You are on page 1of 22

รายงาน

เรื่อง :ประวัติฟุตซอล

จัดทำโดย

นางสาวพรณัชชา แสวงสวัสดิ ์ เลขที่ 3

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่5/1

นำเสนอ

อาจารย์ วรวุฒ แพงสอน

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชาพลศึกษา

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

โรงเรียนเตรียมศึกษานายายอาม
จังหวัด จันทบุรี

คำนำ

รายงานเล่มนีจ
้ ัดทำขึน
้ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของวิชาพลศึกษา ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เพื่อให้ได้ศึกษาความรู้ในเรื่อง ฟุตซอล และได้
ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนีจ
้ ะเป็ นประโยชน์ต่อผู้อ่านที่กำลัง
ศึกษาเรื่องนีอ
้ ยู่ไม่มากก็น้อย หากมีขอ
้ แนะนำหรือข้อผิดพลาด
ประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นด
ี ้ ้วย

นางสาวพรณัชชา แสวงสวัสดิ ์ เลขทึ่ 3

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

ผู้จัดทำ
สารบัญ

เรื่อง หน้า

ประวัติฟุตซอล 1

ประวัติฟุตซอลและกติกามารยาทการเล่น
2

ประวัติฟุตซอลในประเทศไทย
3

กติกาฟุตซอล 5
การนับประตู 6

อุปกรณ์ 6

ประโยชน์ของการเล่น
7

มารยาทผู้เล่น 7

เทคนิกการเล่น 8

การทรงตัว
10

การเคลื่อนที่ไปข้งหน้า ถอยหลัง ไปทางซ้ายและทางขวา


11

ประวัติกีฬาฟุตซอล
ฟุตซอล (ภาษาอังกฤษ: Futsal) เริ่มต้นในปี 1930 หลายคนคง
อยากรู้จักกับประวัติฟุตซอล และกฏกติกาฟุตซอล ให้มากขึน
้ เพื่อ
ความสนุกในการชมและเชียร์เวลามีการแข่งขัน

ประวัติฟุตซอล
ต้นกำเนิดของฟุตซอล มาจากการเล่นฟุตบอลแบบข้างละ 5 คน
สามารถมองย้อนไปในปี 1930 ที่มอนเตวิโอ ประเทศอุรุกวัย เมื่อ
ฮวน คาร์ลอส เซอเรียนี ได้นำฟุตบอลข้างละ 5 คนนีไ้ ปใช้ในในการ
แข่งขันที่สมาคม YMCA ได้เล่นโดยใช้พ้น
ื ที่ของสนามบาสเกตบอลใน
การเล่น ทัง้ ภายในและภายนอกโรงยิมจึงทำให้เกิดการเล่นแบบอินด
อร์ซอคเกอร์ซึ่งได้รับความสนใจอย่างมากเพราะไม่มีปัญหาด้านสภาพ
ภูมิอากาศ อินดอร์ซอคเกอร์ ได้รับความนิยมและมีคนให้ความสนใจ
เพิ่มขึน
้ เรื่อย ๆ ส่วนในประเทศบราซิลมีการกล่าวถึงการพัฒนาฟุตซอ
ลมาจากฟุตบอลข้างถนน กระทั่งปี 1932 โรเจอร์ เกรน ได้บัญญัติกฎ
ที่เป็ นมาตรฐานในการควบคุมการแข่งขันขึน
้ และได้ใช้กฎและข้อ
บังคับนีใ้ ช้จนมาถึงปั จจุบันนี ้
คำว่าฟุตซอล (Futsal) คือ คำที่นานาประเทศใช้เรียกกีฬา
ประเภทนีโ้ ดยมีรากศัพท์มาจากประเทศสเปนหรือโปตุเกส ที่เรียก
soccer ว่า “FUTbol” หรือ “FUTebol” และที่ภาษาฝรั่งเศสหรือ
สเปนเรียก Indoor ว่า ” SALa” ที่แปลว่า อินดอร์ หรือในร่ม ซึ่งรวม
เป็ นคำว่า “fUtSAl” แต่เป็ นคำที่มีฐานจากประเทศสหรัฐอเมริกาโดย
เฉพาะ “fUtSAl” (USA) คำที่เป็ นชื่อของประเทศสหรัฐอเมริกา จึงมี
การใช้คำว่า FUTSAL แทน ซึ่งหมายถึง การเตะบอลในสนามขนาด
ย่อมในร่ม กลายเป็ นคำที่เรียกขาน

กันแทนคำว่า “Five-A-Side” หรือบอล 5 คน นอกจากนัน


้ การเล่น
ฟุตซอลกลางแจ้งเมื่อเข้าสู่ชว่ งฤดูหนาว ประเทศในบางทวีปของโลก
ที่ประสบกับปั ญหาหิมะตกและสภาพอากาศที่หนาวมากไม่สามารถ
จัดการแข่งขันกีฬากลางแจ้ง ได้ จึงถือเป็ นช่วงสิน
้ สุดฤดูกาลแข่งขัน
แต่เนื่อง จากฤดูหนาวมีระยะเวลาที่ยาวนานและสภาพอากาศกลาง
แจ้งไม่เอื้ออำนวยต่อการเล่นกีฬาฟุตบอล จึงเป็ นปั จจัยหนึ่งที่ทำให้
คนหันมาเล่นกีฬาในร่มแทน และนี่คือที่มาของกีฬาฟุตบอลในร่ม 5
คน หรือที่เรียกว่า “ฟุตซอล” (FUTSAL)

การแข่งขันฟุตซอลมีการจัดการแข่งขันอยู่เป็ นประจำใน
ประเทศแถบอเมริกาใต้ ฟุตซอลจึงเป็ นเกมการแข่งขันที่ชาว
อเมริกาใต้นิยมเล่นกันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศบราซิล ซึ่งมี
นักกีฬาที่มีทักษะความสามารถเฉพาะตัวในการเล่นฟุตบอลสูง ด้วย
ลีลาอันเร้าใจ และสนุกสนานจากนักเตะชื่อก้องโลกอย่าง เปเล่ ซิโก้
โซคราเตส เบเบโต้ โรนัลดินโญ่และนักเตะชื่อดังจากบราซิลคนอื่น ๆ
จำนวนมากต่างก็เคยเข้าแข่งขันฟุตซอลมาแล้วทัง้ สิน
้ ในขณะที่
บราซิลมีการเล่นอย่างต่อเนื่องและเป็ นการเผยแพร่การเล่นฟุตซอล
แก่ประเทศอื่น ๆ ในโลก ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอล
นานาชาติ (FIFA) และทีมอื่น ๆ ที่มีความสามารถอันยอดเยี่ยมจาก
ทุกมุมโลก

การแข่งขันครัง้ แรกมีขน
ึ ้ ในปี 1965 จัดการแข่งขันครัง้ แรกใน
อเมริกาใต้ ประเทศปารากวัยได้แชมป์ ทวีปอเมริกาใต้และในปี 1979
ทีมชาติบราซิลมีชัยชนะเหนือทีมทัง้ หมดที่เข้าร่วมการแข่งขันซึ่งทำให้
บราซิลเริ่มโดดเด่นเหนือทีมจากกลุ่ม Pan American ในปี 1980
และชนะติดต่ออีกครัง้ ในปี 1984 อย่างไรก็ตามสหพันธ์ฟุตซอลแห่ง
สหรัฐอเมริกา (The U.S. Futsal Federation) ถูกก่อตัง้ ในปี 1981
นายออสวัลโด การ์เซีย (Osvaldo Garcia) เป็ นประธานคนแรกของ
สหพันธ์

ประวัตฟ
ิ ุตบอล และกติกามารยาทการเล่ น

การแข่งขันชิงแชมป์ โลกครัง้ แรกที่ถูกจัดอย่างไม่เป็ นทางการที่


กรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล ในปี 1982 และเจ้าภาพบราซิลได้รับ
ชัยชนะ จากนัน
้ บราซิลมาได้เป็ นแชมป์ อีกครัง้ ในปี 1985 ที่ประเทศ
สเปน แต่พลาดเป็ นแชมป์ ในการแข่งขันชิงแชมป์ โลกครัง้ ที่ 3 อย่างไร
ก็ตามบราซิลกลับมากวาดแชมป์ โลกอีก 2 ครัง้ ในปี 1989 ที่ประเทศ
ฮอลแลนด์ ซึ่งสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA) ได้เข้ามาดูแลการ
แข่งขันชิงแชมป์ โลกอย่างเป็ นทางการครัง้ แรก ซึ่งจัดการแข่งขัน ณ
ประเทศฮอลแลนด์ และประเทศบราซิลยังครองความเป็ นแชมป์ รอง
แชมป์ ได้แก่ประเทศสเปน อันดับสามประเทศรัสเซีย และในปี 1992
ที่ฮ่องกง

ในขณะที่ทีมฟุตซอล จากประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตำแหน่งที่ 3
ในปี 1989 และที่ 2 ในปี 1992 ในการแข่งขันชิงแชมป์ ฟุตซอลโลก
นั่นคือตำแหน่งที่สูงที่สุดของทีมจากประเทศสหรัฐอเมริกาในการ
แข่งขันที่จัดขึน
้ โดยสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA) แม้ว่าทีมจาก
ทวีปอเมริกาใต้จะมีความยิ่งใหญ่ในช่วงที่ผ่านมา แต่ในปี 2000 การ
แข่งขันชิงแชมป์ โลก ครัง้ ที่ 4 ณ ประเทศกัวเตมาลา ทีมจากประเทศ
สเปนสามารถล้มแชมป์ เก่าสามสมัยอันดับหนึ่งของโลกได้อย่างงดงาม
และครองชัยชนะต่อไปอีกในปี 2004 ในการแข่งขันชิงแชมป์ โลกครัง้
ที่ 5 ณ ประเทศไต้หวัน แต่ต่อมาในปี 2008 ทีมชาติสเปนพ่ายการ
ดวลจุดโทษ 4-3 ประตูภายหลังจากเสมอกัน 2 ประตูต่อ 2 ให้กับทีม
ชาติบราซิล อย่างไรก็ตามการจัดอับดับของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
(FIFA) ทีมชาติสเปนยังคงครองอันดับหนึ่ง ตามด้วยทีมชาติบราซิล
และอิตาลีอันดับสาม

ในปั จจุบันฟุตซอล (FUTSAL) เป็ นกีฬาที่ได้รับความนิยมและ


สนใจจากทุกเพศทุกวัยเนื่องจากเป็ นเกมกีฬาที่ต่ น
ื เต้น สนุกสนานใน
ทุก ๆ นาทีของการแข่งขัน และสามารถเล่นได้ตลอดปี ทุกสภาพ
อากาศทำให้ ฟุตซอล (FUTSAL) กลายเป็ นกีฬายอดนิยมสำหรับ
ศตวรรษที่ 21 นี ้
ประวัติฟุตซอลในประเทศไทย
ประเทศไทยได้มีการจัดการแข่งขันฟุตซอล 5 คน ขึน
้ ครัง้ แรกในปี
พ.ศ. 2540 ด้วยความร่วมมือจากหลาย ๆ ฝ่ ายที่ชว่ ยกันผลักดันกีฬา
ชนิดนีใ้ ห้ได้รับความนิยมมากขึน
้ ไม่ว่าจะเป็ นสมาคมฟุตบอลแห่ง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร การกีฬาแห่ง
ประเทศไทย และเดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด ร่วมกันจัดการแข่งขันฟุต
ซอล 5 คน ในรายการ STAR IN DOOR SOCCER 1997 เมื่อวันที่

12–21 กรกฎาคม 2540 ณ เดอะมอลล์ บางกะปิ โดยมี 12 ทีม


สโมสรชัน
้ นำจากไทยแลนด์ลีกเข้าร่วมการแข่งขัน และทีมการท่าเรือ
แห่งประเทศไทยชนะเลิศ

ในปี ต่อมาได้จัดการแข่งขันฟุตซอล 5 คน ขึน


้ อีกเป็ นครัง้ ที่ 2 ใน
ครัง้ นี ้ ทีมกรุงเทพมหานครชนะแชมป์ เก่าการท่าเรือแห่งประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการจัดการแข่งขันฟุตซอลขึน
้ เป็ นครัง้ ที่ 3 โดยมี
การแข่งขันรอบคัดเลือกในแต่ละภาคเพื่อนำทีมชนะเลิศและรองชนะ
เลิศมาแข่งขันกับทีมสโมสรชัน
้ นำจากไทยลีก ในการแข่งขันฟุตซอล
ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย จัดแข่ง ณ โรงเรียนเทคโนโลยีดอนบอส
โกบ้านโป่ ง ซึ่งจากความสำเร็จในการแข่งขันครัง้ นีทำ
้ ให้กีฬาฟุตซอล
เป็ นที่นิยมมากยิ่งขึน

ต่อมาประเทศไทยได้มีโอกาสเป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตซอลชิง
แชมป์ เอเชีย และจากการแข่งขันดังกล่าวทำให้ประเทศไทยได้อันดับ
สามและได้สิทธิเ์ ดินทางไปแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ โลกรอบสุดท้าย
ระหว่างวันที่ 18 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ณ ประเทศ
กัวเตมาลา

ในปั จจุบันฟุตซอล เป็ นกีฬาที่ได้รับความนิยมและสนใจจากทุกเพศ


ทุกวัย เนื่องจากเป็ นเกมกีฬาที่ต่ น
ื เต้น สนุกสนานในทุก ๆ วินาทีของ
การแข่งขัน และสามารถเล่นได้ตลอดปี ทุกสภาพอากาศ ทำให้ฟุต
ซอล กลายเป็ นกีฬายอดนิยมรับสหัสวรรษใหม่นี ้
5
กติกาฟุตซอล
สนามแข่งขันฟุตซอล
สนามเเข่งขันต้องเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวเส้นข้างต้อง
ยาวกว่าความยาวเส้นประตู โดยสนามมีความยาวต่ำสุด 25 เมตร
สูงสุด 42 เมตร ความกว้างต่ำสุด 15 เมตร สูงสุด 25 เมตร

ลูกบอลฟุตซอล
ลูกบอลต้องเป็ นทรงกลม ทำด้วยหนังหรือวัสดุอ่ น
ื ๆ เส้นรอบวง
ไม้น้อยกว่า 62 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 64 เซนติเมตร ขณะการแข่งขัน
ลูกบอลต้องมีความดันลม ไม่น้อยกว่า 400 กรัม ไม่มากกว่า 440
กรัม ความดันลมของลูกบอลจะอยู่ที่ ความดันลมของลูกบอล 0.4 –
0.6 ระดับบรรยากาศ

ผู้เล่นฟุตซอล
จะมีผู้เล่นทัง้ สองทีม ทีมละไม่เกิน 5 คนอยู่บนสนาม และหนึ่ง
ใน 5 คนนี ้ ต้องเป็ นผู้รักษาประตู และอนุญาตให้มีผู้เล่นสำรองไม่เกิน
7 คน อนุญาตให้เปลี่ยนตัวผู้เล่นเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่จำกัดจำนวน
สามารถเปลี่ยนตัวได้ตลอดเวลา ผู้เล่นที่เปลี่ยนออกไปแล้วสามารถ
กลับเข้าไปเล่นใหม่ แต่ในกรณีที่ทีมหนึ่งที่เหลือผู้เล่นน้อยกว่า 3 คน
รวมผู้รักษาประตู จะต้องยกเลิกการเเข่งขัน ผู้เล่นต้องไม่สวมใส่
เครื่องประดับใด ๆ ที่เป็ นอันตรายต่อตนเองและผู้อ่ น
ื โดยอุปกรณ์
เบื้องต้นมี

1. เสื้อยืดหรือเสื้อเชิต

2. กางเกงขาสัน
้ (ถ้าสวมกางเกงปรับอุณหภูมิ สีของกางเกงนัน

จะต้องเป็ นสีเดียวกันกับสีหลักของกางเกง
3. ถุงเท้ายาว
4. สนับแข้ง
5. รองเท้าผ้าใบหรือรองเท้าหนังนิ่ม หรือรองเท้าออกกำลังกาย
พื้นยาง
ระยะเวลาการแข่งขัน
การแข่งขันทีทงั ้ หมด 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20 นาที และระยะเวลา
การแข่งขันแต่ละครึ่งอาจเพิ่มเวลาเตะลูกโทษ ณ จุดโทษ ส่วนการขอ
เวลานอกนัน
้ ทัง้ สองทีมมีสท
ิ ธิขอเวลานอก 1 นาที ในแต่ละครึ่งเวลา

6
การนับประตู
การนับประตูจะเป็ นผลเมื่อบอลทัง้ ลูกผ่านเส้นประตูระหว่างเสา
ประตูใต้คานประตู แต่ต้องไม่มีการทำผิดกติกาโดยทีมที่ทำประตู ผู้
รักษาประตูไม่สามารถทำประตูได้ด้วยมือ และผู้เล่นฝ่ ายรุกไม่
สามารถทำประตูได้ด้วยแขน
อุปกรณ์ฟุตซอล
 สนามแข่งขัน
 เสาประตูทรงเหลี่ยมหรือทรงกลมขนาดความกว้าง ระยะ 3
เมตร สูงจากพื้น 2 เมตร พร้อมติดตาข่าย จำนวน 2 อัน
 ลูกฟุตซอล จำนวนอย่างน้อย 4 ลูก
 นาฬิกาจับเวลา จำนวน 5 เรือน
 ป้ ายบอกเวลา ตัง้ แต่หมายเลข 1-20
 ป้ ายขอเวลานอก จำนวน 1 ตัว
 โต๊ะบันทึก หรือโต๊ะเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 ตัว
 เก้าอี ้ จำนวน 2 ตัว
 เก้าอีย
้ าวหรือที่นั่งสำรอง จำนวน 2 ตัว
 อุปกรณ์สัญญาณไฟ และอุปกรณ์กริ่ง ออด แตร จำนวน 1
ตัว
 สกอร์บอร์ด
 เสื้อสำรอง จำนวน 2 สี ๆ ละ 15 ตัว มีหมายเลข 1-15
 เปลสนาม จำนวน 1 อัน
 ปอกแขน จำนวน 2 อัน
 ใบรายงานผู้ตัดสิน
 ใบรายงานผู้ตัดสินที่ 3
 ใบส่งรายชื่อนักกีฬา
7
ประโยชน์ของการเล่นฟุตซอล
1. เป็ นกีฬาทีช
่ ่วยฝึ กฝนให้ผู้เล่นมีไหวพริบที่ชาญฉลาดและแก้
ปั ญหาอย่างฉับพลันได้ดี
2. ช่วยทำให้ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายทำงานอย่างมี
ประสิทธิภาพยิ่งขัน
้ เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบการหายใจ
ระบบขับถ่าย ระบบไหลเวียนโลหิตดีขน
ั้
3. ฟุตบอลเป็ นกีฬาที่มีกฏ กติกา ผู้เล่นต้องเคารพและปฏิบัติตา
มกฏ กติกาการแข่งขัน ดังนัน
้ การเล่นฟุตบอล ช่วยสอนให้ผู้
เล่นรู้จักความยุติธรรม ปฏิบัติตนให้อยู่ในขอบเขตอันพึงควร
กระทำ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ร้จ
ู ักการเคารพ
สิทธิของผู้อ่ น
ื มีความอดกลัน
้ อดทน ยอมรับฟั งความคิดเห็น
ของผู้อ่ น

4. ฟุตบอลเป็ นกีฬาที่ส่งเสริมให้เกิดความรักใคร่สามัคคีในหมู่
คณะ
5. สำหรับผู้เล่นฟุตบอลที่ดีย่อมมีโอกาสได้รับคัดเลือกให้เป็ น
ตัวแทนของชาติ ยังเป็ นหนทางที่ทำให้คนรู้จัก อันเป็ นบุคคล
ที่มีช่ อ
ื เสียงอีกทางหนึ่งด้วย
6. ปั จจุบันผู้เล่นมีความสามารถสูงยังมีสิทธิได้เข้าศึกษาต่อระดับ
สูงบางสาขา
มารยาทผู้เล่นฟุตซอล
1. มีความรักและความสามัคคีในหมู่คณะ เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ช่วย
เหลือกัน
2. มีน้ำใจนักกีฬา แสดงการขอโทษเมื่อรู้ว่าตนเองกระทำผิด
รู้จักให้อภัยเมื่อเพื่อนผิดพลาด รู้จก
ั แพ้เมื่อตนเองมีความ
สามารถและฝี มือไม่มากนัก
3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ปฏิบัติตามกฎกติกาการเล่นโดยเคร่งครัด
5. เชื่อฟั งการตัดสินของผู้ตัดสิน โดยไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม
แก่ผู้ตัดสินในการตัดสิน ไม่กระทำการใด ๆ อันเป็ นการยัว่ ยุ
หรือกลั่นแกล้งผู้เล่นฝ่ ายตรงข้าม
6. มีความอดทน เสียสละ
7. กล้าตัดสินใจ แสดงความคิดเห็น และแสดงออกในสิ่งที่ถูก
ต้อง
8. มีความสุภาพเรียบร้อย ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบประเพณีที่ดี
งาม

8
เทคนิคการเล่นฟุตซอล
ทักษะในการรับบอลหรือบังคับบอล หมายถึง การบังคับบอล
ที่มาในลักษณะต่าง ๆ ทัง้ บนพื้นและในอากาศ เพื่อให้บอลอยู่ใน
ครอบครองและสามารถเล่นต่อไปตามความต้องการ การรับบอลหรือ
หยุดบอลนัน
้ เป็ นเทคนิคอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญในการเล่นฟุตซอล
หากหยุดหรือรับบอลไม่อยู่ จะทำให้เสียบอลให้ฝ่ายตรงข้ามได้

เทคนิคการหยุดบอลหรือรับบอล

การหยุดบอลหรือรับบอล โดยการใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนี ้

การหยุดบอลด้วยฝ่ าเท้า
การหยุดบอลด้วยฝ่ าเท้า เป็ นการหยุดที่ง่ายที่สุดลูกเรียดที่กลิง้
เข้ามาหา ยืนทรงตัวให้ดีพร้อมกับยื่นเท้าออกไปข้างหน้าแล้วใช้ฝ่าเท้า
หยุดบอล

การหยุดบอลด้วยเท้าด้านใน
 ลักษณะการยืนและท่าทางเหมือนกับการเตะข้างเท้าด้านใน
 เมื่อบอลวิ่งเข้าหาจากด้านหน้า ด้านข้างหรือจากด้านหลัง
เท้าทีเ่ ป็ นหลักและเท้าที่จะหยุดบอลอยู่ในลักษณะเหมือนกับ
การเตะด้วยข้างเท้าด้านใน
 เท้าทีจ
่ ะหยุดบอลยื่นไปข้างหน้าเล็กน้อยแล้วผ่อนโดยดึงเท้า
กลับเล็กน้อย ก่อนจะสัมผัสและหยุดบอล
9
การหยุดบอลด้วยข้างเท้าด้านนอก
 ตามองบอลพร้อมกับหันข้างที่ใช้เป็ นเท้าในการรับบอล
 เท้าทีใ่ ช้เป็ นหลักควรย่อเข่าลงเล็กน้อย
 ลักษณะข้างเท้าที่ใช้รับบอลควรผ่อนเท้าตามแรงเข้าหาของ
ลูกบอลหันข้างเท้าด้านนอกเข้าหา เมื่อบอลสัมผัสเท้า
การหยุดลูกบอลด้วยเข่าหรือหน้าขา
 ให้หันหน้าเข้าหาทิศทางที่ลูกบอลจะลอยมา
 เคลื่อนที่เข้าหาตำแหน่งที่คาดว่าลูกน่าจะตก ตาจับจ้องที่ลูก
กางแขนออกเพื่อช่วยการทรงตัว จดเท้าข้างที่ใช้เป็ นหลักไว้
บนพื้น เข่างอเล็กน้อย
 เมื่อลูกบอลลอยมาได้ระยะ ให้ยกเข่าข้างที่จะใช้หยุดขึน
้ จนขา
ท่อนบนเกือบขนานกับพื้น ขาท่อนล่างทำมุมกับเข่าประมาณ
90 องศา ใช้หน้าขาบริเวณเหนือเข่าเล็กน้อยในการรับลูก
 จังหวะที่สัมผัสลูกให้ผ่อนขาลงเล็กน้อยตามความแรงของลูก
ให้ลูกกระดอนจากขาลงสู่พ้น
ื ด้านหน้า แล้วใช้ฝ่าเท้าหรือข้าง
เท้าหยุดลูกบอล
การหยุดลูกบอลด้วยหลังเท้า
 หันหน้าเข้าหาทิศทางที่ลูกบอลลอยมา ยกเท้าขึน
้ ดักรับใน
จังหวะที่ลูกบอลลอยมาทันที
 จังหวะที่ลูกบอลสัมผัสหลังเท้า ให้รีบผ่อนเท้าทัง้ ท่อนตัง้ แต่
หัวเข่าลงมาตามความแรงของลูกที่พุ่งมาแล้วดึงเข้าหาตัว
ระวังอย่าเกร็งขาจนแข็งเพราะจะคล้ายกับการเตะสวน ลูกจะ
กระดอนออกไปไกล
 สำหรับลูกที่กลิง้ มาตามพื้นหรือลูกที่กระดอนขึน
้ จากพื้น ให้
หันหน้าเข้าหาทิศที่ลูกบอลลอยมา ยกเท้าข้างที่จะใช้หยุดลูก
ขึน
้ จากพื้นเล็กน้อย ปลายเท้างุ้มลงสู่พ้น
ื จังหวะที่ลูกบอล
สัมผัสหลังเท้าให้ผ่อนเท้าไปข้างหลังเล็กน้อย
การหยุดลูกบอลด้วยหน้าอก
 หันหน้าเข้าหาทิศทางที่คาดวาลูกบอลจะมา ตาจับจ้องลูก
 เท้าทัง้ สองอาจขนาน หรือเท้าใดเท้าหนึ่งอยู่หน้าก็ได้
 เมื่อลูกบอลลอยมาเกือบจะกระทบหน้าอก ให้ยกตัวขึน
้ ทันที
กล้ามเนื้อส่วนอกเกร็ง เข่าย่อ จังหวะที่ลูกบอลกระทบอกให้
เอนหลังผ่อนอกลง
 หน้าอกจะอยู่ในลักษณะเหมือนเป็ นแอ่งไว้รองรับลูกบอล กาง
แขนออกเพื่อช่วยการทรงตัวงอเข่าของเท้าหน้าเล็กน้อยและ
ผ่อนตัวลงทันที
10
 ปล่อยให้ลูกบอลลงพื้น ให้ก้าวเท้าไปเพื่อครอบครองลูกเพื่อ
เล่นต่อไป หรือเตะต่อตามจังหวะและโอกาส
การทรงตัว

การทรงตัวเป็ นพื้นฐานเบื้องต้นที่มีความสำคัญในการฝึ กกีฬาทุก


ชนิด เพื่อการเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว สามารถทำให้การ
เล่นกีฬาเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง สนุกสนานเร้าใจท่าทางการทรงตัว

ที่ผู้เล่นฟุตบอลควรฝึ กหัด มีดังนี ้


1. ทำการทรงตัวและจังหวะการใช้เท้าทัง้ บนพื้นดินและใน
อากาศ
2. การถ่ายน้ำหนักตัวไปสู่เท้าหลัก เมื่อมีการครอบครองลูก เตะ
ลูกหรือเลีย
้ งลูกฟุตบอล
3. การวิ่งตามแบบของฟุตบอล เช่น วิ่งไปที่มุมสนาม วิ่งหาช่อง
ว่าง วิ่งตัดกันเพื่อหลอกคู่ต่อสู้
4. การวิ่งซิกแซ็ก เพื่อการหลบหลีกเมื่อเลีย
้ งหรือครอบครองลูก
การสร้างความคุน
้ เคยกับลูกฟุตบอล

พื้นฐานของการเล่นฟุตบอลที่สำคัญอย่างหนึ่งก็คือ การสร้าง
ความสัมพันธ์หรือความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลเป็ นอย่างดี กล่าวคือ
การเล่นลูกฟุตบอลต้องสามารถทำได้อย่างที่ตงั ้ ใจไว้ทุกประการ ไม่ว่า
จะเป็ นการเล่นลูกแบบใดก็ตาม การที่ผู้เล่นคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลจะ
ส่งผลให้การครอบครองบอล การเคลื่อนที่ในลักษณะต่าง ๆ การ
ควบคุมบังคับทิศทางของลูกฟุตบอลเป็ นไปด้วยความแม่นยำ ดังนัน

จึงควรให้ผู้เล่นฝึ กความคุ้นเคยให้ชินกับลูกฟุตบอลมากที่สุด

วิธีการสร้างความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล
1. วางเท้าบนลูกฟุตบอลแล้วคลึงด้วยฝ่ าเท้าไปมาหน้า – หลัง
ซ้าย – ขวา โดยให้อยู่กับที่ ให้ทำทัง้ เท้าซ้าย-ขวา
2. ทำเหมือนข้อที่ 1 แต่ให้เคลื่อนที่ไปตามทิศทางต่าง ๆ ด้วย
3. ใช้ฝ่าเท้าตบลูกฟุตบอลให้กระดอนขึน
้ -ลง โดยใช้เท้าซ้ายหรือ
ขวาสลับกัน
4. วางเท้าด้านในติดกับข้างลูกฟุตบอล ใช้ข้างเท้าด้านในปาด
เหนือลูกมาอีกด้านหนึ่งของลูก ตอนนีล
้ ูกฟุตบอลจะอยู่ข้าง
เท้าด้านนอก แล้วใช้เท้าด้านนอกปาดลูกกลับไปอีกด้านตาม
เดิม แล้วให้ฝึกสลับเท้าด้วย
5. งัดลูกฟุตบอลด้วยปลายเท้าให้ลูกลอยขึน
้ ในอากาศ หยุดลูก
ด้วยหลังเท้า หรือฝ่ าเท้า
11
6. งัดลูกฟุตบอลด้วยปลายเท้าให้ลูกลอยขึน
้ ในอากาศ แล้วเดาะ
ลูกด้วยเท้า เข่า หน้าอก ศีรษะ สลับกัน
7. ทำเหมือนข้อ 6 แต่เคลื่อนที่เป็ นระยะทางไกล โดยลูกฟุตบอล
ไม่ตกถึงพื้น
การเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ถอยหลัง ไปทางซ้าย ไปทางขวา

มีวิธีการฝึ กดังนี ้
1. ทิง้ น้ำหนักตัวไปสู่ทิศทางที่จะเคลื่อนที่ไป ตาจับอยู่ที่ลูกบอล
2. เคลื่อนเท้าที่อยู่ในทิศทางที่จะเคลื่อนไป นำไปก่อน แล้วจึง
เคลื่อนเท้าอีกข้างหนึ่งตามไปโดยเร็ว เช่น ไปทางซ้ายให้ก้าว
เท้าซ้ายนำไปก่อน แล้วก้าวเท้าขวาตามไป
3. การใช้ปลายเท้าสัมผัสพื้น ช่วยให้การเคลื่อนไหวรวดเร็วขึน

อ้างอิง
www.nanitalk.com/wp-content/uploads/2020/10/Futsal-
2.jpg

You might also like