You are on page 1of 93

ลก
ัส

ูรส

่เ
สร

ิศก

ยภา
พสค


วา
มเ
ปน
็เ
ลศ


องน

ัเ
รย

นสง

กด
ัอ
งคก

รปก
ครอ
งสว

นทอ

งถน



ายว
ชา
ิ เ
พิ
มว
่ อลเ
ลย์
บอล
กลุ
มสา
่ ระกา
รเ
รยนร
ี สุ

ู ขศึ
กษา
และ
พลศึ
กษา


ดยก
รมส

่เ
สร

ิกา
รป
กคร
องท

้งถ
นก

ิ ร
ะท
รวง
มหา
ดไ
ทย
คํานํา

รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล เปนหนึ่งในหลักสูตรสงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศของ
นักเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่พัฒนาขึ้นจากความตองการของผูที่มีสวนเกี่ยวของในการ
จัดการศึกษาใหกับโรงเรียนในสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมผูเรียนที่มี
ความสนใจ มีพื้นฐานหรือพรสวรรคทางดานวอลเลยบอล ไดเรียนรูและพัฒนาตนเองใหถึงศักยภาพ
สูงสุด และสามารถใชเปนพื้นฐานในเสนทางกีฬาวอลเลยบอลอาชีพได หลักสูตรนี้ไดรวบรวมขอมูล
องคความรูเกี่ยวกับวอลเลยบอล วิธีการฝกและปฏิบัติ แนวทางการพัฒนาเพื่อใหเกิดทักษะและความ
ชํานาญ รวมทั้งการประยุกตใชในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและการจัดการเชิงธุรกิจทางดาน
กีฬาวอลเลยบอล แลวนํามาสังเคราะหและเรียบเรียงจัดเปนรายวิชาไวสําหรับผูเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1- 6 ซึ่งหวังวาหลักสูตรนี้จะสามารถตอบสนองและเปนทางเลือกหนึ่งใหกับผูเรียนที่มี
ความตองการทางดานนี้โดยเฉพาะ

คณะกรรมการยกรางหลักสูตร
พฤษภาคม 2556
สารบัญ

เรื่อง หนา
1. วิสัยทัศน 1
2. หลักการ 1
3. จุดหมาย 1
4. สมรรถนะและคุณสมบัติที่พึงประสงคของผูเรียนที่ศึกษารายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 2
5. หลักการและเหตุผล 3
6. คุณภาพของผูเรียน (ที่เพิ่มจากหลักสูตรแกนกลาง) 4
7. เงื่อนไขในการใชหลักสูตร 5
8. โครงสรางของหลักสูตร 8
9. กิจกรรมการเรียนรูของหลักสูตร 11
10. สื่อการเรียน/แหลงการเรียนรู 11
11. การประเมินผลการเรียนรู 12
12. คําอธิบายรายวิชา 13
13. โครงสรางรายวิชา 59
14. บรรณานุกรม 87
1

หลักสูตรสงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศของผูเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิน่
รายวิชาเพิ่มเติมกีฬาวอลเลยบอล กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

วิสัยทัศน
มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความพรอมที่จะเปนนักกีฬาวอลเลยบอล หรือผูประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับ
วอลเลยบอลที่มีความสมดุล ทั้งทักษะความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอล สมรรถภาพทางกายและจิตใจ
ความรูและคุณธรรม รวมทั้งมีเจตคติที่ดีตอการศึกษาและพัฒนาตนเอง การประกอบอาชีพหรือ
ความสําเร็จทางกีฬาวอลเลยบอล โดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวาการเตรียมผูเรียน
และสงเสริมใหตอเนื่องจากระดับรากหญา ซึ่งทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ

หลักการ
หลักสูตรสงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศของผูเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นหลักสูตร
เพิ่มเติมวอลเลยบอล มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้
1. เปนหลักสูตรเพื่อความเปนเลิศทางกีฬาวอลเลยบอล มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเปน
เปาหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม
2. เปนหลักสูตรเพื่อผูเรียนที่มีความสนใจและมีความสามารถพิเศษทางดานวอลเลยบอล ไดรับ
การตอยอดและเพิ่มพูนทักษะวอลเลยบอลสมรรถภาพทางกายและจิตใจ ความรู และคุณธรรม รวมทั้งให
มีเจตคติที่ดีตอกีฬาวอลเลยบอล
3. เปนหลักสูตรที่เนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับสภาพและความตองการ
ของโรงเรียนและชุมชน
4. เปนหลักสูตรที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมีการบูรณาการทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม
อัธยาศัย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรูและประสบการณ

จุดหมาย
มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนที่มีความสามารถทางวอลเลยบอลมีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การประกอบอาชีพและการศึกษาตอทางดานกีฬาวอลเลยบอลจึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน
เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีทักษะความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอล มีสมรรถภาพทางกายและจิตใจ มีสุขปฏิบัติที่ดี ใน
การเลนและเปนนักกีฬาวอลเลยบอลตลอดจนมีทักษะชีวิตที่ดีทั้งในเกมวอลเลยบอลและการดําเนินชีวิต
2. มีความรูความเขาใจที่ลึกซึ้งในการฝกซอมและแขงขันกีฬาวอลเลยบอล วงการวอลเลยบอล
และอาชีพวอลเลยบอล รวมทั้งเขาใจในการสื่อสาร วิธีการคิด การแกปญหา และการใชเทคโนโลยีในกีฬา
วอลเลยบอล
3. มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ที่เหมาะสมกับการเลนกีฬาวอลเลยบอลและรักกีฬาวอลเลยบอล
2

สมรรถนะและคุณสมบัติที่พึงประสงคของผูเรียนที่ศึกษารายวิชาเพิ่มเติมกีฬาวอลเลยบอล

สมรรถนะ
หลักสูตรนี้มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรม
ในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน
ขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาความสามารถในกีฬาวอลเลยบอลของ
ตนเองและทีม รวมทั้งการสื่อสารเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูล
ขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตองตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึง
ผลกระทบที่มีตอความสามารถในเกมกีฬาวอลเลยบอลตนเองและทีม
2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห
การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรู
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจในเกมกีฬาวอลเลยบอลของตนเองและทีมไดอยางเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ
ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในเกมกีฬาวอลเลยบอลและสังคมภายนอก
แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ
โดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอเกมกีฬาวอลเลยบอลของตนเองและทีม
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ
จากกีฬาวอลเลยบอล ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง
การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการเสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการ
ปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอความสามารถทาง
วอลเลยบอลของตนเองและทีม
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใชเทคโนโลยี
ดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอล
ของตนเองและทีม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง
เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะที่พึงประสงค
หลักสูตรเพิ่มเติมวอลเลยบอล มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคโดยทั่วไป
เพื่อใหเปนผูที่มีทักษะในกีฬาวอลเลยบอล มีความรู ความสามารถ ตลอดจนการตระหนักและรักในอาชีพ
กีฬาวอลเลยบอล สามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลเมือง
โลก ดังนี้
1. มีความสามารถทางวอลเลยบอล
2. มีความมุงมั่น ใฝเรียนรูและพัฒนาในกีฬาวอลเลยบอล
3. มีคุณธรรม จริยธรรม และน้ําใจนักกีฬา
4. มีความสามารถในการปรับตัวและทักษะชีวิตและนําไปสูอาชีพทางกีฬาวอลเลยบอล
3

นอกจากนี้แลว หลักสูตรฯ ยังเนนการสงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค


เฉพาะทางสําหรับความเปนเลิศทางวอลเลยบอล ดังนี้
1. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม. 1-3)
1.1 มีความเชี่ยวชาญเชิงทักษะและเทคนิคในการเลนและแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
1.2 มีความชื่นชอบกีฬาวอลเลยบอล
1.3 มีความสามารถในการเปนผูดูและผูเลนไดเปนอยางดี
1.4 ไดรับการจัดประสบการณอันหลากหลายทั้งภายในและนอกหองเรียน
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม. 4-6)
2.1 มีความเชี่ยวชาญเชิงทักษะ เทคนิค ยุทธวิธี และแทคติกในการเลนและแขงขัน
วอลเลยบอล
2.2 มีความโปรดปราณวอลเลยบอล และมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาชีพทางวอลเลยบอล
2.3 มีความสามารถในการเปนผูดู ผูเลน ผูตัดสิน ผูฝกและผูจัดการแขงขันกีฬา
วอลเลยบอลไดอยางดีเยี่ยม
2.4 ไดรับการจัดประสบการณอันหลากหลายทั้งภายในและนอกหองเรียน

หลักการและเหตุผล
กีฬาวอลเลยบอลเปนกีฬาสากลที่ไดรับการยอมรับและนิยมทั้งในและตางประเทศ บทบาทของ
กีฬาวอลเลยบอลมีอิทธิพลอยางมากตอตัวนักกีฬา ผูเกี่ยวของกับนักกีฬา (โคช ผูฝกสอน และครอบครัว)
และผูชม หรือ ประชาชนทั่วไป ทั้งนี้ประโยชนโดยตรงและโดยออม โดยเฉพาะอยางยิ่งการเลนและแขงขัน
กีฬาวอลเลยบอลในลักษณะของ “กีฬาอาชีพ” ทําใหเกิดอาชีพตางๆ ที่เกี่ยวของกับกีฬาวอลเลยบอล
เชน นักกีฬาวอลเลยบอล โคช ผูฝกสอน นักวิทยาศาสตรการกีฬาประจําทีม นักจัดการแขงขัน นักการ
ตลาด ตลอดจนผูประกอบอาชีพธุรกิจหรือคาขายที่เกี่ยวของกับกีฬาวอลเลยบอล อยางไรก็ตามการที่จะ
ประสบผลสําเร็จในอาชีพตางๆ เหลานั้น สิ่งสําคัญประการแรกคือ ความจําเปนที่จะตองไดรับ
ประสบการณตรงและเขมขนมากพอในเชิงกีฬาวอลเลยบอลซึ่งควรไดรับการหลอหลอม ปลูกฝง และ
เรียนรูเพิ่มพูน ความรู ทักษะ และเจคติที่ดีตอกีฬาวอลเลยบอล ตั้งแตพื้นฐานหรือรากหญา
การเรียนการสอนรายวิชาวอลเลยบอล ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา มีการจัดการเรียนการสอน
ภายใตกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 โดยกําหนดใหโรงเรียนจัดการเรียนการสอนไดเพียงหนึ่งรายวิชาในภาคการศึกษาใด
ภาคการศึกษาหนึ่ง สําหรับระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย ซึ่งการจัดการศึกษาดังกลาว ยังถือวา
เปนการจัดการศึกษาที่ยังมีความเขมขนนอย สําหรับการเตรียมพื้นฐานวอลเลยบอลในระดับเยาวชน
ดังนั้นการจัดทําหลักสูตรสงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศกีฬาวอลเลยบอล จึงมียุทธศาสตรสําคัญในการ
สงเสริมการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนที่สําเร็จการศึกษาสามารถนําไปเปนแนวทางตอยอดสําหรับ
การประกอบอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอลที่ประสบผลสําเร็จในอนาคต
4

คุณภาพของผูเรียน(ที่เพิ่มจากหลักสูตรแกนกลาง)

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ผูเรียนรูและเขาใจเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล บอกประวัติความเปนมา ประโยชนและคุณคา
ของกีฬาวอลเลยบอลได ทราบถึงปจจัยสูความเปนเลิศและคุณลักษณะที่พึงประสงคของนักกีฬา
วอลเลยบอล มีความสามารถเปนผูเลนที่มีมารยาทและมีความรูความเขาใจในกฎและกติกาการแขงขัน
กีฬาวอลเลยบอลเปนไปอยางดี มีความเขาใจในเรื่องการยืดเหยียดกลามเนื้อและการอบอุนรางกาย
สามารถแสดงทักษะการเลนลูกดวยมือและแขน ไดอยางคลองแคลวทั้งในรูปแบบของการฝกซอม และการ
แขงขัน สามารถดูแลรางกายสําหรับการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล มีทักษะการทรงตัว และการเคลื่อนที่ที่
เชี่ยวชาญ มีความมั่นใจในการใชอุปกรณตางๆ ของการฝกซอมและการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล มีความรู
และสามารถปฏิบัติทักษะและเสริมสรางสมรรถภาพทางกายพื้นฐานและสมรรถภาพทางกายเฉพาะในกีฬา
วอลเลยบอลและมีความรูในคําศัพทภาษาอังกฤษในหัวขอที่เกี่ยวของ

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
ผูเรียนรู เขาใจ และสามารถแสดงทักษะขั้นพื้นฐาน เชนทักษะการตบ ทักษะการสกัดกั้น ทักษะ
การรุก ทักษะการรับและทักษะการเลนเปนทีมไดอยางคลองแคลวในรูปแบบการฝกและการแขงขันที่ไม
ซับซอนนัก มีความเชียวชาญในทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ ในรูปแบบตาง ๆ ที่จําเปนในกีฬา
วอลเลยบอล และนักกีฬาใหความสนใจในการพัฒนาสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ ที่
จําเปนกับเกี่ยวกับการเลนกีฬาวอลเลยบอล และสามารถใชคําศัพทภาษาอังกฤษในรูปประโยคอยางงาย
ในหัวขอที่เกี่ยวของได
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ผูเรียนรู เขาใจ และสามารถเลนกีฬาวอลเลยบอล โดยใชทักษะและกลยุทธกีฬาวอลเลยบอล
ผสมผสานกับการใชเทคนิค กลยุทธการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล และมีความเขาใจในสมรรถภาพรางกาย
พิเศษในนักกีฬาวอลเลยบอล และสามารถบูรณาการความรูไปใชในการออกกําลังกายและการแขงขันกีฬา
วอลเลยบอลได อยางเปนระบบในรูปแบบตางๆ และสามารถใชคําศัพทภาษาอังกฤษในรูปประโยคอยาง
งายในหัวขอที่เกี่ยวของได
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
ผูเรียนรู เขาใจ ในกีฬาวอลเลยบอลระดับชาติและสากล ทั้งองคกรในประเทศและตางประเทศ
รายการการแขงขันวอลเลยบอลทีมระดับชาติและสโมสร ทั้งภายในและตางประเทศ มีความสามารถใน
เรื่องการบาดเจ็บและการบําบัดฟนฟูทางกีฬา สามารถเลือกใชและการออกแบบอุปกรณการฝกซอมฝก
ทักษะวอลเลยบอลได มีความเชี่ยวชาญทักษะและเทคนิคตางๆ ในการนําไปใชในแขงขันวอลเลยบอล
อยางมีประสิทธิภาพ สามารถจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลไดอยางเปนระบบตามมาตรฐานสากลและ
สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อมาพัฒนาความสามารถในการฝกซอมและการแขงขัน มีการพัฒนาใน
สมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอล รวมถึงสมรรถภาพกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจที่มีความ
เหมาะสมกับผูเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและสามารถใชคําศัพทภาษาอังกฤษในรูปประโยคอยาง
งายในหัวขอที่เกี่ยวของได
5

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ผูเรียนมีความรู เขาใจ และเปนผูฝกสอนวอลเลยบอล สามารถนําหลักวิทยาศาสตรการกีฬาและ
ความรูเรื่องโภชนาการและองคประกอบของรางกายสําหรับนักกีฬา และการฝกทักษะทางจิตใจ มาปรับใช
ใหเกิดประโยชนตอตนเอง และทีมกีฬาวอลเลยบอลอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งมีความเขาใจในการใชกฎ
และกติกาการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลในฐานะผูตัดสินกีฬาวอลเลยบอล มีสมรรถภาพทางกลไกและ
สมรรถภาพทางจิตใจที่พัฒนาไปสูความเปนเลิศ มีความเชียวชาญในทักษะกีฬาวอลเลยบอลขั้นสูงและ
สามารถภาษาอังกฤษในการสื่อสารในหัวขอที่เกี่ยวของได

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
ผูเรียนมีความรู ความเขาใจในรูปแบบตาง ๆ ของการสื่อสารในกีฬาวอลเลยบอล อีกทั้งมีความรู
ในศัพทเทคนิคกีฬาวอลเลยบอล มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในสถานการณตาง ๆ และนําหลัก
วิทยาศาสตรการกีฬาไปปรับใชในฐานะผูจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอลในระดับอาชีพ ยกระดับสมรรถภาพ
ทางกายและความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอลของตนเองไดมากขึ้น เปนที่ยอมรับและภาคภูมิใจ มีความ
มั่นใจกับชีวิตการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลอธิบาย และสามารถรวมบริหารจัดการทีมวอลเลยบอล โดย
ครอบคลุมทั้งดานบุคคลากรอุปกรณ สนาม และงบประมาณตามลักษณะของผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอล
อาชีพ และมีสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจที่พัฒนาไปสูความเปนเลิศอยางยั่งยืน และมี
ความเชี่ยวชาญในทักษะกีฬาวอลเลยบอลขั้นสูงและสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษในการสื่อสารในหัวขอที่
เกี่ยวของได

เงื่อนไขในการนําหลักสูตรไปใช
เพื่อใหการใชรายวิชาเพิ่มเติมกีฬาวอลเลยบอล มีประสิทธิภาพสูงสุดในการพัฒนาศักยภาพผูเรียน
สูความเปนเลิศ จึงมีเงื่อนไขในการนําหลักสูตรไปใช ดังนี้
1. โรงเรียนตองมีความพรอมดานสถานที่และอุปกรณทั้งในการฝกซอมและแขงขันวอลเลยบอล
งบประมาณและสามารถบริหารจัดการในเรื่องของเวลาเรียนที่จําเปนตองเพิ่มมากขึ้นกวาเวลาที่ไดกําหนด
ในหลักสูตรแกนกลาง ดังนั้นแหลงเรียนรูและอุปกรณในการเรียนของแตละโรงเรียนควรมีความพรอม
ความหลากหลาย มีการสนับสนุน มีการรักษาและดูแลใหสามารถใชงานไดตลอดป เชน
- สนามมีไฟฟาสวางที่สามารถฝกซอมในเวลากลางคืน และมีระบบเสียงไดยินทั่วสนาม
- หองพักนักกีฬา หองน้ํา หองอาบน้ํา และหองเปลี่ยนชุด
- หองเก็บและอุปกรณการฝกซอม เชน ลูกวอลเลยบอลอยางนอย 1 ลูก ตอ 1 คน ถุงหรือ
รถเข็นเก็บลูกบอล ตาขาย เสาอากาศ มารคเกอรขนาดและสีตางๆ สําหรับวอลเลยบอล เสื้อเอี่ยม
ธง นกหวีด ถังและกระติกน้ํา
- หองปฐมพยาบาล พรอมชุดอุปกรณและเวชภัณฑการปฐมพยาบาลภาคสนาม
- หองฟตเนส และเครื่องมือ หรือ อุปกรณประกอบการฝก เชน ชุดฝกบารเบล ดัมเบล
เครื่องฝกแตละสถานีฝกตางๆ เบาะและเสื่อยาง
- หองแกเลอรี่วอลเลยบอล (Volleyball Gallery) เพื่อใชในการแสดงนิทรรศการ
ผลงาน เก็บสื่อวัสดุการเรียนและชมวีดีทัศนและภาพยนตร
- อุปกรณสวนตัวของผูเรียน เชน รองเทา ชุดวอรม ชุดฝกซอม ถุงเทา และสนับเขา
6

2. ครูผูสอนและทีมครูผูสอนตองเปนผูที่มีความรักและจริงจังในกีฬาวอลเลยบอลควรเปนครูพล
ศึกษาที่ความเชี่ยวชาญทางวอลเลยบอล สามารถแสดงและสาธิตสาธิตใหผูเรียนได ควรเปนผูมี
ประสบการณการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล ผูตัดสิน หรือผูฝกสอนและจะดีมากยิ่งขึ้น และผูที่มีความรู
ความเชี่ยวชาญและประสบการณเกี่ยวกับวอลเลยบอลเปนอยางดีโดยผานการอบรมการฝกกีฬา
วอลเลยบอลโดยวิทยากรที่มี License จากสมาคมวอลเลยบอลแหงประเทศไทยโดยตรง อยางไรก็ตาม
กอนการนําหลักสูตรฯ ไปใชครูผูสอนตองผานการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรูและการสอนกีฬา
วอลเลยบอลโดยมีรายละเอียดของการอบรม ดังนี้
- ระยะเวลาในการอบรมประมาณ 5 วัน
- วิทยากรมีความหลากหลาย ทั้งนักวิชาการ โคช ผูฝกสอน ผูตัดสิน นักกีฬาทีมชาติ และ
นักกีฬาอาชีพ
- เนื้อหาการอบรมที่สําคัญ คือ รูปแบบการฝก การประเมินการฝกซอม การเตรียม
แผนการสอน การเตรียมแผนการซอม เทคนิคการทําทีม เทคนิคการตัดสิน และประสบการณ
วอลเลยบอล
3. แตละโรงเรียนที่นําหลักสูตรฯ ไปใชควรกําหนดเปนหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งจําเปนจะตองมี
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อดําเนินการวางแผน มีระบบพี่เลี้ยงและกระบวนการนิเทศติดตามการ
นําหลักสูตรไปใชในแตละภาคการศึกษารวมกํากับติดตามและดูแลคุณภาพการจัดการเรียนการสอนให
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
4. มีรูปแบบการเรียนในแหลงเรียนรูและสถานการณจริงจึงจําเปนตองมีการศึกษานอกสถานที่ใน
รายการการแขงขันตางๆเปนประจําเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใหเนนการสอนในภาคปฏิบัติ
หรือลงภาคสนามใหไดอยางเขมขน ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1 – ม. 3) และระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย (ม.4 – ม. 6) โดยใหความสําคัญกับหลักวิทยาศาสตรการกีฬาในการจัดการเรียน ควรเนนใหผูเรียน
เกิดความเขาในใจหลักการทางดานวิทยาศาสตรการกีฬาดานตางๆ และสามารถอธิบาย พรอมนําไปปฏิบัติ
ใชจริงกับตนเองจนเปนนิสัยและนอกเหนือจากเวลาเรียนในแตละรายวิชาตามหลักสูตรฯ ควรมีการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนหรือปรับใหผูเรียนใหมีเวลาในการฝกซอมเหมือนนักกีฬาวอลเลยบอล เพื่อการ
แขงขันหรืออาชีพ (ขั้นต่ํา) เชน เวลาฝกซอมรวมตอสัปดาห คือ 5 ครั้ง (เชา 2 ครั้งและ เย็น 3 ครั้ง)
5. จํานวนผูเรียนและการคัดกรองผูเรียนแตละหองเรียนควรไมเกินหองเรียนละ 30 คน เพื่อการ
จัดการเรียนสอนใหไดอยางทั่วถึง และมีการคัดเลือกผูเรียนที่เขามาเรียนเปนสิ่งสําคัญอีกประการหนึ่ง
ซึ่งผูเรียนที่เขามาเรียนจําเปนมีความพรอมทั้งทางดานรางกายและจิตใจเปนอยางดี ไมควรเริ่มตนที่ศูนย
จึงจําเปนจะตองมีกระบวนการพิจารณาและคัดเลือกผูเรียน โดยสามารถดําเนินการทดสอบความสามารถ
ทางวอลเลยบอลและสมรรถภาพ เชน การทดสอบทักษะและเทคนิควอลเลยบอล และการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย (ความทนทาน ความแข็งแรง กําลัง ความเร็ว ความคลองตัว และความออนตัว)
รวมทั้งควรมีการสัมภาษณเพื่อพิจารณาถึงการมีเจตคติที่ดีตอกีฬาวอลเลยบอล และความพรอมจากการ
สนับสนุนจากครอบครัวหรือผูปกครอง
6. มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อเปนกิจกรรมเติมแรงบันดาลใจ เปนกิจกรรมสําคัญที่จะชวยใหการ
นําหลักสูตรฯ ไปใชใหไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งๆ ขึ้น นําไปสูการพัฒนาและความสําเร็จของนัก
วอลเลยบอลอาชีพใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถทําไดทั้งกิจกรรมระดับจังหวัด ภาค หรือประเทศ
ดังนั้นผูที่เกี่ยวของกับหลักสูตรฯ ทั้งในระดับและฝายตางๆ สามารถใหการสนับสนุนและเอื้ออํานวยให
เพิ่มขึ้นจากหลักสูตรฯ เชน
7

- กิจกรรมเขาคายวอลเลยบอล(Volleyball Camp) ใชเวลา ประมาณ 3-5 วัน โดย


คัดเลือกผูเรียนและแตละโรงเรียนมาฝกซอม แขงขัน หรือรวมกิจกรรมตางๆ รวมกัน โดยมีวิทยากรที่มี
ชื่อเสียงระดับประเทศ นักกีฬาฮีโรหรืออาชีพรวมฝกซอมและเปนพี่เลี้ยง กิจกรรมนี้นอกจากผูเรียนที่เขา
รวมจะไดเรียนทักษะและประสบการณทางกีฬาวอลเลยบอลที่มากขึ้นแลว ผูเรียนยังมีแรงจูงใจในการเปน
นักวอลเลยบอลอาชีพมากยิ่งๆ
- กิจกรรมแขงขันวอลเลยบอลระหวางโรงเรียน เขต จังหวัด หรือภาค (ที่มีการเปดสอน
หลักสูตรวอลเลยบอล) ขอดีของกิจกรรมนี้ คือ ผูเรียนจะไดมีโอกาสรวมการแขงขันจริง เตรียมการ
ฝกซอมจริง และเรียนรูในสถานการณการแขงขันจริง เปนการสรางบรรยากาศในชั้นเรียนใหเขมขนมากขึ้น
เพราะทุกคนตองเขารับการคัดเลือก และพยายามฝกซอมเพื่อเปนตัวแทนโรงเรียน เขต จังหวัด หรือ ภาค
อีกทั้งในระหวางรายการการแขงขันนี้อาจทํามีการคนพบนักกีฬาวอลเลยบอลอาชีพในระดับเยาวชนได
- กิจกรรมการศึกษาหรือฝกซอมวอลเลยบอลรวมกับในทีมวอลเลยบอลอาชีพตางประเทศ
กิจกรรมนี้อาจสามารถทําไดโดยการคัดเลือกผูเรียนที่มีความสามารถและความเหมาะสม เปนตัวแทน
ของโรงเรียน เขต จังหวัด หรือ ภาคไดมีโอกาสหาประสบการณในระดับตางประเทศ กิจกรรมนี้นอกจาก
จะเปนการเสริมแรงใหผูเรียนทุกคนตั้งใจการเรียนและฝกซอมอยางเต็มที่ เพื่อจะไดมีโอกาสไดรับการ
คัดเลือกและตัวแทน สวนผูเรียนที่ไดเปนตัวแทนเขารวมก็ถือวาไดรับประสบการณตรงไป อีกทั้งยัง
สามารถนํามาถายทอดกับเพื่อนๆ ผูเรียนคนอื่นๆ ได
8

โครงสราง
หลักสูตรสงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศของผูเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 1 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล 20
2 ทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ 20
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 2 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
3 ทักษะวอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน 1 40
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 3 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
4 ทักษะวอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน 2 40
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 4 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
5 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกายพื้นฐานในกีฬาวอลเลยบอล 20
6 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬาวอลเลยบอล 20

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 5 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
1 ทักษะวอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน 3 40
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 6 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
2 เชี่ยวชาญทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ 40
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 7 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
3 ทักษะวอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน 4 40
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 8 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
4 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ 40
ที่จําเปนกับกีฬาวอลเลยบอล ( ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน )
9

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 9 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
1 ทักษะวอลเลยบอลขั้นกาวหนา 1 40
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 10 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
2 สมรรถภาพทางกายพิเศษในนักกีฬาวอลเลยบอล 20
3 กลยุทธในการฝกซอมและการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล 20
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 11 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
4 ทักษะวอลเลยบอลขั้นกาวหนา 2 40
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 12 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
5 การบูรณาการความรู สมรรถภาพทางกายและความสามารถใน 40
กีฬาวอลเลยบอล

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 13 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
1 ความรูที่จําเปนเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล ในระดับนานาชาติ 2
2 การบาดเจ็บและการบําบัดฟนฟูทางการกีฬา 4
3 อุปกรณการฝกซอม และแบบทดสอบทักษะในกีฬาวอลเลยบอล 4
4 สมรรถภาพทางกายพิเศษที่พัฒนาไปสูความเปนเลิศ 30
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 14 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
5 ทักษะวอลเลยบอลขั้นกาวหนา 3 40
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 15 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
6 ทักษะวอลเลยบอลขั้นกาวหนา 4 40
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 16 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
7 การจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล 4
8 การจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอล 2
9 เทคโนโลยีและสารสนเทศในกีฬาวอลเลยบอล 4
10 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกระไรและสมรรถภาพทางจิตใจ 30
ที่จําเปนกับกีฬาวอลเลยบอล ( ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย )
10

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 17 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
1 การเปนผูฝกสอนและวิทยาศาสตรการกีฬาในกีฬาวอลเลยบอล 10
2 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกระไรและสมรรถภาพทางจิตใจ 30
เพื่อการพัฒนาสูความเปนเลิศ
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 18 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
3 ทักษะวอลเลยบอลขั้นสูง 1 40
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 19 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
4 การฝกทักษะทางจิตใจสําหรับนักกีฬา 2
5 โภชนาการและองคประกอบของรางกายเพื่อสมรรถภาพนักกีฬา 2
6 การตัดสินและการฝกเปนผูตัดสินกีฬาวอลเลยบอล 6
7 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกระไรและสมรรถภาพทางจิตใจ 30
เพื่อการพัฒนาสูความเปนเลิศ
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 20 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
8 ทักษะวอลเลยบอลขั้นสูง 2 40

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
ภาคเรียนที่ 1
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 21 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน เวลา (ชั่วโมง)
1 การจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอลระดับอาชีพ 4
2 หลักวิทยาศาสตรการกีฬาในกีฬาวอลเลยบอลอาชีพ 6
3 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกระไรและสมรรถภาพทางจิตใจ 30
เพื่อการพัฒนาสูความเปนเลิศ
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 22 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
4 ทักษะวอลเลยบอลขั้นสูง 3 40
ภาคเรียนที่ 2
รายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล 23 เวลา 40 ชั่วโมง (1 หนวยกิต)
5 การบูรณาการความรู สมรรถภาพทางกายและความสามารถใน 40
กีฬาวอลเลยบอล
11

กิจกรรมการเรียนรูของหลักสูตร
กิจกรรมการเรียนรูของหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวอลเลยบอล ใชรูปแบบการเรียนการสอนวิธีสอน
และเทคนิคการสอนที่หลากหลาย เนนการฝกปฏิบัติในสถานการณจริงและผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อให
ผูเรียนมีทักษะ ความรู และความสามารถในการกีฬาวอลเลยบอล พรอมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติ
ที่ดีตอกีฬาวอลเลยบอลและวิชาชีพทางดานกีฬาวอลเลยบอล มีทักษะและความสนใจสําคัญในการพัฒนา
ตนเองใหประสบผลสําเร็จและเปนผูนํากีฬาวอลเลยบอล และสามารถยกระดับความสามารถในการเปน
นักกีฬาวอลเลยบอลของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งกิจกรรมการเรียนรูของหลักสูตรนี้ ประกอบดวย
1. การบรรยาย
2. การสาธิต
3. การฝกปฏิบัติเปนรายบุคคลและเปนกลุม
4. การทําโครงงาน
5. บทบาทสมมุติ
6. สถานการณจําลองและสถานการณจริง
7. กรณีตัวอยางหรือกรณีศึกษา
8. การศึกษาดูงาน
9. การใชคําถาม
10. อภิปรายกลุม
11. การสังเกตการณและวิเคราะหพฤติกรรมและความสามารถ
12. การทดสอบสมรรถภาพทางกายและทักษะวอลเลยบอล

สื่อการเรียน/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีดและธง เปนตน
6. หองฟตเนส อุปกรณปฐมพยาบาลและอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. เครื่องมือและอุปกรณทดสอบสมรรถภาพทางกายตางๆ
8. น้ําและเกลือแร
9. ศึกษานอกสถานที่ บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการตางๆ สโมสรวอลเลยบอล
อาชีพตางๆ องคกรเกี่ยวกับวอลเลยบอล
10. วิทยากรตางๆ เชน นักกีฬาที่ประสบผลสําเร็จ โคช ผูฝกสอน ผูตัดสิน ตัวแทนสมาคม
วอลเลยบอลแหงประเทศไทย คนตางประเทศที่เกี่ยวของกับวอลเลยบอล และผูเชี่ยวชาญทางดาน
วิทยาศาสตรการกีฬา เปนตน
11. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
12

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะความสามารถทางวอลเลยบอล ดวยแบบทดสอบทักษะตาง ๆและแบบสังเกต
โดยครูผูสอน
2. ประเมินสมรรถภาพทางกาย ดวยแบบทดสอบสมรรถภาพรายการตางๆโดยครูผูสอน
3. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน ดวยแบบประเมิน แบบสังเกต แบบสัมภาษณโดย
ครูผูสอนหรือระหวางผูเรียน
4. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน ดวยแบบทดสอบ แบบสังเกต และการสอบถาม
โดยครูผูสอน
5. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน หรือการศึกษานอกสถานที่ ดวยแบบประเมินหรือรายงาน
โดยครูผูสอน
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล ดวยแบบวัด แบบประเมิน
และการสังเกตโดยครูผูสอนหรือผูเรียนเอง
7. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา ดวยแบบประเมินและแบบสังเกตโดยครูผูสอน
13

คําอธิบายรายวิชา
คําอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต
ศึกษาและวิเคราะหความเปนมา องคกร และการพัฒนากีฬาวอลเลยบอลในและตางประเทศ
ความสําคัญของกีฬาวอลเลยบอล ความปลอดภัยและมารยาทในการฝกซอมและแขงขันในกีฬา
วอลเลยบอล การเปนผูเลนและผูดูกีฬาวอลเลยบอล การดูแลรางกาย การเตรียมพรอมกอนการเลนกีฬา
วอลเลยบอล การยืดเหยียดกลามเนื้อ การอบอุน รางกาย และกฎ กติกากีฬาวอลเลยบอล สําหรับนักกีฬา
รูทันเหตุการณ การสอดแนม มีความเขาใจในปจจัยไปสูความสําเร็จ และคุณลักษณะที่พึงประสงคในกีฬา
วอลเลยบอล อีกทั้งยังสามารถปฏิบัติทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ไดอยางถูกตอง
โดยใชกระบวนการเลนและดูกีฬาวอลเลยบอลใหไดอยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย
เห็นคุณคาของการเลนกีฬาวอลเลยบอล การออกกําลังกาย การเปนผูเลน และผูดูกีฬา มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนใน
ชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล
ผลการเรียนรู
1. บรรยายถึงประวัติความเปนมา องคกร และพัฒนาการของกีฬาวอลเลยบอลได
2. บอกความสําคัญและปฏิบัติการอบอุนรางกาย การยืดเหยียดกลามเนื้อ และการเตรียม
รางกายกอนเลนวอลเลยบอลดวยวิธีการตางๆ ได
3. มีมารยาทในการเลนวอลเลยบอลและเลนวอลเลยบอลไดอยางปลอดภัย
4. บอกและเลนกีฬาวอลเลยบอล ตามกฎ กติกาที่ถูกตองได
5. มีความสุขในการเลนกีฬาวอลเลยบอล
6. อธิบายถึงปจจัยสูความสําเร็จและคุณลักษณะที่พึงประสงคในกีฬาวอลเลยบอลได
7. สามารถปฏิบัติทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ไดอยางถูกตอง
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
14

1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรู
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน หรือการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดี
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน
3. นําเสนอผลงาน
4. ศึกษาดูงาน และชมการแขงขัน และเขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน
5. สาธิตทาทางยืดเหยียดกลามเนื้อและการอบอุนรางกายที่ไดอยางเหมาะสม

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม ลูกวอลเลยบอล ตาขายและอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ
6. น้ําดื่ม
7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
15

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 2


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและสามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานในกีฬาวอลเลยบอลไดอยางถูกตอง ซึ่งทักษะตาง ๆ นั้น


ประกอบไปดวย ทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน ทักษะการรุก
ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นได ซึ่งถือวาเปนทักษะที่จําเปนสําหรับการเลนวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. สามารถอธิบายขั้นตอนทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะ
การสงผาน ทักษะการุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นได
2. มีความสุขและสนุกกับการฝกทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน
ทักษะการสงผาน ทักษะการุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้น
3. สามารถปฏิบัติทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน
ทักษะการรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นไดอยางปลอดภัยในการฝกซอมและการแขงขัน

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
16

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรู
4. ประเมินการทํารายงาน
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดี
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน
3. รายงานตารางการฝกซอมและบันทึกการฝกซอม
4. สาธิตทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน ทักษะการุก
ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้น
5. รายงานตารางการซอมและบันทึกการฝกซอม
6. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม และลูกวอลเลยบอล เน็ต ตาขายและอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. น้ําดื่มและเกลือแร
6. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
17

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 3


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะหและฝกปฏิบัติทักษะการรุก ซึ่งแบงออกเปนการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวย


การตบ การรุกดวยการหยอด โดยใชกระบวนการเลนและฝก ทั้งเดี่ยวและกลุม เพื่อใหเกิดความเขาใจ
ในทาทางของรางกาย การปฏิบัติทักษะตาง ๆ และสามารถปฏิบัติทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวย
การตบ การรุกดวยการหยอด ของกีฬาวอลเลยบอลไดอยางถูกตอง และมีเจตคติที่ดีตอการนําไป
ประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล
ผลการเรียนรู
1. สามารถอธิบายขั้นตอนและการปฏิบัติทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวยการตบและ
การรุกดวยการหยอด
2. มีความสุขกับการฝกปฏิบัติทักษะการรุกในรูปแบบตาง ๆ
3. สามารถปฏิบัติทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวยการตบ และการรุกดวยการหยอดได
อยางมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
18

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน ประเมินความรู
3. ประเมินการทํารายงาน
4. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดี
5. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. สาธิตทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวยการตบ และการรุกดวยการหยอด
3. รายงานตารางการฝกซอมและบันทึกการฝกซอม
4. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงานจากการฝกทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวยการตบ และ
การรุกดวยการหยอด
สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ตตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. น้ําดื่ม
6. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
19

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาวอลเลยบอล 4
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหสมรรถภาพทางกายพื้นฐาน และสมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬาวอลเลยบอล
โดยใชกระบวนการทดสอบและฝกสมรรถภาพทางกายพื้นฐาน และสมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬา
วอลเลยบอล เห็นคุณคาของการเลนกีฬาวอลเลยบอล การออกกําลังกาย การเปนผูเลนที่มีสมรรถภาพ
ทางกายที่ดี และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬา
วอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. บอกความสําคัญสมรรถภาพทางกายพื้นฐาน และสมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬาวอลเลยบอล
2. บอกวิธีการและฝกสมรรถภาพทางกายได
3. มีเจตคติและใหความสําคัญกับการดูแลรักษาสมรรถภาพทางกายของตนเอง
4. ปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกายได

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
20

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินสมรรถภาพทางกาย
3. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
4. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
5. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
7. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. สาธิตทาทางการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายพื้นฐานและเฉพาะกีฬาวอลเลยบอล
3. นําเสนอโปรแกรมการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายพื้นฐานและเฉพาะกีฬาวอลเลยบอล
4. การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาวอลเลยบอล
5. เขียนรายงานสรุปขอมูลผลการทดสอบสมรรถภาพ
6. การศึกษาดูงานนอกสถานที่

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. เครื่องมือและแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายตางๆ
6. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ
7. น้ําดื่มและเกลือแร
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
21

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาวอลเลยบอล 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหทักษะการรับในรูปแบบตางๆ เชน การรับลูกตบ การรับลูกหยอด การรับ


ลูกเสิรฟ และทักษะการสกัดกั้น ซึ่งเปนทักษะพื้นฐานในการเลนกีฬาวอลเลยบอล มีความเขาใจในรูปแบบ
ตาง ๆ ในทักษะการรับ และการสกัดกั้นอยางมีประสิทธิภาพ
โดยใชกระบวนการเลนและฝกทั้งเดี่ยวและกลุม เพื่อใหเกิดความเขาใจในทาทางการเคลื่อนที่
ของรางกายและสามารถปฏิบัติทักษะการรับและการสกัดกัน เห็นถึงคุณคาของการเลนกีฬาวอลเลยบอล
การเปนผูเลนที่ดีและปลอดภัยและมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน
ผลการเรียนรู
1. สามารถอธิบายการปฏิบัติทักษะการรับลูกเสิรฟ การรับลูกตบ การรับลูกหยอดและทักษะ
การสกัดกั้นได
2. มีความเขาใจในทาทางและการเคลื่อนที่ของอวัยวะรางกายในทักษะการรับลูกเสิรฟ การรับ
ลูกตบ การรับลูกหยอดและทักษะการสกัดกั้น
3. มีความสุขการการเลนกีฬาวอลเลยบอลอยางปลอดภัย และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกต
ใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน
4. สามารถปฏิบัติทักษะการรับในรูปแบบตาง ๆ เชน การรับลูกตบ การรับลูกหยอด การรับ
ลูกเสิรฟ และทักษะการสกัดกั้น อยางมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
22

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. สาธิตทักษะการรับ เชน การรับลูกเสิรฟ การรับลูกตบ การรับลูกหยอด และการสกัดกั้นใน
รูปแบบตาง ๆ
3. เขียนรายงานสรุปขอมูลทักษะการรับ และการสกัดกั้นในรูปแบบตาง ๆ
4. ศึกษาดูงาน และชมการแขงขัน และเขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน
สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ
6. น้ําดื่มและเกลือแร
7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
23

คําอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาวอลเลยบอล 6
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษา ปฏิบัติและวิเคราะห ทักษะการทรงตัวในขณะหยุดนิ่งและขณะเคลื่อนที่ และการเคลื่อนที่


ในการปฏิบัติทักษะตาง ๆ ไดอยางเชี่ยวชาญ ทั้งทิศทางการเคลื่อนที่ การทรงตัว เพื่อนําไปใชประโยชน
ในการฝกซอมและการแขงขัน อยางมีประสิทธิภาพตอไป

ผลการเรียนรู
1. สามารถอธิบายถึงทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ในรูปแบบตาง ๆ
2. มีความสุขการการเลนกีฬาวอลเลยบอลอยางปลอดภัย และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกต
ใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน
3. มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติทักษะการทรงตัวและทักษะการเคลื่อนที่
4. นําความเชี่ยวชาญในทักษะการทรงตัวและทักษะการเคลื่อนที่มาใชในการเลนกีฬา
วอลเลยบอลอยางมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
24

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินจากการปฏิบัติทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. อธิบายและสาธิตทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ อยางมีประสิทธิภาพ
3. นําเสนอขอควรปฏิบัติในการทรงตัว และเคลื่อนที่ในกีฬาวอลเลยบอล เพื่อประสิทธิภาพ
ในการแขงขัน
4. ศึกษาดูงาน และสัมภาษณ และเขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ / ทีม
หรือสโมสรวอลเลยบอลอาชีพ
6. น้ําดื่ม / และน้ําเกลือแร
7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
25

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาวอลเลยบอล 7
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน


ทักษะการเสิรฟ ทักษะการตบ และทักษะการสกัดกัน เห็นคุณคาของการนําทักษะ เทคนิคและกลยุทธ
ไปประยุกตใชในเกมการเลนวอลเลยบอลอยางมีรูปแบบพื้นฐาน การออกกําลังกาย และมีเจตคติที่ดีตอ
การนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. มีความเขาใจในรูปแบบของการนําทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน
ทักษะการสงผาน ทักษะการเสิรฟ ทักษะการตบ และทักษะการสกัดกัน ไปใชในการแขงขันได
2. มีความสุขกับการเลนวอลเลยบอล
3. สามารถปฏิบัติและอธิบายทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน
ทักษะการสงผาน ทักษะการเสิรฟ ทักษะการตบ และทักษะการสกัดกั้นได

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
26

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. สาธิตทาทาง การเลนลูกลักษณะตางๆ
3. เขียนรายงานสรุปขอมูลการฝกลักษณะตางๆ
4. การศึกษาดูงานนอกสถานที่

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. หองฟตเนส
6. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ / ทีม
หรือสโมสรวอลเลยบอลอาชีพ
7. น้ําดื่มและเกลือแร
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
27

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาวอลเลยบอล 8
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจที่จําเปนกับกีฬา
วอลเลยบอล โดยใชการจัดกิจกรรมการเลนเกมสและกลุมยอย เปนสื่อกลางในการพัฒนาสมรรถภาพ
ทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ เห็นถึงประโยชนของสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ
และมีเจตคติที่ดี ตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. อธิบายองคประกอบของสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจได
2. บอกถึงประโยชนของสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจได
3. ตระหนักถึงความสําคัญของการเสริมสรางสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ
ในการฝกซอมและแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
4. สามารถปฏิบัติการพัฒนาสมรรถภาพทางกลไก และสมรรถภาพทางจิตใจได

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
28

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การออกแบบเกมสที่สงเสริมสมรรถภาพทางกลไก
2. เลาถึงเหตุการณที่มีผลตอสมรรถภาพทางจิตใจ และการจัดการกับเหตุการณนั้น
3. นําเสนอวิธีการเลนเกมและประโยชนของการเลน

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. น้ําและเกลือแร
6. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
29

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 9


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ปฏิบัติทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน ทักษะ


การรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นไดอยางเชี่ยวชาญ เพื่อไปปรับใชใหเหมาะสมกับรูปแบบ
และความสามารถของผูเลน
เห็นคุณคาการใชเทคนิคการเลนวอลเลยบอลแบบตางๆ และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกต
ใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. เขาใจและสาธิตทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน
ทักษะการรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นได อยางมีรูปแบบได
2. ตระหนักถึงความสําคัญของทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน
ทักษะการสงผาน
3. สามารถปฏิบัติทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน
ทักษะการรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นได อยางมีรูปแบบ
4. สามารถเลือกใชทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผาน
ทักษะการรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้นไดใหเหมาะสมกับกลยุทธในรูปแบบการเลนตาง ๆ ได
อยางมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
30

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝกทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน
ทักษะการสงผาน ทักษะการรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้น
2. รายงานทักษะที่เหมาะสมกับรูปแบบและกลยุทธการแขงขัน
3. สาธิตทักษะที่เหมาะกับสถานการณและรูปแบบของทีมคูแขงขันเพื่อใหไดมาซึ่งการไดเปรียบ
ในการแขงขัน
4. การศึกษานอกสถานที่

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ
6. น้ําและเกลือแร
7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
31

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 10


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต
ศึกษาและวิเคราะหสมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอล ทักษะ และกลยุทธกีฬา
วอลเลยบอล เพื่อนํามาปรับใชในการเลนเปนทีม
โดยใชการฝกสมรรถภาพทางกายพิเศษในนักกีฬาวอลเลยบอลเพื่อพัฒนาทักษะและกลยุทธใน
กีฬาวอลเลยบอลในการเลนเปนทีมและการแขงขันอยางมีประสิทธิภาพ
เห็นถึงคุณคาการพัฒนาสมรรถภาพทางกายพิเศษในนักกีฬาวอลเลยบอลและกลยุทธในการ
ฝกซอมและการแขงขัน และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการ
เปนนักวอลเลยบอล
ผลการเรียนรู
1. บอกถึงสมรรถภาพทางกายพิเศษในนักกีฬาวอลเลยบอลได
2. อธิบายขั้นตอนและประโยชนในการพัฒนาสมรรถภาพทางกายพิเศษในนักกีฬาวอลเลยบอล
ได
3. สามารถอธิบายองคประกอบกลยุทธกีฬาวอลเลยบอลในการเลนเปนทีมและแขงขันได
4. ตระหนักถึงความสําคัญของสมรรถภาพทางการพิเศษในกีฬาวอลเลยบอล
5. สามารถปฏิบัติบัตรการฝกเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอลได
6. สามารถนํากลยุทธตาง ๆ ไปใชในการฝกซอมและแขงขันได
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
32

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินสมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. แบบบันทึกการพัฒนาสมรรถภาพทางกายพิเศษ
3. รายงานทักษะและกลยุทธกีฬาวอลเลยบอล
4. การศึกษานอกสถานที่
5. แบบบันทึกทักษะและกลยุทธกีฬาวอลเลยบอล

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. แบทดสอบสมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอล
3. ใบความรูและใบงาน
4. วีดิทัศน
5. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
6. การศึกษานอกสถานที่ / บรรยากาศการแขงขันวอลเลยบอลรายการที่สําคัญหรืออาชีพ
7. น้ําดื่ม
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
33

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 11


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหการฝกทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การตบ และการหยอด ใหมีประสิทธิภาพ


ทั้งความแมนยําและรุนแรง เพื่อนําไปปรับใชกับกลยุทธที่เหมาะสมเพื่อการชิงความไดเปรียบและชัยชนะ
ในการแขงขัน
โดยใชการฝกการเลนเฉพาะตําแหนงและเสริมสรางสมรรถภาพทางกายเฉพาะผูเลน และการฝก
ทักษะ ในระบบการเลนแบบตางๆ ทั้งในสถานการณการแขงขันจําลองและการแขงขันจริง

ผลการเรียนรู
1. อธิบายและสาธิตถึงขั้นตอนการฝกทักษะการรุก ดวยการเสิรฟ การตบ และการหยอด
ใหมีประสิทธิภาพทั้งในดานความแมนยําละความรุนแรง
2. ตระหนักถึงความสําคัญในการฝกทักษะการรุก ดวยการเสิรฟ การตบ และการหยอด
3. ทั้งสามารถปฏิบัติการฝกทักษะทักษะการรุก ดวยการเสิรฟ การตบ และการหยอด
ใหมีประสิทธิภาพทั้งในดานความแมนยําและความรุนแรง
4. นําประโยชนจากการฝกทักษะไปใชในการแขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
34

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝกทักษะการรุก ดวยการเสิรฟ การตบและการหยอด
2. แบบบันทึกการฝกทักษะการรุก ดวยการเสิรฟ การตบและการหยอด
3. การสาธิตในสถานการณการแขงขันจําลอง
4. ศึกษาดูงานนอกสถานที่

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. การศึกษานอกสถานที่ / สโมสรวอลเลยบอลอาชีพในประเทศ (คุณสมบัติของผูเลน)
6. น้ําและเกลือแร
7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
35

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 12


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะหและประมวลความรูและทักษะความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอล โดยใชการ


ทดสอบและประเมินตามสภาพจริงในเรื่องของความรูความเขาใจในกีฬาวอลเลยบอล สมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางจิตใจ สมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬาวอลเลยบอล ทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่
เทคนิค ทักษะและกลยุทธกีฬาวอลเลยบอล การฝกทักษะและกลยุทธกีฬาวอลเลยบอลและการฝกเทคนิค
และมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกต ใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล
ผลการเรียนรู
1. มีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล
2. มีความภาคภูมิใจในการเลนวอลเลยบอลของตนเองและสนใจการพัฒนาและเพิ่มเติมทางดาน
วอลเลยบอล
3. มีสมรรถภาพทางกายและทางกีฬาวอลเลยบอลในเกณฑที่ดีกวาบุคคลทั่วไปในวัยเดียวกัน
4. มีความสามารถในการฝกทักษะการทรงตัวและการเคลื่อนที่ ทักษะและกลยุทธกีฬา
วอลเลยบอล และเทคนิค กลยุทธการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
36

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินสมรรถภาพทางกาย
3. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
4. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
5. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
7. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงานองคประกอบที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย
3. นําเสนอผลงานเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของนักกีฬาวอลเลยบอล
4. ศึกษาดูงานนอกสถานที่
5. ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายและทักษะกีฬาวอลเลยบอล

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. เครื่องมือและอุปกรณทดสอบสมรรถภาพทางกายตางๆ
6. การศึกษานอกสถานที่ / สโมสรวอลเลยบอลอาชีพในประเทศ (คุณสมบัติของผูเลน)
7. น้ําดื่มและเกลือแร
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
37

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 13


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหความรูที่จําเปนเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล นักกีฬาวอลเลยบอลที่มีชื่อเสียง
องคกรในประเทศและตางประเทศ รายการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลระดับชาติ ระดับสากล ระดับสโมสร
ภายในและตางประเทศ การบาดเจ็บและการบําบัดฟนฟูทางการกีฬา และสมรรถภาพทางกายพิเศษ
ที่พัฒนาไปสูความเปนเลิศ
โดยใชการฝกและเทคนิคการดูแลทางดานรางกายสําหรับนักกีฬาวอลเลยบอล การใชและดูแล
อุปกรณการฝกซอม และสมรรถภาพทางกายและทักษะกีฬาวอลเลยบอล
เห็นคุณคาของการเลนและแขงขันกีฬาวอลเลยบอล การเปนผูเลนและผูดูกีฬา การมีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีตอการไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน
และการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลแบบมืออาชีพ
ผลการเรียนรู
1. บอกถึงนักกีฬาวอลเลยบอลที่มีชื่อเสียง องคกรในและตางประเทศ รายการแขงขันกีฬา
วอลเลยบอลทีมระดับชาติและระดับสากล ระดับสโมสรภายในและตางประเทศได
2. บอกถึงอาการบาดเจ็บในกีฬาวอลเลยบอล สาเหตุ การปองกัน และการฟนฟู
3. มีเจตคติที่ดีตอกีฬาวอลเลยบอลและฝกตนเองใหเปนนักกีฬาวอลเลยบอลมืออาชีพ
3. เลือกและใชอุปกรณการฝกซอมไดอยางเหมาะสม
4. อธิบายสาเหตุของการบาดเจ็บและการรักษาฟนฟูได
5. สามารถอธิบายและใชแบบทดสอบทักษะในกีฬาวอลเลยบอลได
6. มีสมรรถภาพทางกายพิเศษที่พัฒนาไปสูความเปนเลิศ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
38

1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. การนําเสนอนักวอลเลยบอลทั้งในและตางประเทศ
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา
7. มีความเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพทางกายพิเศษที่พัฒนาไปสูความเปนเลิศ

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงาน เกี่ยวกับความรูที่จําเปนเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอลและการ
พัฒนาการของกีฬาวอลเลยบอลเทคนิคการดูแลรางกายและจิตใจในนักกีฬาวอลเลยบอล และอุปกรณ
การฝกซอมฝกทักษะของกีฬาวอลเลยบอล
3. นําเสนออาการบาดเจ็บในกีฬาวอลเลยบอลและการบําบัดฟนฟู
4. ศึกษาดูงานสโมสรวอลเลยบอลอาชีพในประเทศและตางประเทศ โดยเขียนสรุปขอมูลเปน
รายงาน

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. น้ําและเกลือแร
6. ศึกษานอกสถานที่ / สโมสรวอลเลยบอลอาชีพ/องคกรเกี่ยวกับวอลเลยบอลในประเทศและ
ตางประเทศ
7. วิทยากรดานอาการบาดเจ็บและการฟนฟูทางการกีฬา
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
39

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 14


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะห ทักษะการรับลูกเสิรฟ การรับลูกตบ การรับลูกหยอด รูปแบบการรับตาง ๆ


และการสกัดกั้น ที่มีความแมนยําและมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการรุกในลูกตอ ๆ ไป โดยมุงเนน
ทักษะการรับที่แมนยําทั้งในขณะอยูกับที่และการเคลื่อนที่เขาไปรับ โดยสามารถนํารูปแบบการรับที่
ฝกฝนไปปรับใชในการรุกของทีมผูเลนฝายตรงขาม
ผูเรียนสามารถตัดสินใจเลือกรูปแบบการรับที่สอดคลองกับการรุกของทีมผูเลนฝายตรงขามและ
สามารถรับลูกที่มีความรุนแรง เพื่อสรางโอกาสในการรุกในเกมสการแขงขันตอ ๆ ไป

ผลการเรียนรู
1. แสดงและอธิบายทักษะการรับลูกตาง ๆ และการสกัดกั้น อยางแมนยําและมีประสิทธิภาพ
2. มีความภาคภูมิใจในการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลและพัฒนาตัวเองอยางตอเนื่อง
3. สามารถเลือกใชรูปแบบของทักษะการรับและทักษะการสกัดกั้น ที่เหมาะสมกับทีมคูแขงขัน
อยางมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
40

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงานเกี่ยวกับทักษะและกลยุทธกีฬาวอลเลยบอล
3 นําเสนอและสาธิตทักษะ กลยุทธกีฬาวอลเลยบอลจากตําแหนงการรับตางๆ ไดอยาง
เชี่ยวชาญ
4. การศึกษาดูงานรายการแขงขันวอลเลยบอลอาชีพ
5. ฟงบรรยายและรวมอภิปรายรวมกับวิทยากร

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. น้ําและเกลือแร
6. ศึกษานอกสถานที่/วิทยากรดานการฝกซอมฝกทักษะกีฬาวอลเลยบอล
7. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
41

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 15


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะหและปฏิบัติทักษะตาง ๆ เชนทักษะการรับ ทักษะการรุก และทักษะการสกัดกั้น


มาปรับใชอยางมีรูปแบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาความไปสูการเลนอยางเปนระบบ เพื่อการไดมาซึ่ง
ความไดเปรียบในการแขงขัน
นักกีฬาสามารถฝกทักษะตาง ๆ จนเกิดความเชี่ยวชาญเฉพาะในทักษะนั้น ๆ เพื่อนํามาพัฒนาใน
ระบบการเลนทีมขั้นสูงตอไป

ผลการเรียนรู
1. แสดงและอธิบายทักษะกีฬาวอลเลยบอลอยางมั่นใจ และมีประสิทธิภาพ
2. มีความภาคภูมิใจในการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล
3. สามารถเลือกใชรูปแบบและกลยุทธ ในทักษะการรุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้น
อยางเหมาะสมกับการฝกซอมและแขงขัน

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
42

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงการและการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงานเกี่ยวกับรูปแบบและกลยุทธการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
3 นําเสนอรูปแบบและกลยุทธการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลไดอยางเชี่ยวชาญ
4. การศึกษาดูงานรายการแขงขันวอลเลยบอลอาชีพ
5. ฟงบรรยายและรวมอภิปรายรวมกับวิทยากร

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีดและธง เปนตน
6. น้ําและเกลือแร
7. ศึกษานอกสถานที่ /วิทยากรดานการตัดสินวอลเลยบอล
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
43

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 16


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหการจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล การจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอล
เทคโนโลยีและสารสนเทศในกีฬาวอลเลยบอล และมีการเสริมสรางสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพ
ทางจิตใจ ที่จําเปนกับนักกีฬาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดยสถานการณจําลอง ในการฝกการจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล การจัดการทีมกีฬา
วอลเลยบอล และการนําเทคโนโลยีและสารสนเทศมาใชในกีฬาวอลเลยบอล
เห็นคุณคาและตระหนักในการจัดการแขงขันและมีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกตใหเปน
ประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลและอาชีพที่เกี่ยวของกับกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. อธิบายการจัดการแขงขันและการจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอล
2. ตระหนักในแนวทางการจัดการแขงขันและพัฒนาตนเองใหเปนนักกีฬาวอลเลยบอลที่ประสบ
ความสําเร็จ
3. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีและสารสนเทศในกีฬาวอลเลยบอล
4. มีสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ ที่จําเปนกับนักกีฬาในระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
44

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. โครงการจําลองการจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลและการแบงสายการแขงขันกีฬา
วอลเลยบอล
3. โครงการจําลองการจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอล
4. การนําเสนอเทคโนโลยีและสารสนเทศในกีฬาวอลเลยบอล
5. อธิบายกระบวนการในสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ ที่จําเปนกับนักกีฬา
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. น้ําและเกลือแร
7. ศึกษานอกสถานที่ /วิทยากรดานการตัดสินวอลเลยบอล
8. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
45

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 17


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต
ศึกษาและวิเคราะหการเปนผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอล การเลนและแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
ระเบียบวินัย การแตงกาย การตรงตอเวลา ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณกีฬาวอลเลยบอล ระบบ
การเลน รูปแบบการฝกแบบตางๆ บนพื้นฐานของหลักวิทยาศาสตรการกีฬา และสมรรถภาพทางกลไก
และสมรรถภาพทางจิตใจ เพื่อพัฒนานักกีฬาไปสูความเปนเลิศ
โดยใชการฝกการเปนผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอล กลยุทธ และเทคนิค การเลนกีฬาวอลเลยบอล
การแขงขันกีฬาวอลเลยบอลในเกมสสถานการณจริงและสถานการณจําลอง การปฏิบัติตนใหเปนไปตาม
ระเบียบวินัย การแตงกาย การตรงตอเวลา ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณกีฬาวอลเลยบอล ตลอดจน
การฝกซอมระบบการเลนและรูปแบบการฝกแบบตางๆ ไดอยางถูกตองและชํานาญ
ตระหนักถึงสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ ที่จะทําไปสูความเลิศและมีเจตคติที่ดี
ตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลและอาชีพที่
เกี่ยวของกับกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. มีความรูและสามารถในการเปนผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอล
2. สามารถอธิบายความรูดานวิทยาศาสตรการกีฬาที่เกี่ยวของกับการฝกกีฬาวอลเลยบอล
3. มีความภาคภูมิใจและมั่นใจในอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล
4. มีสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ ที่พรอมนําไปสูความเปนเลิศ
ในกีฬาวอลเลยบอล
5. ปฏิบัติตนเปนนักกีฬาวอลเลยบอลที่พึงประสงคในระดับอาชีพ
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
46

1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน หรือการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปขอมูลเปนรายงานเกี่ยวกับรูปแบบการฝก
3. ฝกและนําเสนอการปฏิบัติเปนผูฝกสอน
4. การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทีมวอลเลยบอลอาชีพ

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส
7. น้ําและเกลือแร
8. ศึกษานอกสถานที่ /วิทยากรดานผูฝกสอน
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
47

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 18


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษา วิเคราะหและฝก ทักษะการรุก การเสิรฟ การตบ การหยอด การสกัดกั้นและทักษะ


การรับ จนเกิดความเชี่ยวชาญ โดยผสมผสานระหวางรูปแบบการรับและกลยุทธการรุกที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อการไดเปรียบในการแขงขัน
มีเจตคติที่ดีตอการนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬา
วอลเลยบอลและอาชีพที่เกี่ยวของกับกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. อธิบายกลยุทธรูปแบบในทักษะตาง ๆ เพื่อการนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพ
2. มีความภาคภูมิใจและมั่นใจในอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล
3. เปนผูที่มีความสามารถใชรูปแบบและกลยุทธการรุกและการรับในรูปแบบตาง ๆ ไดอยาง
เชี่ยวชาญและมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
48

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปรูปแบบ และกลยุทธ ที่เหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ
3. นําเสนอรูปแบบและกลยุทธการรับ เมื่อตองเปนฝายรับและรูปแบบและกลยุทธ เมื่อตองเปน
ฝายรุก
4. การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทีมและการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลอาชีพและหนวยงาน
ทางกีฬาวอลเลยบอล

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส อุปกรณปฐมพยาบาลและอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. น้ําและเกลือแร
8. ศึกษานอกสถานที่ /สมาคมหรือสโมสรกีฬาวอลเลยบอล
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
49

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 19


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหการฝกทักษะทางจิตใจสําหรับนักกีฬาวอลเลยบอล โภชนาการและ
องคประกอบของรางกายเพื่อสมรรถภาพนักกีฬา และการฝกเปนผูตัดสิน ควบคูไปกับการเสริมสราง
สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิต เพื่อพัฒนาสูความเปนเลิศ
โดยใชการฝกและกิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับจิตวิทยาและโภชนาการ เห็นคุณคาและตระหนักถึง
ประโยชนของฝกทักษะทางจิตใจและโภชนาการ และการฝกเปนผูตัดสิน อีกทั้งมีเจตคติที่ดีตอการนําไป
ประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. อธิบายขั้นตอนและประโยชนของการฝกทักษะทางจิตใจได
2. อธิบายประโยชนของโภชนาการที่มีผลตอรางกายและสมรรถภาพนักกีฬา
3. ตระหนักถึงการพัฒนาตัวเองเพื่อมุงสูความเปนเลิศ
3. นําความรูเรื่องการฝกทักษะทางจิตใจและโภชนาการและองคประกอบของรางกายเพื่อ
สมรรถภาพนักกีฬาไปใชกับตนเองและผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ
4. มีความสามารถในการตัดสินและเขาในกติกาเกี่ยวกับการตัดสินกีฬาวอลเลยบอล
5. นักกีฬามีการพัฒนาสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจอยางตอเนื่อง

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
50

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. สรุปขอมูลเปนรายงานเกี่ยวกับโภชนาการและองคประกอบของรางกายเพื่อสมรรถภาพ
นักกีฬา
3. นําเสนอจัดกิจกรรมการฝกทักษะทางจิตใจ
4. นําเสนอเมนูอาหารที่เหมาะสมกับเพศ อายุ และประเภทของกีฬาวอลเลยบอล
5. ศึกษาดูงานนอกสถานที่
6. รายงานเรื่องกติกาที่สําคัญสําหรับการเปนผูตัดสินกีฬาวอลเลยบอล

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส อุปกรณปฐมพยาบาลและอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. น้ําและเกลือแร
8. การศึกษานอกสถานที่ / วิทยากรทางดานวิทยาศาสตรการกีฬา
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
51

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 20


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะห ความสัมพันธระหวางทักษะ กลยุทธการ และรูปแบบในการแขงกีฬา


วอลเลยบอล ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสถานการณ เชน การเลนเพื่อเปลี่ยนเสิรฟ การเซต
การสงบอลใหเลนตอ การโจมตี การตบบอล การโจมตีครั้งที่ 2 การรองบอล การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้ง
จนกวาจะสําเร็จ การทําคะแนน การเสิรฟ การสกัดกั้น การเตรียมตัวโจมตีกลับ การโจมตีกลับ
การเตรียมตัวโจมตีกลับอีกครั้ง การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้งจนกวาจะสําเร็จ กลยุทธการเลนและ
การแขงขัน ใชระบบการเลนใด ใชรูปแบบใด ใชเทคนิคใด ใชแทคติกใด เพื่อใหเปนผูไดเปรียบในการ
แขงขันจนไดรับชัยชนะ
นักกีฬาควรมีการฝกฝนการตัดสินใจและไหวพริบ ที่จะเลือกใชกลยุทธและรูปแบบตาง ๆ และมี
เจตคติที่ดีตอการนําความรูความสามารถในกีฬาวอลเลยบอลไปประยุกตใชในการฝกซอมและการแขงขัน
กีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
1. มีความเขาใจในรูปแบบ กลยุทธ และทักษะตาง ๆ ในกีฬาวอลเลยบอล
2. มีความภาคภูมิใจและมั่นใจในอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล
3. สามารถปฏิบัติทักษะ กลยุทธและรูปแบบ ที่ซับซอนและมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
52

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. เขียนสรุปกลยุทธ รูปแบบ และทักษะที่เหมาะสม ในการเปนฝายรุก และฝายรับ
ที่สลับซับซอนได
3. การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทีมและการแขงขันวอลเลยบอลอาชีพ

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส อุปกรณปฐมพยาบาลและอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. น้ําและเกลือแร
8. การศึกษานอกสถานที่ / ทีมวอลเลยบอลหรือรายการแขงขันวอลเลยบอลอาชีพ
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
53

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 21


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหการจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอลระดับอาชีพ ธุรกิจในกีฬาวอลเลยบอลระดับ
อาชีพ หลักวิทยาศาสตรการกีฬาในกีฬาวอลเลยบอลระดับอาชีพ ควบคูไปกับการเสริมสรางสมรรถภาพ
ทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ เพื่อพัฒนาสูความเปนเลิศ
โดยใชการฝกจากสถานการณจําลองในการเปนผูจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอลระดับอาชีพและ
สัมภาษณเพื่อศึกษาเกี่ยวกับธุรกิจในกีฬาวอลเลยบอล
เห็นคุณคาของวิทยาศาสตรการกีฬาในกีฬาวอลเลยบอลอาชีพ นําไปประยุกตใหเปนประโยชนใน
ชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลและอาชีพที่เกี่ยวของกับกีฬาวอลเลยบอล
ผลการเรียนรู
1. มีความเขาใจในกระบวนการจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอลระดับอาชีพ
2. เขาใจระบบธุรกิจในกีฬาวอลเลยบอลอาชีพ
3. ตระหนักถึงความสําคัญของอาชีพและธุรกิจในกีฬาวอลเลยบอล
4. บอกถึงประโยชนและหลักวิทยาศาสตรการกีฬาในกีฬาวอลเลยบอลระดับอาชีพ
5. นักกีฬามีการพัฒนาสมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจอยางตอเนื่อง
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
54

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. แบบจําลองการจัดการทีมกีฬาวอลเลยบอลในระดับอาชีพ
2. แบบจําลองทางธุรกิจกีฬาวอลเลยบอลในระดับอาชีพ
3. รายงานเกี่ยวกับหลักวิทยาศาสตรการกีฬาในกีฬาวอลเลยบอลอาชีพ
4. รายงานเกี่ยวกับศัพทเทคนิคในกีฬาวอลเลยบอล
5. ตัวอยางของประโยคภาษาอังกฤษที่มักใชในการสื่อสารในกีฬาวอลเลยบอล

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราพจนานุกรม และเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส อุปกรณปฐมพยาบาลและอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. น้ําและเกลือแร
8. การศึกษานอกสถานที่ / วิทยากรผูเลน ผูตัดสิน หรือ คนตางประเทศ
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
55

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 22


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาวิเคราะห และนํา กลยุทธการ และรูปแบบในการแขงกีฬาวอลเลยบอล ที่มีประสิทธิภาพ


เหมาะสมกับสถานการณ เชน การเลนเพื่อเปลี่ยนเสิรฟ การเซต การสงบอลใหเลนตอ การโจมตี การตบ
บอล การโจมตี ครั้งที่ 2 การรองบอล การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้งจนกวาจะสําเร็จ การทําคะแนน การ
เสิรฟ การสกัดกั้น การเตรียมตัวโจมตีกลับ การโจมตีกลับ การเตรียมตัวโจมตีกลับอีกครั้ง การเตรียม
ตัวโจมตีอีกครั้งจนกวาจะสําเร็จ กลยุทธการเลนและการแขงขัน การเลือกใชระบบการเลน รูปแบบ
เทคนิคและแทคติกในการเลน เพื่อใหเปนผูไดเปรียบในการแขงขันจนไดรับชัยชนะไดอยางเชี่ยวชาญ
นักกีฬาควรมีการฝกฝนการตัดสินใจและไหวพริบ ที่จะเลือกใชกลยุทธ รูปแบบและแทคติกที่
เหมาะสมกับสถานการณและรูปแบบการเลนของคูแขงขัน

ผลการเรียนรู
1. นักกีฬาสามารถเลือกใชทักษะ กลยุทธและรูปแบบในการเลนอยางมีประสิทธิภาพอยาง
ตอเนื่อง
2. มีความเขาใจในการใชทักษะ กลยุทธและรูปแบบของผูเลนฝายตรงขาม
3. มีความภาคภูมิใจและมั่นใจในอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล

กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล)
56

1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
3. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
4. ประเมินการทํารายงาน โครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
5. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
6. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามรูปแบบ
2. เขียนสรุปทักษะ กลยุทธและรูปแบบที่นักกีฬาในทีม สามารถปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ
3. ฝกซอมและแขงขันวอลเลยบอล รวมกับผูเลนและผูตัดสิน หรือวิทยากรที่เปนคนตางประเทศ
4. การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทีมและการแขงขันวอลเลยบอลอาชีพ

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราพจนานุกรม และเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส อุปกรณปฐมพยาบาลและอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. น้ําและเกลือแร
8. การศึกษานอกสถานที่ / วิทยากรผูเลน ผูตัดสิน หรือ คนตางประเทศ
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
57

คําอธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา วอลเลยบอล 23


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จํานวน 1 หนวยกิต

ศึกษาและวิเคราะหความรู ทักษะและประสบการณตางๆ ในกีฬาวอลเลยบอล พรอมวาง


แผนการเพื่อการดําเนินการพัฒนาและบูรณาการองคความรูเกี่ยวกับวอลเลยบอลทั้งหมดที่ไดเรียนมาให
เกิดประโยชนตอกีฬาวอลเลยบอล
โดยใชการฝกการออกแบบและจัดทําโครงงานกีฬาวอลเลยบอล ในสถานการณจริง ทั้งรูปแบบ
โครงงานเดี่ยว โครงงานคู และกลุม และผานการทดสอบสมรรถภาพทางกายและความสามารถทางการ
กีฬาวอลเลยบอล เห็นคุณคาและตระหนักถึงการดําเนินงานตางๆ ในกีฬาวอลเลยบอล และมีเจตคติที่ดีตอ
การนําไปประยุกตใหเปนประโยชนในชีวิตประจําวันและการเปนนักกีฬาวอลเลยบอลและอาชีพที่
เกี่ยวของกับวอลเลยบอล
ผลการเรียนรู
1. สามารถออกแบบและดําเนินโครงการกีฬาวอลเลยบอลได
2. มีความภาคภูมิใจและมั่นใจในอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล
3. บอกถึงหลักการ ความสําคัญ และวิธีการดําเนินงานโครงงานเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอลได
4. มีสมรรถภาพทางกายและความสามารถทางการกีฬาวอลเลยบอลที่ดี
กิจกรรมการเรียนรู
1. การเรียนรู วิธีสอนแบบอธิบายและสาธิต (Explanation and Demonstration Method)
ของครูผูสอน
1.1 ขั้นเตรียม
- การอบอุนรางกาย(Warm-up)
- การบริหารรางกาย
- การยืดเหยียดกลามเนื้อ
1.2 ขั้นบรรยายและสาธิต
- ตามเนื้อหาและสาระสําคัญของแตละหนวยการเรียนรู
1.3 ขั้นฝกปฏิบัติ
- แบบฝกที่ 1
- แบบฝกที่ 2
- แบบฝกที่ 3
1.4 ขั้นนําไปใช
- แบบฝกที่ 4 (เนนเกมการเลนและการเชื่อมโยงสูการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล)
1.5 ขั้นสรุป
- การสรุปเนื้อหา
- การคลายอุน (Cool Down)
58

การประเมินผลการเรียนรู
1. ประเมินทักษะและความสามารถทางวอลเลยบอล
2. ประเมินสมรรถภาพทางกาย
3. ประเมินทักษะการฝกซอมและแขงขัน
4. ประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน
5. ประเมินการทํารายงาน และโครงงาน และการศึกษานอกสถานที่
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและเจตคติที่ดีตอวอลเลยบอล
7. ประเมินทักษะการคิดและแกปญหา

ชิ้นงาน/ภาระงานที่ผูเรียนปฏิบัติ
1. การฝกตามแบบฝก
2. อภิปราย สาธิตและเขียนสรุปขอมูลเปนรายงานเกี่ยวกับการออกแบบและดําเนินโครงการ
กีฬาวอลเลยบอลเกี่ยวกับสมรรถภาพ ความสามารถทางกีฬาวอลเลยบอลและแนวทาง การพัฒนา
สําหรับตนเอง
3. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
4. เปนคณะกรรมการดําเนินการจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
5. เปนผูฝกสอนวอลเลยบอล
6. การศึกษาดูงานนอกสถานที่ทีมและการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลอาชีพ

สื่อ/อุปกรณ/แหลงเรียนรู
1. เอกสารตําราและเว็ปไซด
2. ใบความรูและใบงาน
3. วีดิทัศน
4. สนาม เน็ต ตาขาย ลูกวอลเลยบอล และอุปกรณประกอบการฝกตางๆ
5. อุปกรณเกี่ยวกับการตัดสิน นกหวีด และธง เปนตน
6. หองฟตเนส เครื่องมือทดสอบสมรรถภาพทางกาย และอุปกรณการฝกอื่นๆ
7. น้ําและเกลือแร
8. การศึกษานอกสถานที่ (รายการการจัดการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลในสถานการณจริง)
9. อื่นๆ ตามความเหมาะสม
59

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล1

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกีฬา 1. เขาใจและอธิบายประวัติความ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล ในอดีตมีความสําคัญ 20 50
วอลเลยบอล เปนมา ของกีฬาวอลเลยบอลได กับผูที่เลนวอลเลยบอล เพราะเปนการนําความรูเรื่อง
2. คุนเคยกับอุปกรณและสามารถดูแล วอลเลยบอลในอดีตมาเรียนรูและพัฒนาไปไดโดยการศึกษา
รักษาอุปกรณไดอยางถูกตองเพื่อให อยางลึกซึ้ง การศึกษาประวัติความเปนมาของกีฬา
เกิดความปลอดภัยในการใชงาน วอลเลยบอล ตั้งแตเริ่มแรกจนถึงปจจุบันวากีฬาวอลเลยบอล
3. เขาใจและเลนตามกฎ กติกา ในการ กําเนิดอยางไร พัฒนามาอยางไร และเขามาสูประเทศไทย
แขงขันกีฬาวอลเลยบอลได สมัยใด ความเปนมาอยางไร จึงพัฒนามาเปนกีฬาที่ไดรับ
4. รูทันเหตุการณ ความนิยมสูงสุด การเตรียมตัวกอนการฝกซอมและการ
5. เขาใจและอธิบายปจจัยไปสู แขงขัน การอบอุนรางกาย มีการใชอุปกรณและพัฒนาตาม
ความสําเร็จ และคุณลักษณะ ยุคสมัย และทราบถึงปจจัยไปสูความสําเร็จ และคุณลักษณะ
ที่พึงประสงคในกีฬาวอลเลยบอล ที่พึงประสงคในกีฬาวอลเลยบอล
2 ทักษะการทรงตัวและการ 1. เขาใจและสามารถฝกทักษะ ระบบของรางกายมีการทํางานประสานกันของกลามเนื้อและ 20 50
เคลื่อนที่ วอลเลยบอลดวยรูปแบบการฝกที่เนน ประสาทอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะประกอบดวย
การทรงตัวและการเคลื่อนที่เฉพาะกีฬา ความสามารถของแตละบุคคลในดานทักษะ และการปฏิบัติ
วอลเลยบอลในหลากหลายสถานการณ ในแบบฝกตางๆ คือ ความสมดุลของการเคลื่อนที่การกลับตัว
ไดอยางคลองแคลววองไว หรือการหมุน การเคลื่อนที่ในรูปแบบตางๆ กัน
2. สามารถนําความรูเรื่องทักษะการ การเคลื่อนที่ในจังหวะที่พรอมเพียงกัน การเคลื่อนที่ใน
60

ทรงตัวและการเคลื่อนที่ไปใชในการ จังหวะที่กําหนด และปฏิกิริยาตอบสนอง โดยมีจุดมุงหมาย


ฝกซอมและการแขงขันไดอยางถูกตอง ใหมีการเคลื่อนที่อยางคลองแคลววองไว
รวม 40 100
61

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 2

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
3 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. เขาใจและสามารถฝกทักษะ การสรางความคุนเคยกับอุปกรณการเลนกีฬาวอลเลยบอลมี 40 100
พื้นฐาน 1 วอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน และสราง อยูหลายวิธีดวยกันแตสิ่งที่สําคัญควรมุงเนนที่การสัมผัสดวย
ความคุนเคยกับอุปกรณในกีฬา แขนและมือ ในการฝกควรฝกแบบผสมผสาน ทั้งทักษะ
วอลเลยบอล การเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน ทักษะ
2. สามารถนําความรูการเลนลูกสอง การสงผาน ทักษะการุก ทักษะการรับ และทักษะการสกัด
มือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน กั้น เพื่อสรางความคุนเคยใหกับนักกีฬาและสามารถปฏิบัติ
ทักษะการสงผาน ทักษะการุก ทักษะตาง ๆ นั้นไดในหลากหลายรูปแบบ
ทักษะการรับ และทักษะการสกัดกั้น
มาใชในสถานการณการฝกซอมและ
แขงขันอยางถูกตอง
รวม 40 100
62

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 3

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
4 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. เขาใจและสามารถฝกทักษะ นอกจากเขาใจและมีความสามารถในทักษะพื้นฐานในกีฬา 40 100
พื้นฐาน 2 วอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน วอลเลยบอลแลว ทักษะที่จําเปนในการแขงขันอีกทักษะหนึ่ง
2. รูและเขาใจในทาทาง คือ ทักษะการรุก ซึ่งทักษะการรุกที่ดีจะนําไปสูการไดเปรียบ
การเคลื่อนไหวและตําแหนงของ ในการแขงขันและชัยชนะในการแขงขัน ทักษะการรุกมี
อวัยวะรางกาย ในการปฏิบัติทักษะ หลากหลายรูปแบบ เชน การรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวย
ตางๆ การหยอด การลุกดวยการตบ ซึ่งการตบนั้นยังมีแยกยอยอีก
หลากหลายรูปแบบ โดยจะถูกแบงแยกตามลักษณะ
การเคลื่อนที่ของผูเลน และลักษณะความสูงและความเร็วของ
การสงผานจากผูเลนในตําแหนงตัวเซตถึงผูทําการรุกหรือผูตี
รวม 40 100
63

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 4

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
5 การเสริมสรางสมรรถภาพ 1. มีความรูเรื่อง การเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย มีความจําเปนอยางยิ่งใน 20 50
ทางกายพื้นฐานในกีฬา สมรรถภาพทางกายพื้นฐานในนักกีฬา การพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬาใหไปสูจุดสูงสุด ซึ่ง
วอลเลยบอล วอลเลยบอล สมรรถภาพทางกายพื้นฐานของกีฬาวอลเลยบอลประกอบไป
2. สามารถปฏิบัติการการทดสอบ ดวย ความคลองตัว ความออนตัว การทรงตัว การ
สมรรถภาพทางกายสําหรับกีฬา ประสานงานและการตอบสนอง พลัง ความอดทน ความเร็ว
วอลเลยบอลได และความแข็งแรง ดังนั้นการทดสอบและการสรางเสริม
สมรรถภาพทางกายของนักกีฬาวอลเลยบอล จึงเปน
องคประกอบหนึ่งที่จะพัฒนาใหนักกีฬาประสบความสําเร็จ
6 การเสริมสรางสมรรถภาพ 1. ฝกปฏิบัติ การทดสอบและสาธิต สมรรถภาพทางกายเฉพาะ เปนสมรรถภาพทางกายที่นักกีฬา 20 50
ทางกายเฉพาะกีฬา รูปแบบ วิธีการฝกเพื่อสรางเสริม ตองมีสําหรับการแขงขัน นักกีฬาวอลเลยบอลตองฝกเสริม
วอลเลยบอล สมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬา กลามเนื้อ ขา อก แขนและไหล ซึ่งการเสริมสรางรางกาย
วอลเลยบอล เฉพาะที่มีวิธีการฝก เชน การฝกเพื่อพัฒนาสมรรถภาพของ
2. หารูปแบบและวิธีการฝกสมรรถ กลามเนื้อดวยน้ําหนัก การฝกสภาพรางกายเพื่อเพิ่มพลังใน
สมรรถภาพทางกายที่จะพัฒนาตนเอง การกระโดด การตบ และการฝกพลังเฉพาะตําแหนง เปน
และทีมไปสูค วามเปนเลิศ ตน
รวม 40 100
64

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 5

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
1 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตทักษะการรับ ในเกมการเลนวอลเลยบอลทักษะการรับและรูปแบบการรับ 40 100
พื้นฐาน 3 และทักษะการสกัดกั้น เปนอีกทักษะหนึ่งที่สําคัญอยางยิ่งในการแขงขันกีฬา
2. แสดงทักษะการรับและทักษะการ วอลเลยบอล ทักษะการรับจะแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ
สกัดกั้นไปใชในสถานการณฝกซอม ทักษะการรับเสิรฟ และทักษะการรับตบหรือหยอด การรับนั้น
และแขงขันไดอยางถูกตอง ยังมีรูปแบบการรับที่หลากหลาย ซึ่งนักกีฬาตองใหความสําคัญ
ในการเรียนรู อีกทั้ง ทักษะการสกัดกั้นถือวาเปนอีกทักษะหนึ่ง
ที่สําคัญไมนอยไปกวาทักษะการรับ หากนักกีฬามีทักษะการ
สกัดกั้นที่ดีก็จะเปนประโยชนใหกับผูเลนในตําแหนงรับตอไป
รวม 40 100
65

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 6

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
2 เชี่ยวชาญทักษะการทรง 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตในทักษะการ การพัฒนาความสามารถพื้นฐานในการเลนกีฬา ทักษะการทรง 40 100
ตัวและการเคลื่อนที่ใน ทรงตัวและทักษะการเคลื่อนที่อยาง ตัวและทักษะการเคลื่อนที่เปนสิ่งที่สําคัญ ดังนั้นการใสใจในการ
กีฬาวอลเลยบอล เชี่ยวชาญ ฝกทักษะการทรงตัวและทักษะการเคลื่อนที่จนเชี่ยวชาญนั้น
2. แสดงทักษะการทรงตัวและการ จะเปนประโยชนและขอไดเปรียบของนักกีฬา ทักษะที่ควรฝก
เคลื่อนที่ในการฝกซอมและแขงขัน คือ การทรงตัวขณะเคลื่อนที่ การทรงตัวขณะหยุดนิ่ง ทักษะ
อยางเชี่ยวชาญ การเคลื่อนที่ การเตน การกระโดด การวิ่ง การไขวเทาวิ่งและ
การลมตัว
รวม 40 100
66

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 7

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
3 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตทักษะการเลน ทักษะและกลยุทธการเลนกีฬาวอลเลยบอลประกอบดวยการ 40 100
พื้นฐาน 4 ลูกสองมือบน การเลนลูกสองมือลาง นําทักษะการเลนลูกสองมือบน การเลนลูกสองมือลาง ทักษะ
ทักษะการสงผาน ทักษะการเสิรฟ การสงผาน ทักษะการเสิรฟ ทักษะการตบ และทักษะการสกัด
ทักษะการตบ และทักษะการสกัดกั้น กัน มารวมเปนทักษะการรุกและทักษะการรับ ในการเลน
2. แสดงทักษะการเลนลูกสองมือบน เปนทีม ซึ่งทักษะการรุกและทักษะการรับนั้นเปนทักษะที่มี
การเลนลูกสองมือลาง ทักษะการ หลายรูปแบบ ดังนั้นนักกีฬาที่ประสบผลสําเร็จสวนใหญจึงให
สงผาน ทักษะการเสิรฟ ทักษะการตบ ความสําคัญกับการเรียนรูและฝกฝนทักษะและกลยุทธในการ
และทักษะการสกัดกั้น รวมเปน รุกและการรับเปนอยางมากโดยเฉพาะอยางยิ่งในการเลนเปน
ทักษะการรุก ในการฝกซอมและการ ทีม
แขงขันไดอยางถูกตอง
รวม 40 100
67

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 8

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
5 การเสริมสรางสมรรถภาพ 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตการสรางเสริม การพัฒนาทักษะและกลยุทธเปนสิ่งจําเปนสําหรับนักกีฬาอีก 40 100
ทางกลไกและสมรรถภาพ สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพ อยางหนึ่งแตถานักกีฬาสามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกลไก
ทางจิตใจที่จําเปนกับกีฬา ทางจิตใจที่จําเปนกับกีฬา และสมรรถภาพทางจิตใจรวมดวยจะทําใหนักกีฬาสามารถ
วอลเลยบอล (ในระดับ วอลเลยบอล แสดงความสามารถในการแสดงทักษะและกลยุทธไดอยาง
มัธยมศึกษาตอนตน) 2. มีสมรรถภาพทางกลไกและ เต็มที่ สมรรถภาพทางกลไกประกอบดวย ความคลองตัว
สมรรถภาพทางจิตใจที่ดีและ ความออนตัว การทรงตัว การประสานงานและการตอบสนอง
เหมาะสม การตอบสนอง ความอดทน ความเร็ว และความแข็งแรง
สมรรถภาพทางจิตใจประกอบดวย การตั้งเปาหมาย การ
จัดการกับอารมณและความเครียด สมาธิ ความวิตกกังวล และ
การสรางแรงจูงใจ
รวม 40 100
68

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 9

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนักการ


(ชั่วโมง) ประเมิน
(รอยละ)
1 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. การฝกและสาธิตทักษะการเลนลูก ทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน และ 40 100
กาวหนา 1 สองมือลาง การเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผานนับไดวาเปนทักษะพื้นฐานที่มีความสําคัญเปน
และทักษะการสงผาน อยางยิ่ง ในเกมสการแขงขันจะมีความแตกตางในเรื่องของ
2. แสดงทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทิศทางและความรุนแรงของลูกบอล ดังนั้นการฝกฝนทักษะ
การเลนลูกสองมือบน และทักษะการ การเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน และทักษะ
สงผานมาใชในการฝกซอมและการ การสงผาน อยางตอเนื่อง จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ผูเรียน
แขงขันไดอยางเชี่ยวชาญ ควรฝกฝนใหเกิดความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติทักษะดังกลาว
รวม 40 100
69

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 10

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
2 สมรรถภาพทางกายพิเศษ 1. ฝกและสาธิตสมรรถภาพทางกาย การฝกสมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอล เปนอีก 20 50
ในนักกีฬาวอลเลยบอล พิเศษในกีฬาวอลเลยบอล สวนหนึ่งที่จะพัฒนานักกีฬาวอลเลยบอลไปสูความเปนเลิศ
2. มีสมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬา ซึ่งประกอบไปดวยสมรรถภาพของกลามเนื้อ ไดแก หนาอก
วอลเลยบอล นองขาสวนหนา สะโพก ตนขาดานหนา และตนขาดานหลัง
หัวไหล แขนทอนลาง แขนทอนบน มือและนิ้ว
3 ทักษะและกลยุทธกีฬา 1. เรียนรูและเขาใจในขั้นตอนการฝก ทักษะและกลยุทธของการเลนกีฬาวอลเลยบอลประกอบไป 20 50
วอลเลยบอล ในการเลน ทักษะและกลยุทธในการเลนกีฬา ดวย การเสิรฟ การรับเสิรฟ การตบ การรับตบ การเลนลูก
เปนทีม วอลเลยบอล เพื่อพัฒนาไปสูการเลน สองมือลาง การเลนลูกสองมือบน การสกัดกั้น และทักษะ
ในระบบทีม การสงผาน ดังนั้นนักกีฬาจึงตองรับรูถึงขั้นตอนการฝกทักษะ
2. นําความรูเรื่องทักษะและกลยุทธ ตาง ๆ ดวยตนเองควบคูกับการมีความรูเรื่องกลยุทธในการเลน
ของการเลนกีฬาวอลเลยบอลมาปรับ ระบบทีม
ใชในการฝกซอมและการแขงขัน
รวม 40 100
70

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 11

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
4 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตทักษะการรุก ในการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล ทีมกีฬาวอลเลยบอลที่มีความ 40 100
กาวหนา 2 ในรูปแบบตาง ๆ เชี่ยวชาญในทักษะการรุกดวยการเสิรฟ การรุกดวยการตบ
2. มีความเชี่ยวชาญในทักษะการรุก และการรุกดวยการหยอด ซึ่งมีความหลากหลายของรูปแบบ
ในรูปแบบตาง ๆ ทั้งในการเลนและ ทิศทาง และความรุนแรง จะเปนทีมกีฬาที่มีโอกาสไดรับชัย
การแขงขัน ชนะสูง
รวม 40 100
71

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 12

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
5 การบูรณาการความรู 1. สามารถวางแผนการฝกและพัฒนา การประมวลความรูจากการเรียนในรายวิชาวอลเลยบอล 40 100
สมรรถภาพทางกาย และ นักกีฬาวอลเลยบอลได ทั้งหมดไปวิเคราะหและประยุกตใชในการฝกซอมและการ
ความสามารถในกีฬา 2. ผานการทดสอบสมรรถภาพทาง แขงขันจริง เชน การเตรียมทีมนักกีฬา และการเขารวมการ
วอลเลยบอล กายและความสามารถในกีฬา แขงขันรายการตาง ๆ ซึ่งจะมีการประเมินความรู ทักษะใน
วอลเลยบอล กีฬาวอลเลยบอล สมรรถภาพทางกาย และความสามารถใน
กีฬาวอลเลยบอล เพื่อการใชเปนแนวทางในการพัฒนาตนเอง
และทีมไปสูความเปนเลิศตอไป
รวม 40 100
72

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 13

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
1 ความรูที่จําเปนเกี่ยวกับ 1. เขาใจ และอธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอลในระดับนานาชาติมี 2 5
กีฬาวอลเลยบอลในระดับ สนามกรรมการ ผูชม กฎกติกาและ ความสําคัญกับผูที่เลนวอลเลยบอลเพราะเปนการนําความรู
นานาชาติ องคกรที่เกี่ยวของในระดับนานาชาติ เรื่องวอลเลยบอลในตางประเทศมาเรียนรูและพัฒนาใหไดดวย
2. บริการจัดการเกี่ยวกับอุปกรณและ การศึกษาอยางลึกซึ้ง ความเขาใจเกี่ยวกับอุปกรณ สนาม
สนาม รวมถึงเปนกรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน ผูชม กติกา รวมถึงการศึกษารายการแขงขัน
กีฬาวอลเลยบอลได ของกีฬาวอลเลยบอล ตั้งแตเริ่มแรกจนถึงปจจุบันวาสโมสร
ตางๆ มีการพัฒนาอยางไร รวมถึงการพัฒนาในประเทศไทย
และการกอตั้งองคกรที่สําคัญของกีฬาวอลเลยบอลทั่วโลก ทั้ง
ระดับชาติและโสมสร ซึ่งไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบันทั้งใน
และตางประเทศ
2 การบาดเจ็บและการ 1. มีความรูความเขาใจและสามารถ การบาดเจ็บทางการกีฬา เปนอุปสรรคอีกประการหนึ่งที่ทําให 4 10
บําบัดฟนฟูทางการกีฬา ปฏิบัติรักษาอาการบาดเจ็บจากการ ความสามารถในการเลนกีฬาและสมรรถภาพทางกายลดลง
เลนกีฬาและการบําบัดฟนฟูทางการ ดังนั้น เมื่อนักกีฬามีความความรูเรื่องการบาดเจ็บ การบําบัด
กีฬา พื้นฟูทางการกีฬา ก็จะทําใหนักกีฬาทราบถึงสาเหตุของ
2. ปองกันการบาดเจ็บ ตาง ๆ ที่มัก อุบัติเหตุ และสามารถปองกันอุบัติเหตุนั้น ๆ ได อีกทั้งเมื่อมี
เกิดจาก การฝกซอมและการแขงขัน อาการบาดเจ็บ ก็สามารถการบําบัดรักษาอยางถูกตองและ
ได รวดเร็ว
73

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 13 (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
3 อุปกรณการฝกซอม และ 1. สามารถดูแล และการจัดการ กีฬาวอลเลยบอลเปนกีฬาที่ตองใชอุปกรณในการฝกซอม เชน 4 10
แบบทดสอบทักษะใน รวมถึงการประยุกตใช อุปกรณตางๆลูกวอลเลยบอล ตาขาย ลูกวอลเลยบอลหู และกรวยเปนตน
กีฬาวอลเลยบอล ในการฝกวอลเลยบอล ซึ่งอุปกรณที่ใชในการฝกซอมนี้นักกีฬาตองศึกษาและหาวิธีวา
2. ใชแบบทดสอบทักษะในกีฬา ทําอยางไรจึงจะมีการดัดแปลงในรูปแบบการฝกการเลน
วอลเลยบอลได วอลเลยบอลหรือคิดคนหาอุปกรณทดแทน ดังนั้นนักกีฬา
จําเปนตองศึกษาขอปฏิบัติของการใชอุปกรณการฝกของกีฬา
วอลเลยบอลไดอยางถูกตอง อีกทั้งยังตองมีความสามารถใน
การใชแบบทดสอบทักษะในกีฬาวอลเลยบอลอีกดวยเพื่อเปน
การทดสอบและประเมินทักษะและความสามารถของนักกีฬา
4 สมรรถภาพทางกายพิเศษ 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตการฝก การพัฒนานักกีฬาวอลเลยบอลไปสูความเปนเลิศ การฝก 30 75
ในนักกีฬาวอลเลยบอล สมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬา สมรรถภาพทางกายพิเศษในกีฬาวอลเลยบอลเปนองคประกอบ
ที่พัฒนาไปสูความเปน วอลเลยบอล ที่สําคัญอีกประการหนึ่ง เพื่อเพิ่มความสามารถในการฝกซอม
เลิศ 2. มีสมรรถภาพทางกายพิเศษที่ดีและ และแขงขันกีฬาวอลเลยบอล สมรรถภาพทางกายพิเศษใน
เหมาะสม กีฬาวอลเลยบอล ไดแก การสรางความแข็งแรงใหกับกลามเนื้อ
สําคัญตางๆ ที่ใชในกีฬาวอลเลยบอล เชน ตนขาดานหนา
สะโพก หนาอก หัวไหล แขนทอนลาง แขนทอนบน มือและนิ้ว
รวม 40 100
74

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 14

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
5 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตทักษะการรับ ในการเลนวอลเลยบอลทักษะการรับและรูปแบบการรับเปนอีก 40 100
กาวหนา 3 และทักษะการสกัดกั้นอยางเชี่ยวชาญ ทักษะหนึ่งที่สําคัญอยางยิ่ง ในการแขงขันกีฬาวอลเลยบอล
2. แสดงทักษะการรับและทักษะการ ทักษะการรับจะแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ ทักษะการรับ
สกัดกั้น ใชในสถานการณฝกซอม เสิรฟ และทักษะการรับตบหรือหยอด การรับนั้น ยังมีรูปแบบ
และแขงขันไดอยางเชี่ยวชาญ การรับ หลากหลาย ซึ่งนักกีฬาตองใหความสําคัญในการเรียนรู
อีกทั้ง ทักษะการสกัดกั้นถือวาเปนอีกทักษะหนึ่งที่สําคัญไม
นอยไปกวาทักษะ การรับ ดังนั้นในการฝกซอมและแขงขันทีม
กีฬาวอลเลยบอลที่มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติทักษะการรับ
และทักษะการสกัดกั้น จะเปนทีมที่มีโอกาสไดรับชัยชนะและ
นําไปสูความเปนเลิศ
รวม 40 100
75

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 15

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
6 ทักษะวอลเลยบอลขั้น 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตการผสมผสาน การผสมผสานทักษะและกลยุทธการเลนกีฬาวอลเลยบอลเปน 40 100
กาวหนา 4 ทักษะการรับ ทักษะการสกัดกั้น และ สิ่งที่สําคัญที่จะนําไปสูความเปนเลิศ การนําทักษะการเลนลูก
ทักษะการรุกอยางเชี่ยวชาญ สองมือบน การเลนลูกสองมือลาง ทักษะการสงผาน ทักษะ
2. ผสมผสานความรูทักษะการรับ การเสิรฟ ทักษะการตบ และทักษะการสกัดกัน มารวมเปน
ทักษะการสกัดกั้น และทักษะการรุก ทักษะการรุกและทักษะการรับ และฝกฝนใหเกิดความ
ในสถานการณฝกซอมและแขงขันได เชี่ยวชาญ ซึ่งทักษะการรุกและทักษะการรับนั้น เปนทักษะที่มี
อยางเชี่ยวชาญ ความหลากหลายของรูปแบบ ดังนั้นนักกีฬา ที่ประสบ
ผลสําเร็จจึงใหความสําคัญกับการเรียนรูและฝกฝนทักษะและ
กลยุทธตาง ๆ เพื่อใหเกิดความเชี่ยวชาญในการเลนและการ
แขงขันจริง
รวม 40 100
76

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 16

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
7 การจัดการแขงขัน 1. เขาใจและอธิบายขั้นตอนและ กีฬาวอลเลยบอลเปนกีฬาที่นิยมกันมากทุกยุคทุกสมัย ถือไดวา 4 10
วอลเลยบอล องคประกอบของการดําเนินการ เปนกีฬายอดฮิตอีกชนิดหนึ่งเลยก็วาได แตอยางไรก็ตามการ
จัดการแขงขัน จัดการแขงขันนั้นเปนสิ่งที่สําคัญในการขับเคลื่อนใหนักกีฬา
2. ฝกและปฏิบัติการจัดการแขงขัน วอลเลยบอลมีการฝกซอมพัฒนาฝมือไดอยางตอเนื่อง ดังนั้น
กีฬาวอลเลยบอลไดอยางถูกตองและ ผูเรียนจึงตองมีความรูเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการการจัดการ
เหมาะสม แขงขันกีฬาวอลเลยบอลรวมถึงประสบการณตรงในการจัดการ
แขงขัน
8 การจัดการทีมกีฬา 1. ฝกและอธิบายตามหลักการและ การเตรียมทีมเพื่อการแขงขัน นักกีฬาตองมีความสัมพันธกันใน 2 5
วอลเลยบอล วิธีการการจัดการทีมวอลเลยบอลได ทีม และตองมีการวางแผนการเลน การแกปญหาตางๆ ในทีม
2. วางแผนการจัดการทีมกีฬา มีน้ําใจนักกีฬา และมีความสามัคคี มากไปกวานั้น จําเปนตองมี
วอลเลยบอลได ความสามารถในการจัดการปจจัยบุคลากร อุปกรณ สนามและ
งบประมาณในทีมนั้นๆรวมดวย
9 เทคโนโลยีและสารสนเทศ 1. ฝกและสาธิตการนําเทคโนโลยี การศึกษาและนําเทคโนโลยีและขอมูลสารสนเทศมาใชในการ 4 10
ในกีฬาวอลเลยบอล สารสนเทศมาใชในการพัฒนาการเลน พัฒนาทีมกีฬาวอลเลยบอล ถือไดวาเปนขอไดเปรียบอีก
2. นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใน ประการหนึ่ง ในการพัฒนานักกีฬา และทีมกีฬาวอลเลยบอลสู
การฝกซอมและแขงขันได ความเปนเลิศ
77

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 16 (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
10 การสงเสริมสมรรถภาพ 1. ฝกและสาธิตการพัฒนา การพัฒนาทักษะและกลยุทธเปนสิ่งจําเปนสําหรับนักกีฬาแตละ 30 75
ทางกลไกและสมรรถภาพ สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพ บุคคลและทีม มากไปกวานั้นหากนักกีฬาสามารถพัฒนา
ทางจิตใจที่จําเปนกับกีฬา ทางจิตใจที่จําเปนกับกีฬา สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจ ไปพรอมกันนั้นยิ่ง
วอลเลยบอล ( ในระดับ วอลเลยบอล จะทําใหนักกีฬาสามารถแสดงความสามารถในทักษะและกลยุทธได
มัธยมศึกษาตอนปลาย ) 2. มีสมรรถภาพทางกลไกและ อยางเต็มที่ โดยสมรรถภาพทางกลไก ประกอบดวย ความคลองตัว
สมรรถภาพทางจิตใจที่จําเปนกับกีฬา ความออนตัว การทรงตัว การประสานงานและการตอบสนอง
ความอดทน ความเร็ว และความแข็งแรง สมรรถภาพทางจิตใจ
ที่ดีและเหมาะสม
ประกอบดวยการตั้งเปาหมาย การจัดการกับอารมณและ
ความเครียด สมาธิ ความวิตกกังวล และการสรางแรงจูงใจ
รวม 40 100
78

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 17

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
1 การเปนผูฝกสอน 1. เขาใจและตระหนักในหลักการทาง การประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตรการกีฬาในการเปนผู 10 10
วอลเลยบอลและ วิทยาศาสตรการกีฬากับการฝก ฝกสอนเปนหัวใจสําคัญของทีมวอลเลยบอลที่ประสบผลสําเร็จ
วิทยาศาสตรการกีฬา วอลเลยบอล ในแตละขั้นตอนของการดําเนินการเชนการวางแผนการฝกซอม
ในกีฬาวอลเลยบอล 2. ฝกและเปนผูฝ กสอนได การดําเนินการฝกซอมและการวิเคราะหผลการฝก สามารถ
3. เขาใจและนําหลักการตางๆ ทาง ประยุกตใชความรูทางกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา
วิทยาศาสตรการกีฬาไปใชได วิทยาศาสตรการเคลื่อนไหว โภชนาการ จิตวิทยา เวชศาสตร
4. สาธิตและฝกตามหลักการทาง
การกีฬาและอื่น ๆ รวมถึงประยุกตใชในการฝกซอมและการ
วิทยาศาสตรการกีฬาไดอยางถูกตอง
แขงขันกีฬาวอลเลยบอลตั้งแตขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง
และเหมาะสม
2 การสงเสริมสมรรถภาพ 1. ฝกและสาธิตการพัฒนาสมรรถภาพ ในการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลเพื่อสูความเปนเลิศ การพัฒนา 30 75
ทางกลไกและสมรรถภาพ ทางกลไกและสมรรถภาพจิตใจที่จําเปน สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจอยางตอเนื่องและ
ทางจิตใจ เพื่อพัฒนาไปสู กับกีฬาวอลเลยบอล เต็มศักยภาพ นักกีฬาจะสามารถแสดงความสามารถในทักษะและ
ความเปนเลิศ 2. มีสมรรถภาพทางกลไกและ กลยุทธไดอยางเต็มที่และสูงสุด โดยสมรรถภาพทางกลไกประกอบ
สมรรถภาพทางจิตใจทีจ่ ําเปนกับกีฬา ดวยความคลองตัว ความออนตัว การทรงตัว การประสานงานและ
วอลเลยบอลที่ดีและเหมาะสมไปใชใน การตอบสนอง ความอดทน ความเร็วและความแข็งแรงสมรรถภาพ
การฝกซอมและแขงขันได ทางจิตใจประกอบดวยการตั้งเปาหมาย การจัดการกับอารมณและ
ความเครียด สมาธิ ความวิตกกังวล และการสรางแรงจูงใจ
รวม 40 100
79

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 18

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
3 ทักษะวอลเลยบอล 1. การฝกและสาธิตทักษะการเลนลูก ทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน และ 40 100
ขั้นสูง 1 สองมือลาง การเลนลูกสองมือบน ทักษะการสงผานนับไดวาเปนทักษะพื้นฐานที่มีความสําคัญเปน
และทักษะการสงผาน อยางยิ่ง ในเกมสการแขงขันจะมีความแตกตางในเรื่องของ
2. แสดงทักษะการเลนลูกสองมือลาง ทิศทางและความรุนแรงของลูกบอล ดังนั้นการฝกฝนทักษะ
การเลนลูกสองมือบน และทักษะการ การเลนลูกสองมือลาง ทักษะการเลนลูกสองมือบน และทักษะ
สงผานในการฝกซอมและการแขงขัน การสงผาน อยางตอเนื่องและเต็มศักยภาพ จึงมีความจําเปน
ไดอยางเชี่ยวชาญและมีประสิทธิภาพ อยางยิ่ง ซึ่งผูเรียนควรฝกฝนใหเกิดความเชี่ยวชาญเพื่อที่จะ
สามารถนําทักษะเหลานี้ไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดใน
การฝกซอมและแขงขันตอไป
40 100
80

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 19

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) กาประเมิน
(รอยละ)
4 การฝกทักษะทางจิตใจ 1. เขาใจและนําหลักการตางๆ ที่ได
ผลกระทบตอจิตใจยังเปนสิ่งที่มีอิทธิพลเสมอกับการแสดง 2 5
สําหรับนักกีฬา จากการฝกทางจิตใจไปใชได ความสามารถของนักกีฬา ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่ผูฝกสอน
2. ฝกและสาธิตตามหลักการทาง และนักกีฬาจะใหความสนใจในการฝกทักษะทางจิตใจ เพื่อเปน
จิตวิทยาการกีฬา วิธีการควบคุมสภาพจิตใจ อารมณ ความรูสึกตางๆ เพื่อการ
ฝกซอมและการแขงขันที่มีประสิทธิภาพ
5 โภชนาการและ 1. เขาใจและอธิบายความรูทาง การเพิ่มสมรรถภาพทางกายใหกับนักกีฬาโดยใชความรูทาง 2 5
องคประกอบของรางกาย โภชนาการและองคประกอบของ โภชนาการเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งของการพัฒนา
เพื่อสมรรถภาพนักกีฬา รางกายเพื่อสมรรถภาพนักกีฬาได ศักยภาพของนักกีฬา ดังนั้นนักกีฬาจึงตองใหความสนใจและใส
2. นํากลักการโภชนาการและ ใจเกี่ยวกับโภชนาการ รวมถึงองคประกอบของรางกายของ
องคประกอบของรางกายไปใชในการ นักกีฬา เพื่อใหนักกีฬามีสมรรถภาพทางกายที่ดีและมีรูปรางที่
เพิ่มสมรรถภาพนักกีฬาทั้งในการ ดีเหมาะสมกับการเปนนักกีฬา
ฝกซอมและแขงขัน
81

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 19 (ตอ)

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
6 การตัดสินและการฝกเปน 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตรูปแบบการฝก ผูควบคุมการตัดสินหรือกรรมการ นอกจากจะเปนผูที่สามารถ 6 15
ผูตัดสินกีฬาวอลเลยบอล การตัดสิน และการฝกปฏิบัติเปนผู จดจํากฎกติกาไดอยางแมนยําแลวยังตองสามารถแสดงทาทาง
ตัดสินวอลเลยบอลได สัญญาณมือเพื่อสื่อความหมายระหวางการตัดสิน ดังนั้นผูที่
2. สามารถปฏิบัติเปนผูตัดสินกีฬา ฝกฝนเปนกรรมการตัดสินจึงควรใหเวลากับการฝกฝนและทํา
วอลเลยบอลไดอยางถูกตองและ ความเขาใจกับกฎกติกาและแนวปฏิบัติของกรรมการตัดสินเปน
บริสุทธิ์ยุติธรรม สําคัญ อีกทั้งการเปนผูตัดสินนั้นยังตองเปนคนที่มีคุณธรรมและ
จริยธรรมรวม
7 การสงเสริมสมรรถภาพ 1. ฝกและสาธิตการพัฒนาสมรรถภาพ ในการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลสูความเปนเลิศ การพัฒนา 30 75
ทางกลไกและสมรรถภาพ ทางกลไกและสมรรถภาพจิตใจที่จําเปน สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจอยางตอเนื่องและ
ทางจิตใจ เพื่อพัฒนาไปสู กับกีฬาวอลเลยบอล เต็มศักยภาพสูงสุด นักกีฬาจะสามารถแสดงความสามารถในทักษะ
ความเปนเลิศ 2. มีสมรรถภาพทางกลไกและ และกลยุทธไดอยางเต็มที่และสูงสุด โดยสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางจิตใจทีด่ ีและเหมาะสม ประกอบดวย ความคลองตัว ความออนตัว การทรงตัว การ
ประสานงาน และการตอบสนอง ความอดทน ความเร็ว และความ
แข็งแรง สมรรถภาพทางจิตใจประกอบดวยการตั้งเปาหมาย การ
จัดการกับอารมณและความเครียด สมาธิ ความวิตกกังวล และ
การสรางแรงจูงใจ
รวม 40 100
82

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 20

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
1 ทักษะวอลเลยบอล 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตการผสมผสาน นอกจากการเรียนรูทักษะ การบริหารจัดการ และการ 40 100
ขั้นสูง 2 ทักษะการรับ ทักษะการรุก ทักษะ ประยุกตใชวิทยาศาสตร การกีฬาแลว การที่นักกีฬาไดเรียนรู
การสงตอ และทักษะการสกัดกั้น และฝกซอมการใชกลยุทธการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลใหได
อยางมีประสิทธิภาพ อยางเชี่ยวชาญจะเปนสิ่งสําคัญของกีฬาเพื่อความเปนเลิศใน
2. ผสมผสานทักษะการรับ ทักษะการ กีฬาวอลเลยบอล ซึ่งประกอบดวยการเลนเพื่อเปลี่ยนเสิรฟ
รุก ทักษะการสงตอ ทักษะการสกัด การเซต การสงบอลใหเลนตอ การโจมตี การตบบอล การโจมตี
กั้น ไปใชในการฝกซอมและการ ครั้งที่ 2 การรองบอล การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้งจนกวาจะ
แขงขันอยางเชี่ยวชาญและมี สําเร็จ การทําคะแนน การเสิรฟบอล การสกัดกั้น การเตรียม
ประสิทธิภาพ ตัวโจมตีกลับ การโจมตีกลับ การเตรียมตัวโจมตีกลับอีกครั้ง
การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้งจนกวาจะสําเร็จ รวมถึงใชระบบ
รูปแบบ เทคนิคหรือแทคติกในการเลนและการแขงขัน
รวม 40 100
83

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 21

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
1 การจัดการทีมกีฬา 1. เขาใจและสามารถอธิบายขั้นตอน ในปจจุบันกีฬาวอลเลยบอลไดรับความนิยมอยางสูง จึงไดมีการ 4 10
วอลเลยบอลระดับอาชีพ ดําเนินการจัดการทีมกีฬา จัดการแขงขันทั้งในระดับสมัครเลนและในระดับอาชีพ ดังนั้น
วอลเลยบอลเพื่อการแขงขันและ แนวทางในการจัดการทีมกีฬาเพื่อการแขงขันและอาชีพจึงเปน
อาชีพได อีกหนึ่งองคความรูและประสบการณที่มีความสําคัญของผูที่จะ
2. ดําเนินการจัดการทีมกีฬา ประกอบอาชีพเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบอล
วอลเลยบอลเพื่อการแขงขันได
2 หลักวิทยาศาสตรการกีฬา 1. เขาใจ อธิบายและนําหลักการ การประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตรการกีฬาในการเปนผู 6 15
ในกีฬาวอลเลยบอลอาชีพ ตางๆ ทางวิทยาศาสตรการกีฬาไปใช ฝกสอนเปนหัวใจสําคัญของทีมวอลเลยบอลที่ประสบผลสําเร็จ
ในการฝกกีฬาวอลเลยบอลได ในแตละขั้นตอนของการดําเนินการเชนการวางแผนการฝกซอม
2. ออกแบบโปรแกรมและรูปแบบ การดําเนินการฝกซอมและการวิเคราะหผลการฝก สามารถ
การฝกที่เปนไปตามหลักการทาง ประยุกตใชความรูทางกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา
วิทยาศาสตรการกีฬาได วิทยาศาสตรการเคลื่อนไหว โภชนาการ จิตวิทยา เวชศาสตร
การกีฬาและอื่น ๆ รวมถึงประยุกตใชในการฝกซอมและการ
แขงขันกีฬาวอลเลยบอลตั้งแตขั้นพื้นฐานจนถึงขั้นสูง อีกทั้งยัง
นําความรูทางวิทยาศาสตรการกีฬามาประยุกตใชในการ
ออกแบบโปรแกรมรูปแบบการฝกซอม การวิเคราะหผลการฝก
ไดอยางถูกตองและเปนประจํา
84

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 21 ( ตอ )

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
3 การสงเสริมสมรรถภาพ 1. ฝกและสาธิตการพัฒนาสมรรถภาพ ในการแขงขันกีฬาวอลเลยบอลสูความเปนเลิศ การพัฒนา 30 75
ทางกลไกและสมรรถภาพ ทางกลไกและสมรรถภาพจิตใจที่จําเปน สมรรถภาพทางกลไกและสมรรถภาพทางจิตใจอยางตอเนื่อง
ทางจิตใจ เพื่อพัฒนาไปสู กับกีฬาวอลเลยบอล กาวหนาและเต็มศักยภาพสูงสุด นักกีฬาจะสามารถแสดง
ความเปนเลิศ 2. มีสมรรถภาพทางกลไกและ ความสามารถในทักษะและกลยุทธไดอยางเต็มที่และสูงสุด โดย
สมรรถภาพทางจิตใจทีจ่ ําเปนกับกีฬา สมรรถภาพ ทางกลไก ประกอบดวย ความคลองตัว ความออนตัว
วอลเลยบอลที่ดีและเหมาะสม การทรงตัว การประสานงานและการตอบสนอง ความอดทน
ความเร็ว และความแข็งแรง สมรรถภาพทางจิตใจประกอบดวย
การตั้งเปาหมาย การจัดการกับอารมณและความเครียด สมาธิ
ความวิตกกังวล และการสรางแรงจูงใจ
รวม 40 100
85

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 22

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
4 ทักษะวอลเลยบอล 1. ฝกปฏิบัติและสาธิตการผสมผสาน นอกจากการเรียนรูทักษะ การบริหารจัดการ และการ 40 100
ขั้นสูง 3 ทักษะการรับ ทักษะการรุก ทักษะ ประยุกตใชวิทยาศาสตร การกีฬาแลว การที่นักกีฬาไดเรียนรู
การสงตอ ทักษะการสกัดกั้น อยาง และฝกซอมอยางตอเนื่องเปนสําคัญและกาวหนาการใชกลยุทธ
ประสิทธิภาพ การแขงขันกีฬาวอลเลยบอลใหไดอยางเชี่ยวชาญจะเปนสิ่ง
2. ผสมผสานทักษะการรับ ทักษะการ สําคัญของกีฬาเพื่อความเปนเลิศในกีฬาวอลเลยบอล ซึ่ง
รุก ทักษะการสงตอ ทักษะการสกัด ประกอบดวยการเลนเพื่อเปลี่ยนเสิรฟ การเซต การสงบอลให
กั้น ไปใชในการฝกซอมและการ เลนตอ การโจมตี การตบบอล การโจมตี ครั้งที่2 การรองบอล
แขงขันอยางเชี่ยวชาญและมี การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้งจนกวาจะสําเร็จ การทําคะแนน
ประสิทธิภาพสูงสุด การเสิรฟบอล การสกัดกั้น การเตรียมตัวโจมตีกลับ การโจมตี
กลับ การเตรียมตัวโจมตีกลับอีกครั้ง การเตรียมตัวโจมตีอีกครั้ง
จนกวาจะสําเร็จ รวมถึงใชระบบ รูปแบบ เทคนิคหรือแทคติก
ในการเลนและการแขงขัน การที่นักกีฬาไดเรียนรูและฝกซอม
อยางตอเนื่อง เปนลําดับและการใชกลยุทธในการแขงขันเปน
แนวทางไปสูความเปนเลิศในกีฬาวอลเลยบอล
รวม 40 100
86

โครงสรางรายวิชา
วอลเลยบอล 23

ลําดับที่ ชื่อหนวยการเรียน ทักษะและความสามารถ สาระการเรียนรู เวลา น้ําหนัก


(ชั่วโมง) การประเมิน
(รอยละ)
5 การบูรณาการความรู 1. สามารถวางแผนการฝกและพัฒนา การประมวลความรูจากการเรียนการสอนในรายวิชา 40 100
สมรรถภาพทางกาย นักกีฬาวอลเลยบอลได วอลเลยบอล แลวนํามาวิเคราะหและประยุกตใชในการฝกซอม
และความสามารถในกีฬา 2. ผานการทดสอบสมรรถภาพทาง และการแขงขัน ซึ่งจะมีการประเมินความรู ทักษะในกีฬา
วอลเลยบอล กายและความสามารถในกีฬา วอลเลยบอล สมรรถภาพทางกาย และความสามารถในกีฬา
วอลเลยบอล วอลเลยบอล เพื่อการใชเปนแนวทางในการพัฒนาตนเองและ
ทีมไปสูความเปนเลิศและอาชีพใหไดอยางตอเนื่อง
รวม 40 100
บรรณานุกรม

งานทดสอบและสงเสริมสมรรถภาพ กองสมรรถภาพการกีฬา ฝายวิทยาศาสตรการกีฬา


การกีฬาแหงประเทศไทย (2554) การศึกษาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายกีฬาวอลเลยบอล.
(ออนไลน). เขาถึงไดจาก: www.sportscience.sat.or.th/download-book.aspx?Id=51
เจริญ กระบวนรัตน. (2547). การฝกกลามเนื้อดวยการยกน้ําหนัก. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ธีระศักดิ์ อาภาวัฒนาสกุล. (2552). หลักวิทยาศาสตรในการฝกกีฬา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
นิติพันธ สระภักดิ์. (2551). วิธีการฝกสอนกีฬาที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : รําไทยเพรส.
อมรพงศ สุธรรมรักษ. (2546). วอลเลยบอลขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
F.I.V.B Techincal Skills by the Best Volleyball Players and Teams in The Wold.
(m.p.)(n.d.)
คณะกรรมการที่ปรึกษา
1. นายสุเวช ชัยทองดี ปลัดเทศบาลเมืองรอยเอ็ด
2. นายสุวิทย วิเชียรดี ผูอํานวยการสํานักการศึกษา
3. นายประวิทย โอวาทกานนท ผูอํานวยการสถานศึกษา
4. นายสมศักดิ์ นิลผาย ผูอํานวยการสถานศึกษา
5. นายสุวิทย งามสนิท ผูทรงคุณวุฒิ
6. นางธนิตา กุลสุวรรณ ผูอํานวยการสถานศึกษา
7. นายธรรมศักดิ์ ชิตทรงสวัสดิ์ หัวหนาฝายกิจการโรงเรียน

ขอขอบคุณ
ผูทรงคุณวุฒิ
1. รองศาสตราจารย ดร.วิชัย วงษใหญ ผูเชี่ยวชาญพิเศษ มหาวิทยาลัยวงศชวลิตกุล
2. รองศาสตราจารย ดร.อุทัย บุญประเสริฐ ผูอานวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาการจัดการการศึกษา
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
3. รองศาสตราจารย ดร.พิศมัย ศรีอําไพ ผูเชี่ยวชาญภาควิชาหลักสูตรและการสอน
คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
5. วาที่ ร.ต.ธนกฤต อินเลี้ยง ผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอลทีมหญิง
โรงเรียนนครนนทวิทยา 6
6. อาจารยธรรมนพ แกวเลื่อมใส ผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอลทีมชาย
โรงเรียนนครนนทวิทยา 6
7. อาจารยนิพนธ แจมแจง หัวหนากลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนบดินเดชา สิงห สิงหเสนี
ผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอลเยาวชนทีมชาติไทย
8. อาจารยนิยม บุญญาเศวต อดีตหัวหนากลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนบดินเดชา สิงห สิงหเสนี
9. อาจารยศักดา รัตนมุสิก ผูอํานวยการโรงเรียนเทศบาล 5
เทศบาลนครสุราษฏรธานี
10. อาจารยสุรพล พันธุทอง หัวหนากลุมสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนเทศบาล 5 เทศบาลนครสุราษฏรธานี
11. อาจารยสุริยะ จริตงาม ผูฝกสอนนักกีฬาวอลเลยบอล
โรงเรียนเทศบาล 5 เทศบาลนครสุราษฏรธานี
12. นาวาอากาศโท จักรสุวรรณ โตเจริญ เลขาธิการสมาคมวอลเลยบอลแหงประเทศไทย
13. นาวาอากาศตรี ณัฐพนธ ศรีสมัทรนาค ผูฝกสอนนักกีฬาวอลเลยบอลทีมชาติไทย
14. ผูชวยศาสตรจารย ประเสริฐศักดิ์ บุญศิริโรจน กรรมการผูตัดสินกีฬาวอลเลยบอล
รับรองโดยสมาคมวอลเลยบอลแหงประเทศไทย
16. อาจารยสําลี เลิกนอก ครูชํานาญการกีฬาวอลเลยบอล
และผูฝกสอนกีฬาวอลเลยบอล
โรงเรียนนาขา อําเภอวาปปทุม จังหวัดมหาสารคาม
17. อาจารยขจรศักดิ์ มานะพรชัย โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
18. ผูชวยศาสตราจารยถาวร กมุทศรี วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การกีฬา
มหาวิทยาลัยมหิดล ( ศาลายา )

หนวยงานหรือสถาบันที่มีวิธีปฏิบัติงานเปนเลิศ (Best Practice)


1. ทีมวอลเลยบอลโรงเรียนบดินเดชา (สิงห สิงหเสนี) กรุงเทพมหานคร
2. ทีมวอลเลยบอลโรงเรียนนครนนทวิทยา 6 จังหวัดนนทบุรี
3. ทีมวอลเลยบอลโรงเรียนเทศบาล 5 เทศบาลนครสุราษฏรธานี จังหวัดสุราษฏรธานี

คณะกรรมการยกรางหลักสูตร
1. อาจารย ดร.สมทรง สิทธิ ประธานกรรมการยกราง
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2. อาจารย ดร.ชัยรัตน ชูสกุล กรรมการยกราง
ภาควิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและการกีฬา
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
3. อาจารย ดร.กันยารัตน สอนสุภาพ กรรมการยกราง
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
4. อาจารย ดร.อารยา ปยะกุล กรรมการยกรางและเลขานุการ
ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ดยก
รมส

่เ
สร

ิกา
รป
กคร
องท

้งถ
นก

ิ ร
ะท
รวง
มหา
ดไ
ทย

You might also like