพาภรณ์ จันทรชัยศร

สถานศึกษา โรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย
นครราชสีมา

สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
นครราชสีมา

กระทรวงศึกษาธิการ

ปี ที่จัดทำ ปี การศึกษา 2565

บทคัดย่อ

ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อได้รับความรู้


วิชาคณิตศาสตร์เรื่องเซตมากขึน
้ 2) เพื่อเพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อวิชา
คณิตศาสตร์ 3) เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
จากการศึกษาค้นคว้าและออกแบบ เราสามารถนำความรู้เรื่องเซตไปใช้
ประโยชน์ได้จริงในการเรียนคณิตศาสตร์และได้นำแบบประเมินความพึง
พอใจในการจัดทำโครงงาน มาประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 6/3 และใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การจัดกลุ่ม การ
การแบ่งกลุ่ม

ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี ้
1.1 .................................................................................................
.......................................

...................................................................................................................
.............................................

1.2 .................................................................................................
...............................

...................................................................................................................
............................................

1.3
………………………………………………………………………………………………………
………….

1.4 นักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/……. มีความพึง
พอใจในการจัดทำ………………

……………………………คิดเป็ นร้อยละ,,,,,,,,,,,,,
บทที่ 1
บทนำ

ความเป็ นมาและความสำคัญของโครงงาน
โครงงานนีม
้ าจากการที่คณะผู้จัดทำมีความสนใจ เรื่อง เซต
โดยใช้เนื้อหา เรื่อง เซต การดำเนินกระหว่างเซต อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน
คอมพลีเมนต์ และผลต่างระหว่างเซต
ดังนัน
้ คณะผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญในการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์และเพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และเกิด
ความเข้าใจในการหาคำตอบเรื่องเซต

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

1. เพื่อได้รับความรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องเซตมากขึน

2. เพื่อเพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
3. เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ขอบเขตของการศึกษา

ความรู้เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์เรื่องเซต ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอน
ปลาย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เรื่องเซต
2. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

การทำโครงงานครัง้ นี ้ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อ


ใช้เป็ นแนวทางในการทำโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เซตกับทฤษฎีน่ารู้
Set with interesting theory ซึง่ จะเสนอดังรายละเอียดต่อไปนี ้
1.เซต
2.การดำเนินการระหว่างเซต

เซต เป็ นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใด


แน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น เซตสระในภาษา
อังกฤษ หมายถึง กลุ่มของอังกฤษ a, e, i, o และ u
สิ่งที่อยู่ในเซตเรียกว่า สมาชิก ( element หรือ members )
การเขียนเซต
1.การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวลงใน
เครื่องหมายวงเล็บปี กกา { } และใช้เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นระหว่าง
สมาชิกแต่ละตัว เช่น
เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 7 เขียนแทนด้วย {1,2,3,4,5,6,}
เซตของพยัญชนะไทย 5 ตัวแรก เขียนแทนด้วย { ก,ข,ฃ,ค,ฅ }
2.เขียนแบบบอกเงื่อนไข ใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกของเซต แล้ว
บรรยายสมบัติของสมาชิกที่อยู่รูปของตัวแปร เช่น
{x | x เป็ นสระในภาษาอังกฤษ } อ่านว่า เซตของ x โดยที่ x เป็ น
สระในภาษาอังกฤษ
{x | x เป็ นเดือนแรกและเดือนสุดท้ายของปี } อ่านว่า เซตของ
x โดยที่ x เป็ นเดือนแรกและเดือนสุดท้ายของปี เครื่องหมาย “ | ”
แทนคำว่า โดยที่
ในการเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกนัน
้ จะใช้จุด ( ... ) เพื่อแสดง
ว่ามีสมาชิกอื่นๆ ซึ่งเป็ นที่เข้าใจกันทั่วไปว่ามีอะไรบ้างที่อยู่ในเซต เช่น
{ 1,2,3,...,10 } สัญลักษณ์ ... แสดงว่ามี 4,5,6,7,8 และ 9 เป็ น
สมาชิกของเซต
{ วันจันทร์, อังคาร, พุธ,..., อาทิตย์ } สัญลักษณ์ ... แสดงว่ามีวัน
พฤหัสบดี วันศุกร์ และวันเสาร์ เป็ นสมาชิกของเซต
สัญลักษณ์แทนเซต
ในการเขียนเซตโดยที่ทั่วไปจะแทนเซตด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัว
พิมพ์ใหญ่ เช่น A,B,C และแทนสมาชิกของเซตด้วยตัวพิมพ์เล็ก เช่น
a,b,c เช่น
A = {1,4,9,16,25,36} หมายถึง A เป็ นเซตของกำลังสองของ
จำนวนนับหกจำนวนแรก }
สมาชิกของเซต
จะใช้สัญลักษณ์ “ € ” แทนคำว่าเป็ นสมาชิกหรืออยู่ใน เช่น A
= {1,2,3,4}
จะได้ว่า 1 เป็ นสมาชิกของ A หรืออยู่ใน A เขียนแทนด้วย 1 € A
3 เป็ นสมาชิกของ A หรืออยู่ใน A เขียนแทนด้วย 3 € A
คำว่า “ไม่เป็ นสมาชิก” หรือ “ไม่อยู่ใน” เขียนด้วยสัญลักษณ์ “ € ”
เช่น
5 ไม่เป็ นสมาชิกของ A หรือไม่อยู่ใน A เขียนแทน 5 € A
7 ไม่เป็ นสมชิกชอง A หรือไม่อยู่ใน A เขียนแทนด้วย 7 € A
สำหรับเซต A ซึง่ มีสมาชิก 4 ตัว จะใช้ n(A) เพื่อบอกจำนวนสมาชิกของ
เซต A นั่นคือ n(A) = 4
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเซตต่อไปนีแ
้ บบแจกแจงสมาชิก
1.เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ลงท้ายด้วยบุรี
2.เซตของจำนวนเต็มลบ
3.เซตของพยัญชนะในภาษาไทย
วิธีทำ 1.ให้ A เป็ นเซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ลงท้ายด้วยบุรี
A = { สุพรรณบุรี, ปราจีนบุรี, สิงห์บุรี,..., ลพบุรี }
2. ให้ B เป็ นเซตของจำนวนเต็มลบ
B = {-1,-2,-3,…}
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนเซตต่อไปนีแ
้ บบบอกเงื่อนไข
1. A = {2,4,6,8,10}
2. B = {1,3,5,7}
วิธีทำ 1.A = {x | x เป็ นจำนวนคู่บวกที่น้อยกว่า 12 }
2.B = {x | x เป็ นจำนวนคี่บวกที่น้อยกว่า 9 }
เซตว่าง
คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้ในเซตว่าง คือ { } หรือ (อ่านว่า
ไฟ (phi))
ตัวอย่างของเซตว่าง ได้แก่
A = { x | x เป็ นจังหวัดในประเทศไทยที่ขน
ึ ้ ต้นด้วย “ข”}
เซตจำกัด
คือ เซตซึ่งมีจำนวนสมาชิกเต็มบวกหรือศูนย์
ตัวอย่างเซตจำกัด ได้แก่
A = {0,2,4,…,10} , n(A) = 11
B = {x | x เป็ นพยัญชนะในคำว่า “เซตว่าง” }, n(A) = 4
เซตอนันต์
คือ เซตที่มีจำนวนมากมาย นับไม่ถ้วน
ตัวอย่างเซตอนันต์ ได้แก่
A = {x| x เป็ นจำนวนเฉพาะที่มากกว่า 5 }
B = {x| x 3,7,11,15,…}
C = {1,2,3,…}
ข้อตกลงเกี่ยวกับเซต
1.เซตว่างเป็ นเซตจำกัด
2.การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกเขียนสมาชิกแต่ละตัวเพียงครัง้
เดียวเท่านัน
้ เช่น เซตของเลขโดดที่อยู่ในจำนวน 232 คือ {2,3}
3.เซตของจำนวนที่มักจะกล่าวถึงเสมอและใช้กันทั่วไป มีดังนี ้
I เป็ นเซตของจำนวนเต็ม หรือ I = {…,-2,-1,0,1,2,...}
I เป็ นเซตของจำนวนเต็มบวก หรือ I = {1,2,3,…}
I เป็ นเซตของจำนวนเต็มลบ หรือ I = {-1,-2,-3,…}
N เป็ นเซตของจำนวนนับ หรือ N = {1, 2, 3,…}
P เป็ นเชตของจำนวนเฉพาะ หรือ P = { 2, 3 , 5 , 7,…}
เซตที่เท่ากัน
เซต A = B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็ นสมาชิก ของเซต
A เป็ นสมาชิกของเซต B เป็ นสมาชิกของเซต A เท่ากับเซต B เขียนแทน
ด้วย A = B
เซต A ไม่เท่ากับเซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัว
ของเซต A ที่ไม่ใช่สมาชิกของเซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยของเซต B ที่
ไม่ใช่สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย AB
ตัวอย่างที่ 1 A = {0,1,2 } และ B = {2,0,1}
ดัง้ นัน
้ เซต A เท่ากันกับเซต B เขียนแทนด้วย A = B
คัวอย่างที่ 2 กำหนด A= {1,1,2,4,5,6} , B ={2,1,2,4,5,6}, C =
{1,2,4,5,5,6,7,8}
จงหาว่ามีเซตใดบ้างที่เท่ากัน
วิธีทำ A = {1,1,2,4,5,6}, B ={2,1,2,4,5,6}
จะได้ A=B เพราะมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
แต่ AC , BC เพราะว่า 7 €A และ 7 € B
2.2 เอกภพสัมพัทธ์
ในการเขียนเซตบอกเงื่อนไขของสมาชิก จะต้องกำหนดเซตของ
เอกภพสัมพัทธ์ เขียนแทนด้วย U โดยมีข้อตกลงว่า เมื่อกล่าวถึงสมาชิก
ของเซต จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นนอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์
ตัวอย่างที่ 1 U = {x| x เป็ นพยัญชนะในภาษาไทย } และ {x| x เป็ น
พยัญชนะในภาษาไทย 3 ตัวแรก }
จงเขียนเซต A แบบแจกแจงสมาชิก
วิธีทำ U = {ก,ข,ค,...,ฮ}
ดังนัน
้ A = {ก,ข,ค}
ตัวอย่างที่ 2 U = {1,2,3,…} , B {x| x เป็ นจำนวนนับที่น้อยกว่า 5 } จง
เขียน B แบบแจกแจงสมาชิก
วิธีทำ U = {1,2,3,…}
ดังนัน
้ B = {1,2,3,4}
2.3 สับเซตและเพาเวอร์เซต
เซต A เป็ นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็ น
สมาชิกของ B เขียนแทนด้วย AB เซต A ไม่เป็ นสับเซตของเซต B ก็ต่อ
เมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิกของเซต B
เขียนแทนด้วย AB เช่น
A = {3,5} และ B = {1,3,5,7,9}
จะได้ว่า A B แต่ B A
สมบัติของสับเซต
1.A A และ A
2.ถ้า AB และ BC แล้ว AC
3.AC และ BC ก็ต่อเมื่อ A = B
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตของเซต A คือ เซตของสับซตทัง้ หมดของ A เขียน
แทนด้วย P(A)
เช่น A= {2,4,6}
จะได้ว่า เพาเวอร์เซตของเซต A คือ
P(A) = { {2},{4},{6},{2,4},{2,6},{4,6},{2,4,6},เซตว่าง}
สมบัติของเพาเวอร์เซต
1. P(A) และ P(A)
2.A P(A)
3.ถ้า A เป็ นเซตจำกัด n(A)= k n(P(A))= 2
4.A B ก็ต่อเมื่อ P(A) P(B)
5.P(A) P(B) = P(A B)
6.P(A) P(B) P(A B)
2.4 ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
-ยูเนียน (Union) : ยูเนียนของเซต A และเซต B จะได้เซตใหม่ ซึ่งมี
สมาชิกของเซต A หรือเซต B หรือทัง้ สองเซต
“ ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A B ”
A B = {x| x A หรือ x เป็ นสมาชิกของทัง้ สองเซต}
เช่น A = {1,3,5} และ B = {3,6,9} จะได้ A B ={1,3,5,6,9}
-อินเตอร์เซกชัน (Intersection) อินเตอร์เซกชันของเซต A และ
เซต B จะได้เซตใหม่ ซึ่งสมาชิกเป็ นสมาชิกของเซตทัง้ เซต A และเซต B
“ อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A B ”
A B = {x | x A และ x B}
เช่น A = {1,2,3,4,} , B = {2,4,6} และ C = {0,1}
จะได้ A B = {2,4}
A C = {1}
BC={}
-คอมพลีเมนต์ (Complement) : คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซต
A ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็ นสมาชิกของ U แต่ไม่ใช่สมาชิกของเซต A
“คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย A ”
A = {x| x € U และ x € A }
เช่น U ={0,1,2,3} , A ={0,2,4} และ B = {1,3}
จะได้ A = {1,3}
B = {0,2}
-ผลต่างระหว่างเซต (Difference of Sets ) : ผลต่างระหว่างเซต
A และเซต B คือสมาชิกอยู่ในเซต B
“ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A – B ”
A-B ={x | x € A และ x € B}
เช่น A = {0,1,2,3,4} และ B = {1,3,5,7,9}
จะได้ A-B = {0,2,4}
B-A = {5,7,9}
จำนวนของสมาชิกของเซตจำกัด
จำนวนของสมาชิกจำกัดของเซต A ใดๆ เขียนแทนด้วย n(A)
การหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดทำได้ โดย
-การนับแผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์
-การใช้หลักเกณฑ์ ต่อไปนี ้
การเขียนจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด
ถ้า A และ B เป็ นเซตจำกัด จำนวนสมาชิกของเซต A B หรือ
n(A B) หาได้จาก
n(A B) = n(A) + n(B) – n(A B)
จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด
จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด A ใด ๆ จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
n(A) ซึ่งสามารถแยกโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดได้
ดังนี ้
1. ถ้า A และ B เป็ นเซตจำกัด จำนวนสมาชิกของเซต A B หรือ n(A
B) จะหาได้จาก
n(A B) = n(A) + n(B) – n(A B)
ตัวอย่าง กำหนด A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {3, 4, 6, 7,
8} จงหา n(A B)
วิธีทำ จาก n(A B) = n(A) + n(B) – n(A B)
จากโจทย์จะได้ n(A) = 5 , n(B) =5 , n(A B) = 2
แทนค่า n(A B) = 5 + 5 – 2
= 8
ซึ่งเขียนแผนภาพได้ดังนี ้
A B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}
n(A B) = 8
2.ถ้า A และ B เป็ นเซตจำกัดที่ไม่มีสมาชิกร่วมกัน (A B = f)
n(A B) = n(A) + n(B)
=8+21 = 29
ตัวอย่างที่ 2 กำหนด A = {1, 2, 3, 4} และ B = {5, 6 ,7} จงหา
n(A B)
วิธีทำ จาก n(A B) = n(A) + n(B)
จากโจทย์ จะได้ n(A) = 4 , n(B) = 3
แทนค่า n(A B) = 4 + 3
=7
เขียนแผนภาพได้ดังนี ้

A B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
n(A B) = 7
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ
คณะผูจ้ ดั ทำได้น ำเสนอวิธีการดังแผนการปฏิบตั ิกิจกรรม โครงงานคณิ ตศาสตร์เรื่ อง เซตกับทฤษฎีน่ารู ้ Set
with interesting theory ดังนี้
1. ปฏิทินการดำเนินงาน
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
3. อุปกรณ์
4. เครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
5. วิธีการวิเคราะห์และเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ปฏิทนิ การดำเนินงาน
ลำดับ รายการ ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบ
1 รวบรวมกลุ่มจัดทำโครงงาน 1 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา
2 ศึกษาวิธีท ำโครงงานคณิ ตศาสตร์ 1 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา
3 ประชุมวางแผนเพื่อนำเสนอ อภิปรายและ 8 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ
สรุ ปว่าจะทำ เรื่ อง ทฤษฎีของเซตอย่างไร
4 ศึกษาการทำโครงงานเรื่ องเซตกับทฤษฎีน่ารู ้ 8 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ

5 เขียนเค้าโครง โครงงานคณิ ตศาสตร์ 11 ก.พ 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา


6 นำข้อมูลที่รวบรวมที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อ 12 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา
ออกแบบโครงงานเรื่ องเซตกับทฤษฎีน่ารู ้

7 จัดหาอุปกรณ์ในการทำโครงงาน 12 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา

8 ประดิษฐ์ คณะผูจ้ ดั ทำ
9 ทดลอง………………………………….. คณะผูจ้ ดั ทำ
…………………..และแก้ไขปั ญหา………..
……………………………………………..
10 นำ………………………………………… คณะผูจ้ ดั ทำ
ไปให้……………………………………..
11 สรุ ปผลการดำเนินงาน 12 ก.พ. 2566 คณะผูจ้ ดั ทำ
12 เขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา
13 นำเสนอต่อครู ที่ปรึ กษาและปรับปรุ งแก้ไข คณะผูจ้ ดั ทำ
ให้สมบูรณ์
14 จัดป้ ายนิเทศแสดงโครงงาน คณะผูจ้ ดั ทำ/ครู ที่ปรึ กษา
15 นำเสนอโครงงาน คณะผูจ้ ดั ทำ
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
2.1 รวบรวมกลุ่มจัดทำโครงงานโครงงานคณิ ตศาสตร์ กลุ่มละ 5 คน
2.2 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับโครงงาน และวิธีการทำโครงงาน
1. สมาชิกในกลุ่มร่ วมกันเพื่อปรึ กษาและร่ วมกันวางแผนทำโครงงานสำรวจความคิด
เห็นเสนอเค้าโครงของโครงงานต่อครู ผสู ้ อนรายวิชา
2. กำหนดวิธีการออกเก็บข้อมูลและแบ่งหน้าที่กนั เก็บข้อมูล
3. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามหลักวิชาการโดยให้ครู ที่ปรึ กโครงงานคอยแนะนำ
ให้ขอ้ เสนอแนะในส่ วนที่ยงั ไม่สมบูรณ์หรื อที่ขาดหายไป
4. สรุ ปผลการทำโครงงานนำเสนอผลงานต่อครู ที่ปรึ กษาโครงงานเพื่อตรวจสอบ
ความน่าเชื่อถือความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วจัดรู ปเล่มโครงงาน 1 เล่ม ส่ งครู ที่ปรึ กษาโครง
งานคณิ ตศาสตร์
2.3 ประชุม วางแผน เพื่อนำเสนอ อภิปรายและสรุ ปว่าจะทำ โครงงานเรื่ อง เซตกับทฤษฎีน่ารู ้ Set
with interesting theory
2.4 ศึกษาเนื้อหาสาระและความรู้ที่เกี่ยวกับ
2.4.1 เซต
2.4.2 การดำเนินการระหว่างเซต
2.5 เขียนเค้าโครง เสนอครู ที่ปรึ กษาโครงงานเพื่อขอคำชี้แนะและปรับปรุ งแก้ไข
2.6 นำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์เพื่อออกแบบโครงงานเรื่ องเซตกับทฤษฎีน่ารู ้
2.7 จัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำโครงงานเรื่ องเซตกับทฤษฎีน่ารู ้
2.8 สรุ ปผลการดำเนินการ
2.9 เขียนรายงานโครงงานคณิ ตศาสตร์เรื่ อง เซตกับทฤษฎีน่ารู ้
2.10 จัดป้ ายนิเทศแสดงผลงาน
2.11 นำเสนอโครงงาน
3. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ ในการศึกษา
3.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์
3.2 เครื่ องพิมพ์
3.3 กล้องบันทึกภาพ
3.4 ฟิ วเจอร์บอร์ด
3.5 กระดาษชาร์ทแข็ง
3.6 กระดาษ 100 ปอนด์
3.7 กระดาษ A4
3.8 กรรไกร
3.9 ดินสอ
3.10 มีดคัตเตอร์
.11 ไม้บรรทัด
4. การวิเคราะห์ ข้อมูล
คณะผูจ้ ดั ทำโครงงาน จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับ
4.51-5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดีมาก
3.51-4.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดี
2.51-3.00 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับปานกลาง
1.51-2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับน้อย
1.00-1.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับน้อยที่สุด
บทที่4
ผลการดำเนินการ
บทที่ 5
สรุ ป
บทที่ 5
สรุ ปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
บรรณานุกรม

You might also like