You are on page 1of 25

คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก.

บทที่ 1
วิชาความสามารถทั่วไป
1. อนุกรม
อนุกรม คือ ชุดตัวเลขที่เรียงต่อเนื่องกันไปอย่างเป็นระเบียบภายใต้กฎเกณฑ์เดียวกัน ที่สามารถคาด
เดาตัวถัดไปได้ (อนุกรมทีอ่ อกสอบส่วนใหญ่จะมี 4 ประเภท)

เพิ่มขึ้นแบบคูณ

1. อนุกรมเพิ่ม เพิ่มขึ้นแบบสะสม

เพิ่มขึ้นแบบบวก

ลดลงแบบหาร
อนุกรม 2. อนุกรมลด
ลดลงแบบลบ

3. อนุกรมซ้อน ลักษณะอนุกรมจะเพิ่มและลดสลับกันไป
ตัวเลขโจทย์ส่วนใหญ่จะมากกว่า 6 ตัว

4. อนุกรมเศษส่วน เกิดจาก อนุกรม 2 ชุด มาซ้อนกันอยู่ในรูปเศษส่วน


วิธีคานวณ :
ให้แยกอนุกรมเศษและอนุกรมส่วนออกจากกัน
จะหาเศษ ให้คานวณจากอนุกรมเศษ
จะหาส่วน ให้คานวณจากอนุกรมส่วน

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 2

1. อนุกรมเพิ่ม :

ระบบตัวเลขจะมีลักษณะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยที่อนุกรมโจทย์ที่ให้มานั้นยังไม่สามารถคาดเดาคาตอบได้
ทันที ดังนั้น ในการหาคาตอบต้องยยายามแปลงอนุกรมให้เปน ระเบียบที่สามารถคาดเดาคาตอบ
ให้ได้เสียก่อน

ขั้นตอนในการหาคาตอบ : ให้แปลงอนุกรมตามลาดับขั้นตอน ดังนี้


(1) มองดูว่า เปนอนุกรมเพิ่มแบบคูณหรือไม่ >>ให้สังเกตว่ามีสูตรคูณหรือไม่ (ถ้าไม่มีก็ให้ไปยิจารณาใน
ขั้นที่ 2 ต่อไป)
(2) มองดูว่า เปนอนุกรมเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ >>ถ้าไม่ใช่ก็ให้ไปยิจารณาในขั้นที่ 3 ซึ่งเปนวิธีสุดท้าย
(3) อนุกรมเพิ่มแบบบวก >>เริ่มต้นให้ตีแฉกหาผลต่าง ซึ่งผลต่างที่ได้ จะเปนอนุกรมชุดใหม่ แล้วให้
สังเกตว่า อนุกรมชุดใหม่นั้นเปนระเบียบที่เดาคาตอบได้หรือยัง
(3.1) ถ้าเปนระเบียบที่เดาคาตอบได้แล้ว ก็ให้หาคาตอบได้เลย
(3.2) แต่ถ้ายังคาดเดาคาตอบไม่ได้ ก็ต้องแปลงอนุกรมต่อไปจนกว่าจะเปนระเบียบที่เดาคาตอบได้
โดยกลับไปเริ่มขั้นตอนที่ 1 ใหม่ ให้ทาแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้คาตอบ
หมายเหตุ : บางครั้งอาจแปลงอนุกรมให้เปนระเบียบโดยใช้กฎเลขยกกาลังก็ได้

1 4 9 16 25 36 49 64 81 100 121 144 169 196 225

12 22 32 42 52 62 72 82 92 102 112 122 132 142 152

1 8 27 64 125 216 343 512 729

13 23 33 43 53 63 73 83 93

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 3

ตัวอ ตัวอย่างข้อสอบอนุกรมเพิ่ม :

ข้อ 1. 3 9 27 81 …………
ก. 199 ข. 243 ค. 250 ง. 263
วิธีทา : ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณ หรือไม่
3 9 27 81 243
X3 X3 X3 X3
สังเกต จะเห็นได้ว่า มีสูตรคูณแม่ 3 มาคูณตลอด จึงเปนอนุกรมเยิ่มแบบคูณ

𝟓
ข้อ 2. 𝟒
5 25 150 …………
ก. 750 ข. 950 ค. 1,000 ง. 1,050
วิธีทา : ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณ หรือไม่
5
5 25 150 1,050
4
X4 X5 X6 X7
สังเกต จะเห็นได้ว่า มีสูตรคูณมาคูณตลอดโดยตัวที่มาคูณเยิ่มทีละ 1 จึงเปนอนุกรมเยิ่มแบบคูณ

ข้อ 3. 3 9 12 21 33 54 …………
ก. 59 ข. 68 ค. 72 ง. 87
วิธีทา :
1. ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีแม่สูตรคูณมา
คูณ ให้ขา้ มไปขั้นที่ 2)
2. ให้มองดูว่าเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ : ข้อนี้เปนอนุกรมสะสมแบบ 2 ครั้งบวกกันแล้วได้ตัวที่ 3
9 + 12 21 + 33
3 9 12 21 33 54 87
3+9 12 + 21 33 + 54

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 4
ข้อ 4. 6 5 18 29 52 99 …………
ก. 198 ข. 180 ค. 151 ง. 146
วิธีทา : ข้อนี้ไม่ใช่อนุกรมเยิ่ม เยราะเยิ่มขึ้นไม่ต่อเนื่อง แต่เปนอนุกรมสะสมแบบ 3 ครั้งบวกกันแล้วได้ตวั ที่ 4

5 + 18 + 29 29 + 52 + 99
6 5 18 29 52 99 180
6 + 5 + 18 18 + 29 + 52
สังเกต จะเห็นได้ว่า เปนอนุกรมเยิ่มสะสมแบบ 3 ครั้งบวกกันแล้วได้ตัวที่ 4

ข้อ 5. 14 16 30 34 64 80 144 162 …………


ก. 214 ข. 250 ค. 306 ง. 460

วิธีทา :
1. ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีแม่สูตรคูณมาคูณ
ให้ข้ามไปขั้นที่ 2)
2. ให้มองดูว่าเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ : ข้อนี้เปนอนุกรมสะสมแบบ 2 ตัวบวกกันแบบเว้นระยะ
14 + 16 30 + 34 64 + 80 144 + 162
14 16 30 34 64 80 144 162 306

สังเกต จะเห็นได้ว่า เปนอนุกรมสะสมแบบ 2 ครั้งบวกกันแล้วได้ตัวที่ 3 แล้วเว้นไปเริ่มบวกตัวที่เปนคาตอบกับ


ตัวถัดไป ทาอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ

ข้อ 6. 2 3 1 6 4 3 3 36 6 3 5 90 8 3 7 …………
ก. 150 ข. 160 ค. 168 ง. 200
วิธีทา :
2 3 1 6 4 3 3 36 6 3 5 90 8 3 7 168

อนุกรมชุดนี้เกิดจาก 3 ตัวคูณกัน แล้วได้ตัวถัดไป ต่อจากนั้นข้ามคาตอบไปแล้วให้เริ่ม 3 ตัวคูณกันใหม่อีก


ก็จะได้ตัวถัดไปอีก ให้ทาอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้คาตอบตามที่ต้องการ

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 5

ข้อสอบอนุกรมเพิ่มส่วนใหญ่จะเป็นอนุกรมที่ต้องทาหลายชั้น โดยมีขั้นตอนหาคาตอบ ดังนี้


1. ชั้นที่ 1 ให้เราตีแฉกหาผลต่าง แล้วให้ยิจารณาดูว่าอนุกรมชุดใหม่คาดเดาคาตอบได้หรือยัง
>>ถ้าคาดเดาได้แล้ว ก็หาคาตอบได้เลย
2. ถ้ายังคาดเดาคาตอบไม่ได้ ก็ให้ทาชั้นต่อ ๆ ไป จนกระทั่งได้อนุกรมที่สามารถคาดเดาคาตอบได้
(ชั้นต่อ ๆ ไปจะเป็นอนุกรมเพิ่มแบบคูณ หรือแบบสะสม หรือแบบบวก หรือจะใช้เลขยกกาลังเข้า
ช่วยก็ได้ขึ้นอยู่กับโจทย์)
ข้อ 1. 2 12 30 56 ………..
ก. 75 ข. 80 ค. 90 ง. 100

วิธีทา :
1. ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีสูตรคูณมาคูณ
ดังนั้น ให้ข้ามไปขั้นที่ 2)
2. ให้มองดูว่าเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ (ข้อนี้ก็ไม่ใช่อนุกรมแบบสะสม จึงให้ข้ามไปขั้นที่ 3)
3. เนื่องจากพิจารณาดูแล้วไม่ใช่อนุกรมเพิ่มแบบคูณและแบบสะสม จึงเหลือวิธีสุดท้าย คือ
เยิ่มขึ้นแบบบวก โดยให้ตีแฉกหาผลต่าง ดังนี้

2 12 30 56 90

+10 +18 +26 +34 ชั้นนี้ : ยังคาดเดาไม่ได้ว่าเปนตัวเลขอะไร ให้ตี


แฉกหาผลต่างอีกจนกระทั่งสามารถคาดเดาได้
+8 +8 +8

ชั้นที่ 1 เมื่อตีแฉกหาผลต่าง ผลต่างที่ได้เยิ่มขึ้นแบบยังเดาคาตอบไม่ได้ จึงต้องแปลงต่อ


ชั้นที่ 2 ตีแฉกครั้งที่ 2 หาผลต่าง จะเห็นว่าผลต่างที่ได้จะมีลักษณะเยิ่มขึ้นแบบคงที่ คือ เยิ่มขึ้นครั้งละ 8 จึงทา
ให้สามารถคาดเดาคาตอบตัวต่อไปได้
สมมติ อนุกรมใหม่ที่ยังคาดเดาคาตอบไม่ได้ ก็ต้องแปลงอนุกรมไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งสามารถคาดเดาคาตอบได้

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 6

ข้อ 2. 3 8 18 38 78 ………..
ก. 150 ข. 155 ค. 158 ง. 160
วิธีทา :
1. ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีสูตรคูณมาคูณ
ดังนั้น ให้ข้ามไปขั้นที่ 2)
2. ให้มองดูว่าเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ (ข้อนี้ก็ไม่ใช่อนุกรมแบบสะสม จึงให้ข้ามไปขั้นที่ 3)
3. เนื่องจากพิจารณาดูแล้วไม่ใช่อนุกรมเพิ่มแบบคูณและแบบสะสม จึงเหลือวิธีสุดท้าย คือ
เยิ่มขึ้นแบบบวก โดยให้ตีแฉกหาผลต่าง ดังนี้
3 8 18 38 78 158

5 10 20 40 80
ชั้นนี้ : ยังคาดเดาไม่ได้ว่าเปนตัวเลขอะไร ให้ตี
X2 X2 X2 X2
แฉกหาผลต่างอีกจนกระทั่งสามารถคาดเดาได้
ชั้นที่ 1 เมื่อตีแฉกหาผลต่าง ผลต่างที่ได้เยิ่มขึ้นแบบยังเดาคาตอบไม่ได้ จึงต้องแปลงต่อ
ชั้นที่ 2 ซึ่งชั้นนี้เปนอนุกรมเยิ่มขึ้นแบบคูณ โดยคูณเยิ่มขึ้นครั้งละ 2 จึงทาให้สามารถคาดเดาคาตอบตัวต่อไปได้
ข้อ 3. 44 47 56 67 100 ………..
ก. 135 ข. 150 ค. 165 ง. 180
วิธีทา :
1. ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีสูตรคูณมาคูณ
ดังนั้น ให้ข้ามไปขัน้ ที่ 2)
2. ให้มองดูว่าเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ (ข้อนี้ก็ไม่ใช่อนุกรมแบบสะสม จึงให้ข้ามไปขั้นที่ 3)
3. เนื่องจากพิจารณาดูแล้วไม่ใช่อนุกรมเพิ่มแบบคูณและแบบสะสม จึงเหลือวิธีสุดท้าย คือ
เยิ่มขึ้นแบบบวก โดยให้ตีแฉกหาผลต่าง ดังนี้
44 47 56 67 100 135

3 9 11 33 35
ชั้นนี้ : เปนอนุกรมเยิ่มแบบคูณ
X3 +2 X3 +2
ด้วย 3 แล้วสลับบวกด้วย 2
WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor
คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 7

ชั้นที่ 1 เมื่อตีแฉกหาผลต่าง ผลต่างที่ได้เยิ่มขึ้นแบบยังเดาคาตอบไม่ได้ จึงต้องแปลงต่อ


ชั้นที่ 2 อนุกรมชั้นนี้อาจจะสับสน แต่ก็จะเห็นว่าอนุกรมชั้นนี้เยิ่มแบบคูณด้วย 3 แล้วสลับบวกด้วย 2 ซึ่งก็เปน
ระบบตัวเลขที่สามารถคาดเดาคาตอบได้
ข้อ 4. 5 6 10 19 35 ………..
ก. 40 ข. 45 ค. 50 ง. 60
วิธีทา :
1. ให้มองดูเพิ่มแบบคูณก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาคูณหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีสูตรคูณมาคูณ
ดังนั้น ให้ข้ามไปขั้นที่ 2)
2. ให้มองดูว่าเพิ่มแบบสะสมหรือไม่ (ข้อนี้ก็ไม่ใช่อนุกรมแบบสะสม จึงให้ข้ามไปขั้นที่ 3)
3. เนื่องจากพิจารณาดูแล้วไม่ใช่อนุกรมเพิ่มแบบคูณและแบบสะสม จึงเหลือวิธีสุดท้าย คือ
เยิ่มขึ้นแบบบวก โดยให้ตีแฉกหาผลต่าง ดังนี้
5 6 10 19 35 60

+1 +4 +9 +16 +25

12 22 32 42 52

หมายเหตุ : เมื่อตีแฉกแล้ว ผลต่างที่ได้มีลักษณะการเยิ่มขึ้นที่ยังคาดเดาคาตอบไม่ได้ แต่สามารถแปลงให้


คาดเดาคาตอบได้ โดยเปลี่ยนเปนเลขยกกาลังสอง เมื่อแปลงแล้วตัวเลขฐานจะเยิ่มขึ้นอย่างเปนระเบียบที่
สามารถเดาคาตอบได้

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 8

2. อนุกรมลด :

ระบบตัวเลขจะมีลักษณะลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยทีอ่ นุกรมโจทย์ที่ให้มานั้นยังไม่สามารถคาดเดาคาตอบได้


ทันที ดังนั้นในการหาคาตอบต้องยยายามแปลงอนุกรมให้เปนระเบียบที่สามารถคาดเดาคาตอบให้ได้เสียก่อน

ขั้นตอนในการหาคาตอบ : ให้แปลงอนุกรมตามลาดับขั้นตอน ดังนี้


(1) มองดูว่า เปนอนุกรมลดลงแบบหารหรือไม่ >>ให้สังเกตว่ามีสูตรคูณหรือไม่ (ถ้าไม่มีก็ให้ไปยิจารณา
ในขั้นที่ 2 ต่อไป)
(2) มองดูว่า เปนอนุกรมลดลงแบบลบ >>เริ่มต้นโดยให้เราตีแฉกหาผลต่าง ซึ่งผลต่างที่ได้จะเปนอนุกรม
ชุดใหม่ แล้วให้สังเกตว่าอนุกรมชุดใหม่เปนระเบียบที่สามารถคาดเดาคาตอบได้หรือยัง
(2.1) ถ้าเปนระเบียบที่คาดเดาคาตอบได้แล้ว ก็ให้หาคาตอบได้เลย
(2.2) แต่ถ้ายังคาดเดาคาตอบไม่ได้ ก็ต้องแปลงอนุกรมต่อไปจนกว่าจะเปนระเบียบที่เดาคาตอบได้
โดยกลับไปเริ่มขั้นตอนที่ 1 ใหม่ ให้ทาแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้คาตอบ
หมายเหตุ : 1. ถ้าผลต่างที่ได้เปนอนุกรมเพิ่ม ก็ให้คิดแบบอนุกรมเพิ่ม
2. บางครั้งอาจแปลงอนุกรมให้เปนระเบียบโดยใช้กฎเลขยกกาลังก็ได้

ตัวอ ตัวอย่างอนุกรมลด :

ข้อ 1. 2500 625 250 175 160 ………..


ข. 125 ข. 139 ค. 145 ง. 157
วิธีทา :
1. ให้มองดูลดลงแบบหารก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาหารหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีสูตรคูณมา
หาร จึงข้ามไปขั้นที่ 2)
2. เนื่องจากพิจารณาดูแล้วไม่ใช่อนุกรมลดลงแบบหาร จึงเหลือวิธีสุดท้าย คือ ลดลงแบบลบ โดย
ให้ตีแฉกหาผลต่าง ดังนี้
2500 625 250 175 160 157

1,875 375 75 15 3

÷5 ÷5 ÷5 ÷5

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 9

ชั้นที่ 1 เมื่อตีแฉกหาผลต่าง ผลต่างที่ได้เปนอนุกรมลดลงที่ยังเดาคาตอบไม่ได้ จึงต้องแปลงต่อ


ชั้นที่ 2 เมื่อยิจารณาชั้นที่ 2 แล้วจะเห็นว่าเปนอนุกรมลดลงแบบหาร โดยที่หารด้วย 5 จึงทาให้สามารถคาดเดา
คาตอบตัวถัดไปได้
ข้อ 2. 90 89 85 76 60 ………..
ก. 35 ข. 40 ค. 45 ง. 50
วิธีทา :
1. ให้มองดูลดลงแบบหารก่อน : โดยให้สังเกตว่ามีแม่สูตรคูณมาหารหรือไม่ (แต่ข้อนี้ไม่มีสูตรคูณมา
หาร จึงข้ามไปขั้นที่ 2)
2. เนื่องจากพิจารณาดูแล้วไม่ใช่อนุกรมลดลงแบบหาร จึงเหลือวิธีสุดท้าย คือ ลดลงแบบลบ โดย
ให้ตีแฉกหาผลต่าง ดังนี้

90 89 85 76 60 35

1 4 9 16 25

12 22 32 42 52
ชั้นที่ 1 เมื่อตีแฉกครั้งที่ 1 แล้วหาผลต่าง ผลต่างที่ได้เปนอนุกรมเยิ่มขึ้นที่ยังคาดเดาคาตอบไม่ได้
แต่เปนอนุกรมเยิ่มขึ้นที่สามารถแปลงเปนเลขยกกาลัง 2 ได้ เมื่อแปลงแล้วจะทาให้อนุกรมเยิ่มขึ้น
อย่างเปนระเบียบและสามารถคาดเดาคาตอบได้ง่ายขึ้น
3. อนุกรมซ้อน :

อนุกรมซ้อนนั้นเกิดจากอนุกรมเพิ่มหรือลดแบบต่าง ๆ ตั้งแต่ 2 ชุด มาเรียงซ้อนกันลักษณะตัวเลขโจทย์จะ


เพิ่มขึ้นและลดลงสลับกันไป และส่วนใหญ่ตัวเลขโจทย์จะมากกว่า 6 ตัว

วิธีการหาคาตอบ มีดังนี้ :
(1) ให้แบ่งอนุกรมเป็นช่วง ๆ เพื่อแยกชุดอนุกรมออกจากกันเป็นชุดใครชุดมัน
 ถ้าแบ่งช่วงอนุกรมได้ถูกต้อง อนุกรมที่เปนชุดเดียวกัน มันก็จะเยิ่มขึ้นตลอด หรือลดลงตลอด
อย่างหนึ่งอย่างใด และเปนระเบียบด้วย
(2) หาคาตอบอนุกรม ตามลักษณะที่แยกได้ ถ้าเปนอนุกรมเยิ่มก็หาคาตอบแบบอนุกรมเยิ่ม แต่ถ้าเปน
อนุกรมลดก็จะหาคาตอบแบบอนุกรมลด

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 10

ตัวอ ตัวอย่างอนุกรมซ้อน :

ข้อ 1. 3 5 6 10 9 20 12 ………..
ก. 40 ข. 30 ค. 20 ง. 10
วิธีทา :
ตัวเลขอนุกรมเดี๋ยวเพิ่ม เดี๋ยวลด แสดงว่าน่าจะเปนอนุกรมซ้อน ให้เราลองแบ่งช่วงละ 2 ดูก่อน

+3 +3 +3
3 5 6 10 9 20 12 40

X2 X2 X2

ซึ่งเมื่อแบ่งช่วงแล้ว :
 ตัวเลขตัวแรกของแต่ละช่วงจะเปนอนุกรมชุดเดียวกัน ซึ่งจะเห็นได้จากตัวเลขมีลักษณะเยิ่มขึ้น ตลอด
และอย่างเปนระเบียบ คือ บวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 3 แสดงว่าเราแบ่งช่วงถูก (ถ้าแบ่งช่วงผิดตัวเลขจะไม่
เพิ่มขึ้นตลอดหรือลดลงตลอด)
 ตัวเลขตัวที่ 2 ของแต่ละช่วงก็เปนอนุกรมชุดเดียวกัน ซึ่งจะเห็นได้จากตัวเลขมีลักษณะเยิ่มขึ้นตลอดและ
อย่างเปนระเบียบ คือ คูณครั้งละ 2 และจะเห็นได้วา่ คาตอบอยู่ชุดที่ 2 ซึ่งเกิดจากคูณด้วย 2 มานั่นเอง
ข้อ 2. 158 118 136 96 114 74 ………..
ก. 94 ข. 92 ค. 56 ง. 34
วิธีทา :
ตัวเลขอนุกรมเดี๋ยวเพิ่ม เดี๋ยวลด แสดงว่าน่าจะเปนอนุกรมซ้อน
ให้เราแบ่งเป็นช่วง โดยลองแบ่งช่วงละ 2 ดูก่อน ถ้าแบ่งถูกจะได้อนุกรมเยิ่มหรือลดที่เปนระเบียบ
ชุดที่ 1 เปนอนุกรมลด ลดลงครั้งละ 22 เท่า ๆ กัน โดยที่คาตอบอยู่ชุดที่ 1 ซึ่งสามารถคาดเดาคาตอบได้
แล้ว คือ ลดลงครั้งละ 22 ด้วย
ชุดที่ 2 เปนอนุกรมลด ลดลงครั้งละ 22 เท่า ๆ กัน
-22 -22 -22
158 118 136 96 114 74 92
-22 -22

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 11
ข้อ 3. 7 21 10 26 14 32 19 ………..
ก. 26 ข. 38 ค. 39 ง. 40
วิธีทา :
ตัวเลขอนุกรมเดี๋ยวเพิ่ม เดี๋ยวลด แสดงว่าน่าจะเปนอนุกรมซ้อน
ให้เราแบ่งเป็นช่วง โดยลองแบ่งช่วงละ 2 ดูก่อน ถ้าแบ่งถูกจะได้อนุกรมเยิ่มหรือลดที่เปนระเบียบ
ชุดที่ 1 เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 3, 4, 5, ………
ชุดที่ 2 เป็นอนุกรมเพิ่ม เพิ่มครั้งละ 5, 6, 7, ….. ซึ่งจะเห็นว่าคาตอบอยู่ที่ชุดที่ 2 ซึ่งสามารถคาดเดา
คาตอบได้แล้ว
+3 +4 +5
7 21 10 26 14 32 19 39
+5 +6 +7
ข้อ 4. -3 2 1 15 5 36 9 ………..
ก. 29 ข. 65 ค. 55 ง. 85

วิธีทา :
ตัวเลขอนุกรมเดี๋ยวเพิ่ม เดี๋ยวลด แสดงว่าน่าจะเปนอนุกรมซ้อน
ให้เราแบ่งเป็นช่วง โดยลองแบ่งช่วงละ 2 ดูก่อน ถ้าแบ่งถูกจะได้อนุกรมเยิ่มหรือลดที่เปนระเบียบ
ชุดที่ 1 เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 4 เท่า ๆ กัน
ชุดที่ 2 คาตอบอนุกรมอยู่ชุดที่ 2 ซึ่งเปนอนุกรมเยิ่มแบบ 2 ชั้น เยราะว่าชั้นแรกตีแฉกหาผลต่างแล้วยังไม่
สามารถคาดเดาคาตอบได้ จึงจาเปนต้องตีแฉกครั้งที่ 2 เยื่อหาผลต่างอีกครั้ง
+4 +4 +4
-3 2 1 15 5 36 9 65

13 21 29 เดาคาตอบยังไม่ได้ต้องตีแฉกหาผลต่างอีก
ถ้ามีผลต่างคู่เดียว ให้เดาว่าผลต่างคู่ถัดไปก็น่าจะเยิ่มขึ้น
8 8
เท่ากันด้วย ซึ่งในที่นี้ผลต่างคือ 8 แสดงว่าผลต่างคู่ถัดไปก็
น่าจะต่าง 8 ด้วย

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 12
ข้อ 5. 45 2 23 75 3 25 108 4 27 ………..
ก. 29 ข. 5 ค. 145 ง. 160
วิธีทา :
เปนอนุกรมซ้อนกัน 3 ชุด โดยที่คาตอบอยู่ชุดที่ 1
ให้เราแบ่งเป็นช่วง โดยแบ่งออกเปนช่วงละ 3
ชุดที่ 1 เปนอนุกรมเยิ่ม ที่เกิดจากอนุกรมชุดที่ 2 และชุดที่ 3 คูณกัน
ชุดที่ 2 เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 1 เท่า ๆ กัน
ชุดที่ 3 เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 2 เท่า ๆ กัน
สังเกต : คาตอบอยู่ชุดแรกที่เกิดจากอนุกรม 2 ชุดหลังคูณกัน
ดังนั้น >>ต้องหาอนุกรมชุดที่ 2 และ 3 ก่อน

+1 +1 +1

46 2 23 75 3 25 108 4 27 145 5 29

+2 +2 +2
ตัวอ 4. อนุกรมเศษส่วน :
อนุกรมเศษส่วนเกิดจากอนุกรมเยิ่มหรือลดแบบต่าง ๆ 2 ชุดมาเรียงซ้อนกันอยู่ในรูปเศษและส่วน

วิธีการหาคาตอบ มีดังนี้ :
(1) ให้แยกอนุกรมเศษและอนุกรมส่วนออกจากกัน เพื่อหาคาตอบชุดใครชุดมัน
(2) หาคาตอบอนุกรม
- จะหาอนุกรมเศษ >> ก็ให้ยิจารณาจากอนุกรมเศษว่าเปนอนุกรมแบบใดก็ให้คานวณแบบนั้น
- จะหาอนุกรมส่วน >>ก็ให้ยิจารณาจากอนุกรมส่วนว่าเปนอนุกรมแบบใดก็ให้คานวณแบบนั้น
- แต่ก็มีกรณีที่อนุกรมเศษกับส่วนสร้างความสัมพันธ์กัน >ก็ต้องมองหาความสัมยันธ์ของเศษกับ
ส่วนนั้นให้เจอว่ามีความสัมยันธ์กันอย่างไร

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 13

ตัวอ ตัวอย่างอนุกรมเศษส่วน :
𝟒 𝟏𝟎 𝟏𝟖 𝟐𝟖
ข้อ 1. 𝟑 𝟕 𝟏𝟏 𝟏𝟓

𝟑𝟗 𝟒𝟎 𝟓𝟔 𝟒𝟐
ก. ข. ค. ง.
𝟏𝟗 𝟏𝟗 𝟏𝟗 𝟏𝟗

วิธีทา :
จะหาเศษก็ให้ปิดส่วน (ไม่มองส่วน)
อนุกรมเศษ : เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 6, 8, 10, 12, ……… ตามลาดับ

+6 +8 +10 +12

+4 +4 +4 +4

จะหาส่วนก็ให้ปิดเศษ (ไม่มองเศษ)
อนุกรมส่วน : เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 4 เท่า ๆ กัน

𝟗 𝟑𝟔 𝟕𝟐 𝟏𝟒𝟒
ข้อ 2. 𝟖
18
𝟏𝟕 𝟏𝟗 𝟓𝟑
……….

𝟐𝟖𝟖 𝟐𝟖𝟖 𝟐𝟖𝟖 𝟐𝟖𝟖


ก. ข. ค. ง.
𝟕𝟐 𝟕𝟗 𝟖𝟕 𝟗𝟏

วิธีทา :
ข้อนี้ต้องแปลงเลข 18 ให้เปนเลขเศษส่วนก่อน
จะหาเศษก็ให้ปิดส่วน (ไม่มองส่วน) แค่ลองเปิดส่วนไว้ 1 ตัวก่อน เยื่อดูว่าเศษกับส่วนสร้างความสัมยันธ์
กันหรือเปล่า ถ้าไม่มีความสัมยันธ์กันก็ให้มองแต่อนุกรมเศษอย่างเดียว
อนุกรมเศษ : เปนอนุกรมเยิ่ม แบบคูณครั้งละ 2

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 14

X2 X2 X2 X2 X2

ต้องทาให้เป็นเลขเศษส่วนก่อน

จะหาส่วนก็ให้ปิดเศษ (ไม่มองเศษ) แค่ลองเปิดเศษไว้ 1 ตัวก่อน เยื่อดูว่าเศษกับส่วนสร้างความสัมยันธ์


กันหรือไม่ จากการสังเกตจะเห็นว่าอนุกรมส่วนเกิดจาก เศษ – ส่วน = ส่วนถัดไป
อนุกรมส่วน : เกิดจาก เศษ – ส่วน = ส่วนถัดไป
9–8=1
18 – 1 = 17
36 – 17 = 19
72 – 19 = 53
144 – 53 = 91

𝟐 𝟏𝟔 𝟏𝟏
ข้อ 3. 1 ……….
𝟓 𝟏𝟎 𝟓

𝟏𝟒 𝟏𝟑 𝟓 𝟓
ก. ข. ค. ง.
𝟓 𝟓 𝟏𝟑 𝟏𝟒

วิธีทา :
โจทย์นี้เปนอนุกรมส่วนคงที่ = 5 แน่นอน เยราะสังเกตได้จากโจทย์มีส่วนเท่ากันบางที่ คือ
อนุกรมตัวที่ 1 และตัวที่ 4 มีส่วนเท่ากัน = 5
ดังนั้น ต้องแปลงเลข 1 ให้เปนเลขเศษส่วนที่ส่วน = 5
มองหาเลขเศษอะไร...ที่หาร
ดังนั้น > > นั้นคือ
5 แล้วได้เท่ากับ 1
ต้องแปลงเลข ให้ส่วนมีค่า = 5

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 15

ดังนั้น > ทาส่วนเป็น 5 โดยนา 2 หาร > จะได้


ทั้งเศษและส่วน
เมื่อแปลงอนุกรมแล้ว จะได้อนุกรมเศษส่วนที่มีส่วนคงที่ = 5
จะหาเศษก็ให้ปิดส่วน (ไม่มองส่วน)
อนุกรมเศษ : เปนอนุกรมเยิ่ม แบบบวกเยิ่มขึ้นครั้งละ 3 เท่า ๆ กัน
+3 +3 +3 +3

จะหาส่วนก็ให้ปิดเศษ (ไม่มองเศษ)
อนุกรมส่วน : เปนอนุกรมคงที่ เท่ากับ 5 ตลอด
𝟏 𝟏 𝟏 𝟏 𝟏 𝟏 𝟏
ข้อ 4. A จากรูปแบบที่
𝟐 𝟔 𝟏𝟐 𝟐𝟎 𝟑𝟎 𝟓𝟔 𝟕𝟐
กาหนดให้ A แทนจานวนใด
𝟏 𝟏 𝟏 𝟏
ก. 𝟑𝟐 ข. ค. ง.
𝟑𝟔 𝟒𝟐 𝟒𝟖

วิธีทา :
โจทย์นี้เปนอนุกรมเศษคงที่ = 1 แน่นอน เยราะสังเกตได้จากโจทย์ซึ่งมีเศษเท่ากัน คือ 1
𝟏
ดังนั้น A ต้องเท่ากับ 𝟐
จะหาเศษก็ให้ปิดส่วน (ไม่มองส่วน)
อนุกรมเศษ : เปนอนุกรมคงที่ เท่ากับ 1 ตลอด

+4 +6 +8 +10 +12 +14 +16


จะหาส่วนก็ให้ปิดเศษ (ไม่มองเศษ)
อนุกรมส่วน : เป็นอนุกรมเพิ่ม แบบบวกเพิ่มขึ้นครั้งละ 4, 6, 8, …..

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 16

𝟔 𝟏𝟑 𝟐𝟓 𝟓𝟏
ข้อ 5. ………..
𝟕 𝟏𝟐 𝟐𝟔 𝟓𝟎

𝟏𝟎𝟏 𝟕𝟔 𝟏𝟎𝟏 𝟕𝟔
ก. 𝟏𝟎𝟐 ข. ค. ง.
𝟏𝟎𝟐 𝟏𝟎𝟎 𝟏𝟎𝟎

วิธีทา :
จะหาเศษก็ปิดส่วน (ไม่มองส่วน) จะหาส่วนก็ปิดเศษ (ไม่มองเศษ) แต่ให้ลองเอาเศษกับส่วนบวกลบกัน
ดูก่อนว่าได้เศษหรือส่วน...ตัวถัดไปหรือไม่ เผื่อเศษกับส่วนสร้างความสัมยันธ์กัน
อนุกรมเศษ : เกิดจาก เศษ + ส่วน = ได้เศษ...ตัวถัดไป

อนุกรมส่วน : ส่วนถัดไป เกิดจาก เศษตัวหน้า X 2

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 17

2. คณิตศาสตร์พื้นฐาน
- ข้อสอบภาค ก. ของ ก.พ. ในส่วนของโจทย์คณิตศาสตร์พื้นฐานจะออกข้อสอบ 5 ข้อ ซึ่งมีเรื่องที่
ออกสอบกว้างมาก ดังนั้น จึงขอสรุปเนื้อหาที่จะออกสอบคร่าว ๆ ไว้ดังนี้
1. โอเปอร์เรชั่น (Operation)

โอเปอร์เรชั่นเปนเรื่องของการดาเนินการทางคณิตศาสตร์ โดยเปนการดาเนินการทางตัวเลขที่โจทย์
กาหนดมาแล้วนาตัวเลขเหล่านั้นมา บวก, ลบ, คูณ, หาร, ยกกาลัง ซึ่งโจทย์จะกาหนดตัวเลขมาให้ 3 คู่ โดยที่
ทุกคู่จะมีการดาเนินการเหมือนกัน แล้วโจทย์จะให้เราหาคาตอบคู่ที่ 3 โดยใช้วิธีการดาเนินการเหมือน 2 คู่แรก

หน้า โอเปอร์เรชั่น หลัง = คาตอบ


คู่ที่ 1 หน้า * หลัง = a
คู่ที่ 2 หน้า * หลัง = b
คู่ที่ 3 หน้า * หลัง = ?
หลักการ :
1. ต้องยยายามหาสูตรการดาเนินการคู่ที่ 1 และ 2 ให้ได้ก่อน
2. เมือ่ ได้สูตรการดาเนินการแล้ว ก็ให้นาสูตรการดาเนินการนั้นมาหาคาตอบคู่ที่ 3
ตัวอ ตัวอย่างข้อสอบเรื่องโอเปอร์เรชั่น :

ข้อ 1. กาหนดให้ 2*3 =8


และ 4 * 5 = 24
จงหาค่าของ 8*5=?
ก. 48 ข. 46 ค. 40 ง. 32
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง แล้วให้ดูว่าคาตอบที่ยังขาดอยู่ของทั้ง 2 คู่
มีที่มาเหมือนกันหรือไม่” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 18

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก (หน้า X หลัง) + หน้า


คู่ที่ 1 2 * 3 = 8 เกิดจาก 6+2=8
คู่ที่ 2 4 * 5 = 24 เกิดจาก 20 + 4 = 24
คู่คาถาม 8 * 5 = ? เกิดจาก 40 + 8 = 48

เมื่อคูณกันแล้วคาตอบยังไม่ยอ เมื่อสังเกตจะเห็นที่ขาดอยู่จะ = “ตัวหน้า”

ข้อ 2. กาหนดให้ 2 * 7 = 18
และ 3 * 5 = 24
จงหาค่าของ 9 * 11 = ?
ก. 170 ข. 90 ค. 80 ง. 180
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง แล้วให้ดูว่าคาตอบที่ยังขาดอยู่ของทั้ง 2 คู่
มีที่มาเหมือนกันหรือไม่” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก (หน้า X หลัง) + หน้า


คู่ที่ 1 2 * 7 = 18 เกิดจาก 14 + = 18
คู่ที่ 2 3 * 5 = 24 เกิดจาก 15 + = 24
คู่คาถาม 9 * 11 = ? เกิดจาก 99 + = 180

เมื่อคูณกันแล้วคาตอบยังไม่ยอ เมื่อสังเกตจะเห็นที่ขาดอยู่จะ = “ตัวหน้ายกกาลังสอง”

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 19

ข้อ 3. กาหนดให้ 2 * 4 = 14
และ 3 * 5 = 23
จงหาค่าของ 4*6=?
ก. 43 ข. 40 ค. 39 ง. 34
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง แล้วให้ดูว่าคาตอบที่ยังขาดอยู่ของทั้ง 2 คู่
มีที่มาเหมือนกันหรือไม่” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก (หน้า X หลัง) + (หน้า + หลัง)


คู่ที่ 1 2 * 4 = 14 เกิดจาก 8 + (2 + 4) = 8 + 6 = 14
คู่ที่ 2 3 * 5 = 23 เกิดจาก 15 + (3 + 5) = 15 + 8 = 23
คู่คาถาม 4 * 6 = ? เกิดจาก 24 + (4 + 6) = 24 + 10 = 34

เมื่อคูณกันแล้วคาตอบยังไม่ยอ เมื่อสังเกตจะเห็นที่ขาดอยู่จะ = “หน้า + หลัง”

ข้อ 4. กาหนดให้ 3*2 =7


และ 7 * 3 = 13
จงหาค่าของ 6*5=?
ก. 11 ข. 16 ค. 20 ง. 22
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้ว จะยบว่าบางคู่คูณ
กันแล้วคาตอบยังขาด บางคู่คูณกันแล้วเกินคาตอบไป ดังนั้น : จึงเปลี่ยนแนวคิดเปน หน้า + หลัง แล้วให้
ดูว่าคาตอบที่ขาดอยู่ของทั้ง 2 คู่มีที่มาเหมือนกันหรือไม่” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 20

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก (หน้า + หลัง) + หลัง


คู่ที่ 1 3 * 2 = 7 เกิดจาก (3 + 2) + 2 = 7
คู่ที่ 2 7 * 3 = 24 เกิดจาก (7 + 3) + 3 = 13
คู่คาถาม 6 * 5 = ? เกิดจาก (6 + 5) + 5 = 16

เมื่อคูณกันแล้วคาตอบยังไม่ยอ เมื่อสังเกตจะเห็นที่ขาดอยู่จะ = “หลัง”

ข้อ 5. กาหนดให้ 5 * 6 = 25
และ 8 * 6 = 40
จงหาค่าของ 9 * 10 = ?
ก. 120 ข. 85 ค. 81 ง. 110
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง แล้วให้ดูว่าคาตอบที่เกินอยู่ของทั้ง 2 คู่
มีที่มาเหมือนกันหรือไม่” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก (หน้า X หลัง) - หลัง


คู่ที่ 1 5 * 6 = 25 เกิดจาก (30) – 5 = 25
คู่ที่ 2 8 * 6 = 23 เกิดจาก (48) – 8 = 40
คู่คาถาม 9 * 10 = ? เกิดจาก (90) – 9 = 81

เมื่อคูณกันแล้วคาตอบยังไม่ยอ เมื่อสังเกตจะเห็นที่เกินอยู่จะ = “หน้า”

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 21

ข้อ 6. กาหนดให้ 2*3 =8


และ 3 * 4 = 14
จงหาค่าของ 4*5=?
ก. 18 ข. 20 ค. 22 ง. 24
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง แล้วให้ดูว่าคาตอบที่ขาดอยู่ของทั้ง 2 คู่
มีที่มาเหมือนกันหรือไม่” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก (หน้า X หลัง) + 2


คู่ที่ 1 2 * 3 = 8 เกิดจาก (2 X 3) + 2 = 8
คู่ที่ 2 3 * 4 = 14 เกิดจาก (3 X 4) + 2 = 14
คู่คาถาม 4 * 5 = ? เกิดจาก (4 X 5) + 2 = 22

เมื่อคูณกันแล้วคาตอบยังไม่ยอ เมื่อสังเกตจะเห็นที่ขาดอยู่จะ = “2”

ข้อ 7. กาหนดให้ 6 * 2 = 38
และ 4 * 7 = 23
จงหาค่าของ 5*1=?
ก. 7 ข. 26 ค. 31 ง. 35
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้วจะเห็นว่าทั้ง 2 คู่มี
ความสัมยันธ์ต่างกัน ดังนั้น : จึงจาเปนต้องเปลี่ยนแนวคิด” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 22

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก หน้า + หลัง


คู่ที่ 1 6 * 2 = 38 เกิดจาก + 2 = 38
คู่ที่ 2 4 * 7 = 23 เกิดจาก + 7 = 23
คู่คาถาม 5 * 1 = ? เกิดจาก + 1 = 26

ข้อ 8. กาหนดให้ 2 * 8 = 12
และ 4 * 10 = 26
จงหาค่าของ a * b = ?
2
ก. 2a + b ข. a (a + b) ค. 4a + b ง. +b
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้วจะเห็นว่าทั้ง 2 คูม่ ี
ความสัมยันธ์ต่างกัน ดังนั้น : จึงจาเปนต้องเปลี่ยนแนวคิด” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก + หลัง


หน้า
คู่ที่ 1 2 * 8 = 12 เกิดจาก + 8 = 4 + 8 = 12
คู่ที่ 2 4 * 10 = 26 เกิดจาก + 10 = 16 + 10 = 26
คู่คาถาม a * b = ? เกิดจาก +b

ข้อ 9. กาหนดให้ 2 * 3 = 25
และ 4 * 5 = 81
จงหาค่าของ 3*5=?
ก. 72 ข. 64 ค. 52 ง. 46
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้วจะเห็นว่าทั้ง 2 คู่มี
ความสัมยันธ์ต่างกัน ดังนั้น : จึงจาเปนต้องเปลี่ยนแนวคิด” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้
WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor
คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 23

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก หน้า หลัง


คู่ที่ 1 2 * 3 = 25 เกิดจาก = = 25
คู่ที่ 2 4 * 5 = 81 เกิดจาก = = 81
คู่คาถาม 3 * 5 = ? เกิดจาก = = 64

ข้อ 10. กาหนดให้ 5 * 20 = 24


และ 4 * 12 = 15
จงหาค่าของ 9 * 18 = ?
ก. 28 ข. 24 ค. 22 ง. 20
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้วจะเห็นว่าทั้ง 2 คู่มี
ความสัมยันธ์ต่างกัน ดังนั้น : จึงจาเปนต้องเปลี่ยนแนวคิด” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก หน้า


+ หลัง
หลัง
คู่ที่ 1 5 * 20 = 24 เกิดจาก + 20 = 24
คู่ที่ 2 4 * 12 = 15 เกิดจาก + 12 = 15
คู่คาถาม 9 * 18 = ? เกิดจาก + 18 = 20

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 24

ข้อ 11. กาหนดให้ 4*6 =5


และ 8 * 10 = 9
จงหาค่าของ 12 * 8 = ?
ก. 8 ข. 9 ค. 10 ง. 12
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้วจะเห็นว่าทั้ง 2 คู่มี
ความสัมยันธ์ต่างกัน ดังนั้น : จึงจาเปนต้องเปลี่ยนแนวคิด” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก หน้า หลัง

คู่ที่ 1 4 * 6 = 5 เกิดจาก =5
คู่ที่ 2 8 * 10 = 9 เกิดจาก =9
คู่คาถาม 12 * 8 = ? เกิดจาก = 10

ข้อ 12. กาหนดให้ 7 * 3 = 20


และ 5 * 2 = 14
จงหาค่าของ 3*5=?
ก. 14 ข. 16 ค. 21 ง. 24
วิธีทา :
ให้สังเกต 2 คู่แรกว่ามีสูตรคานวณที่เหมือนกันอย่างไร
จากการสังเกตจะเห็นว่า : “คาตอบของ 2 คู่แรกมากกว่าคู่โอเปอร์เรชั่น
ดังนั้น : ให้เรายิจารณาว่าคาตอบน่าจะเกิดจาก หน้า X หลัง ก่อน แต่เมื่อคูณกันแล้วจะเห็นว่าทั้ง 2 คู่มี
ความสัมยันธ์ต่างกัน ดังนั้น : จึงจาเปนต้องเปลี่ยนแนวคิด” จะเห็นว่า 2 คู่แรก เกิดจากความสัมยันธ์ ดังนี้

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor


คู่มือเตรียมสอบ ก.พ. ภาค ก. 25

หน้า * หลัง = คาตอบ เกิดจาก 2(หน้า + หลัง)


คู่ที่ 1 7 * 3 = 20 เกิดจาก 2(7 + 3) = 20
คู่ที่ 2 5 * 2 = 14 เกิดจาก 2(5 + 2) = 14
คู่คาถาม 3 * 5 = ? เกิดจาก 2(3 + 5) = 16

WWW.KRUNOOMTUTOR.COM/FACEBOOK : ผอ.หนุ่ม ครับ/YOUTUBE : ผอ.หนุ่ม ครับ/ID LINE : Krunoomtutor

You might also like