You are on page 1of 13

แผนการจัดการเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชัน
้ ที่ 1 ชัน
้ ป.3 ภาค
เรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การบวก
จำนวน 1 คาบ/ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การบวกเลขสามหลักที่ไม่มีการทด
เวลา 45 นาที/ชั่วโมง
สอนวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2565
ณ โรงเรียนบ้านแหลมทราย
ชื่อผู้ร่วมเขียนแผน 1. นายรัตภูมิ เลพล
ครูผู้สอน
2. นางสาวทิพยาภรณ์ เกื้อเดช
3. นางสาวธีราภรณ์ ถาวรแก้ว
4. นางสาวธนภรณ์ วิเศษ  
5. นางสาวอุมมุสุไล สงบ ครูพี่เลีย
้ ง

1. สาระหลัก
สาระที่ 1 จำนวนเเละพีชคณิต
2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการเเสดงจำนวน
ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึน
้ จากการดำเนินการ
สมบัติของการดำเนินการ เเละนำไปใช้
3. ตัวชีว
้ ัด
ค 1.1 ป.3/5 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดง
การบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่เกิน
100,000 และ 0
ค 1.1 ป.3/8 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ
ไม่เกิน 100,000 เเละ 0
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 จุดประสงค์ระดับหน่วยการเรียนรู้ (Learning Units)
4.1.1 นักเรียนสามารถบอกความสัมพันธ์ของจำนวนในแต่ละ
หลักได้
4.1.2 นักเรียนสามารถบวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มี
การทดในแนวตัง้ ได้
4.1.3 นักเรียนสามารถแสดงวิธีการบวกในแนวตัง้ และเขียน
ประโยคสัญลักษณ์ได้
4.2 จุดประสงค์ระดับคาบในหน่วยการเรียน
4.2.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรียนสามารถบวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มี
การทดในแนวตัง้ ได้
4.2.2 ด้านทักษะกระบวนการ/สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
(P)
1) นักเรียนสามารถเลือกใช้วิธีการบวกเลขสามหลักกับ
สามหลักที่ไม่มีการทดได้
อย่างเหมาะสม     
2) นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการบวกเลขสามหลักกับ
สามหลักที่ไม่มีการทดใน
แนวตัง้ ได้
3) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงวิธีการบวกเลขสองกับสอง
หลักในแนวตัง้ มาใช้ในการ
บวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มีการทดในแนวตัง้
ได้
4) นักเรียนสามารถให้เหตุผลที่มาของคำตอบได้

4.2.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)


                      นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบ
หมาย                           
5. สาระการเรียนรู้
การบวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มีการทดในแนวตัง้ โดยต้อง
ตัง้ หลักเลขให้ตรงกัน เริ่มบวกจากหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย ตาม
ลำดับ และต้องบวกในหลักเดียวกัน
6. ขัน
้ ตอนการสอน
6.1 ขัน
้ ตอนการนำเสนอสถานการณ์ปัญหาปลายเปิ ด (10 นาที)
ครูนำเสนอสถานการณ์ปัญหา “สัปดาห์ที่แล้ว โนบิตะออม
เงินไปแล้ว 215 บาท และสัปดาห์นอ
ี ้ อมเงินอีก 143 บาท โนบิตะออมเงิน
ไปทัง้ หมดเท่าไร” “ให้นักเรียนแก้โจทย์โดยใช้สิ่งที่เรียนรู้จากเลขสอง
หลัก” แถบสีเเสดงจำนวน ให้แสดงถึงความสัมพันธ์ของโจทย์กำหนด
และโจทย์ต้องการอะไร
6.2 ขัน
้ การเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (15 นาที)
6.2.1 นักเรียนลงมือแก้สถานการณ์ปัญหาโดยใช้วิธีการบวก
ในแนวตัง้
6.2.2 นักเรียนลงมือแก้สถานการณ์ปัญหาโดยการวาดบล็อก
6.3 ขัน
้ การอภิปรายทัง้ ชัน
้ เรียนและการเปรียบเทียบแนวคิดของ
นักเรียน (10 นาที)
6.3.1 ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวคิด จะได้ 215+143 =358
ในแนวตัง้
6.3.2 ครูขออาสาสมัครหนึ่งคนออกมานำเสนอแนวคิดของ
ตนเอง
6.3.3 ครูถาม นักเรียนในห้อง ว่ามีใครคิดเหมือนเพื่อนบ้าง
ถ้ามีแนวคิดที่แตกต่างกัน
6.3.4 นักเรียน ออกมา นำเสนอแนวคิดหน้าชัน
้ เรียน จะได้
215+143=358 ในแนวนอน
6.3.5 ครูก็จะถามนักเรียนว่าแน่ใจใช่ไหมว่าถูกต้อง
6.3.6 ครูจึงใช้การตรวจสอบโดยการใช้บล็อกติดบนกระดาน
6.3.7 ครูให้นักเรียนหนึ่งคนออกมาติดบล็อกด้วยตนเอง
6.3.8 ครูถามนักเรียนในห้องว่านักเรียนคนนีต
้ ิดถูกหรือไม่
6.3.9 ครูจะให้นักเรียนช่วยกันบวก แล้วตอบพร้อมกันว่า
215+143=358
6.4 ขัน
้ การสรุปโดยเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน (15 นาที)
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิดที่ได้ “การบวกเลขสาม
หลักกับสามหลักที่ไม่มีการทดในแนวตัง้ โดยต้องตัง้ หลักเลขให้ตรงกัน
เริ่มบวกจากหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย ตามลำดับ และต้องบวกใน
หลักเดียวกัน”
7. สื่อการสอน
สื่อหลัก
ใบงานนักเรียน จำนวน 4 แผ่น
สื่อเสริม
บล็อก ขนาด 1*1 จำนวน 8 ชิน

บล็อก ขนาด 1*10 จำนวน 5 ชิน

บล็อก ขนาด 10*10 จำนวน 3 ชิน

แถบสีแสดงแทนจำนวน 2 ชุด
8. การคาดคะเนเเนวคิดของนักเรียน
คำถาม “จากการที่นักเรียนได้แก้สถานการณ์ข้างต้น นักเรียนได้เรียนรู้
อะไรบ้าง”
- จำนวนในหลักเดียวกันมาบวกกัน
- เริ่มบวกจากหลักหน่วย หลักสิบ และหลักร้อย ตามลำด
9. การวัดและประเมิน

วิธีการวัดผลและ เครื่องมือวัด
เกณฑ์การวัด
ประเมินผล และประเมินผล
ด้านความรู้ (K) 1. ดี = นักเรียนสามารถ
-นักเรียนทำใบ เขียนประโยคสัญลักษณ์ได้
กิจกรรม แสดงการบวกเลขสามหลัก
กับสามหลักที่ไม่มีการทด
ในแนวตัง้ ได้ถูกต้อง และ
สามารถคำนวนโดยวิธีการ
ใบกิจกรรม
บวกในแนวตัง้ โดยตัง้ หลัก
เลขให้ตรงกัน เริ่มบวกจาก
หลักหน่วย หลักสิบ หลัก
ร้อยตามลำดับ
2. พอใช้ = นักเรียน
สามารถเขียนประโยค
สัญลักษณ์ได้ แสดงการ
บวกเลขสามหลักกับสาม
หลักที่ไม่มีการทดในแนว
ตัง้ ได้ถูกต้อง และสามารถ
คำนวนโดยวิธีการบวกใน
แนวตัง้ ตัง้ หลักเลขให้ตรง
กัน แต่ไม่ได้เริ่มบวกจาก
หลักหน่วย หลักสิบ หลัก
ร้อยตามลำดับ
3. ปรับปรุง = นักเรียนบวก
เลขสามหลักกับสามหลัก
ได้ถูกต้อง

ด้านทักษะ แบบประเมินการ 1. ดี = นักเรียนเลือกวิธี


กระบวนการ/ สังเกตพฤติกรรม การได้อย่างเหมาะสม
สมรรถนะสำคัญของ สามารถอธิบายวิธีการบวก
ผู้เรียน (P) เลขสามหลักกับสามหลักที่
- ครูใช้แบบประเมิน ไม่มีการทดในแนวตัง้ ได้
การสังเกตพฤติกรรม เชื่อมโยงวิธีการบวกเลข
ด้านทักษะ สองกับสองหลักในแนวตัง้
กระบวนการ มาใช้ในการบวกเลขสาม
หลักกับสามหลักที่ไม่มีการ
ทดในแนวตัง้ ได้ และให้
เหตุผลที่มาของคำตอบได้
2. พอใช้ = นักเรียนเลือก
วิธีการได้อย่างเหมาะสม
ไม่สามารถอธิบายวิธีการ
บวกเลขสามหลักกับสาม
หลักที่ไม่มีการทดในแนว
ตัง้ ได้และไม่สามารถให้
เหตุผลที่มาของคำตอบได้
แต่สามารถเชื่อมโยงวิธีการ
บวกเลขสองกับสองหลักใน
แนวตัง้ มาใช้ในการบวกเลข
สามหลักกับสามหลักที่ไม่มี
การทดในแนวตัง้ ได้
3. ปรับปรุง = นักเรียนไม่
สามารถเลือกวิธีการได้
อย่างเหมาะสม

วิธีการวัดผลและ เครื่องมือวัด
เกณฑ์การวัด
ประเมินผล และประเมินผล
ด้านคุณลักษณะอัน 1. ดี = นักเรียนตัง้ ใจและ
พึงประสงค์ (A) แบบประเมิน รับผิดชอบในการปฏิบัติ
- ครูใช้แบบประเมิน การสังเกต หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้
การสังเกตพฤติกรรม พฤติกรรม สำเร็จ ปรับปรุงการทำงาน
ด้านคุณลักษณะอัน ให้ดีขน
ึ้
พึงประสงค์ 2. พอใช้ = นักเรียนตัง้ ใจใน
การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
3. ปรับปรุง = นักเรียนไม่
ตัง้ ใจปฏิบัติหน้าที่การงาน

ลงชื่อ .........................................................
( นายรัตภูมิ เลพล
)…… 
นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 
แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการ
คำชีแ
้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและ
นอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ทักษะที่ประเมิน
3 2 1
1.เลือกใช้วิธีการบวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มี
การทดได้อย่างเหมาะสม
2.อธิบายวิธีการบวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มี
การทดในแนวตัง้ ได้
2.1 มีความสามารถในการรับ - ส่งสาร
2.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
3.เชื่อมโยงวิธีการบวกเลขสองกับสองหลักในแนวตัง้
มาใช้ในการบวกเลขสามหลักกับสามหลักที่ไม่มีการ
ทดในแนวตัง้ ได้
3.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เพื่อการสร้าง
องค์ความรู้ใหม่
3.2 มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ เพื่อการสร้าง
องค์ความรู้ใหม่
4.ให้เหตุผลที่มาของคำตอบได้
4.1 เลือกใช้ข้อมูลในการให้เหตุผลอย่างเหมาะสม

ลงชื่อ.........................................................ผู้ประเมิน
( )…........….
............./................../................ .1111

เกณฑ์การให้คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 1 คะแนน

10. การนิเทศและการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
10.1 ความคิดเห็นของครูพี่เลีย
้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………

ลงชื่อ...........................
...................................... ( นา
งสาวอุมมุสุไล สงบ )
ครูพี่เลีย
้ ง 
วันที่ 12 กันยายน
พ.ศ. 2565

11. บันทึกหลังการสอน
11.1 ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

11.2 ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

11.3 ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................................
( นายรัตภูมิ เลพล ) …......….
นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

You might also like